กระบวนการทางชีววิทยา (อังกฤษ: biological process) เป็นกระบวนการที่สำคัญอย่างยิ่งต่อสิ่งมีชีวิตทุกชนิด และเป็นตัวกำหนดความสามารถในการมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมของสิ่งมีชีวิต กระบวนการทางชีววิทยาประกอบขึ้นจากปฏิกิริยาเคมีหลายปฏิกิริยา หรือเหตุการณ์อื่น ๆ ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการดำรงอยู่หรือแปรสภาพของชีวรูป (life form) เช่น กระบวนการเมแทบอลิซึมและการรักษาภาวะธำรงดุล
การควบคุมกระบวนการทางชีววิทยาเกิดขึ้นเมื่อกระบวนการใด ๆ ก็ตามถูกรักษาให้อยู่ในความถี่ อัตรา หรือขอบเขตที่เหมาะสม กระบวนการทางชีววิทยาถูกควบคุมได้ด้วยหลายวิธี เช่นการควบคุมการ การดัดแปลงโปรตีน หรือด้วยการมีปฏิสัมพันธ์กับโปรตีนหรือโมเลกุลของสารตั้งต้น
- ภาวะธำรงดุล เป็นการรักษาสภาพแวดล้อมภายในร่างกายของสิ่งมีชีวิตไว้ให้อยู่ในสถานะที่คงที่ เช่นการขับเหงื่อเพื่อลดอุณหภูมิ
- สภาวะที่โครงสร้างของสิ่งมีชีวิตประกอบด้วยหนึ่งเซลล์หรือหลายเซลล์ ซึ่งถือเป็นหน่วยพื้นฐานของชีวิต
- เมแทบอลิซึม การแปรสภาพของพลังงานด้วยการแปลงสารเคมีและพลังงานไปเป็นองค์ประกอบระดับเซลล์ (แอแนบอลิซึม) และการย่อยสลายอินทรีย์วัตถุ (แคแทบอลิซึม) สิ่งมีชีวิตต้องอาศัยพลังงานเพื่อรักษาระเบียบภายในร่างกาย (ภาวะธำรงดุล) และเพื่อดำเนินปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับชีวิต
- เป็นการรักษาอัตราของกระบวนการแอนาบอลิซึมให้อยู่สูงกว่ากระบวนการแคแทบอลิซึม สิ่งมีชีวิตที่กำลังเจริญเติบโตจะมีการขยายขนาดขององคาพยพทุกส่วน มากกว่าที่จะเป็นการสะสมสารเอาไว้เพียงอย่างเดียว
- การปรับตัว เป็นความสามารถที่จะเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลาเพื่อตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อม ความสามารถนี้เป็นพืนฐานของกระบวนการวิวัฒนาการ และถูกพิจารณาตามความสามารถในการสืบลักษณะ โภชนวิธี และปัจจัยภายนอกอื่น ๆ
- การตอบสนองต่อสิ่งเร้า การตอบสนองมีอยู่ด้วยกันหลายรูปแบบ ตั้งแต่การหดตัวของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวเพื่อตอบสนองต่อสารเคมีในสิ่งแวดล้อมนอกตัว ไปจนถึงกระบวนการอันซับซ้อนที่ต้องอาศัยทุกประสาทสัมผัสของสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ การตอบสนองมักแสดงออกผ่านความเคลื่อนไหว เช่น ใบไม้ที่หันเข้าสู่ดวงอาทิตย์ (การเบนตามแสง) และ
- การสืบพันธ์ เป็นความสามารถที่จะให้กำเนิดสิ่งมีชีวิตตัวใหม่ขึ้นมา ทั้งที่เป็นแบบไม่อาศัยเพศและแบบอาศัยเพศ
- ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิต เป็นกระบวนการที่สิ่งมีชีวิตแสดงผลกระทบที่สามารถทำการสังเกตได้ต่อสิ่งมีชีวิตตัวอื่น ทั้งที่เป็นสปีชีส์เดียวกันหรือต่างสปีชีส์
- นอกจากนี้ยังมี , การหมัก, , , การเบนของพืช, การสร้างลูกผสม, การเปลี่ยนสัณฐาน, การเกิดสัณฐาน, การสังเคราะห์ด้วยแสง, การคายน้ำ
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- Mossio, Matteo; Montévil, Maël; Longo, Giuseppe (2016-10-01). "Theoretical principles for biology: Organization". Progress in Biophysics and Molecular Biology. From the Century of the Genome to the Century of the Organism: New Theoretical Approaches. 122 (1): 24–35. doi:10.1016/j.pbiomolbio.2016.07.005.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
krabwnkarthangchiwwithya xngkvs biological process epnkrabwnkarthisakhyxyangyingtxsingmichiwitthukchnid aelaepntwkahndkhwamsamarthinkarmiptismphnthkbsingaewdlxmkhxngsingmichiwit krabwnkarthangchiwwithyaprakxbkhuncakptikiriyaekhmihlayptikiriya hruxehtukarnxun thimiswnekiywkhxngkbkardarngxyuhruxaeprsphaphkhxngchiwrup life form echn krabwnkaremaethbxlisumaelakarrksaphawatharngdul karkhwbkhumkrabwnkarthangchiwwithyaekidkhunemuxkrabwnkarid ktamthukrksaihxyuinkhwamthi xtra hruxkhxbekhtthiehmaasm krabwnkarthangchiwwithyathukkhwbkhumiddwyhlaywithi echnkarkhwbkhumkar karddaeplngoprtin hruxdwykarmiptismphnthkboprtinhruxomelkulkhxngsartngtn phawatharngdul epnkarrksasphaphaewdlxmphayinrangkaykhxngsingmichiwitiwihxyuinsthanathikhngthi echnkarkhbehnguxephuxldxunhphumi sphawathiokhrngsrangkhxngsingmichiwitprakxbdwyhnungesllhruxhlayesll sungthuxepnhnwyphunthankhxngchiwit emaethbxlisum karaeprsphaphkhxngphlngngandwykaraeplngsarekhmiaelaphlngnganipepnxngkhprakxbradbesll aexaenbxlisum aelakaryxyslayxinthriywtthu aekhaethbxlisum singmichiwittxngxasyphlngnganephuxrksaraebiybphayinrangkay phawatharngdul aelaephuxdaeninpraktkarntang thiekiywkhxngkbchiwit epnkarrksaxtrakhxngkrabwnkaraexnabxlisumihxyusungkwakrabwnkaraekhaethbxlisum singmichiwitthikalngecriyetibotcamikarkhyaykhnadkhxngxngkhaphyphthukswn makkwathicaepnkarsasmsarexaiwephiyngxyangediyw karprbtw epnkhwamsamarththicaepliynaeplngiptamkalewlaephuxtxbsnxngtxsingaewdlxm khwamsamarthniepnphunthankhxngkrabwnkarwiwthnakar aelathukphicarnatamkhwamsamarthinkarsublksna ophchnwithi aelapccyphaynxkxun kartxbsnxngtxsingera kartxbsnxngmixyudwyknhlayrupaebb tngaetkarhdtwkhxngsingmichiwitesllediywephuxtxbsnxngtxsarekhmiinsingaewdlxmnxktw ipcnthungkrabwnkarxnsbsxnthitxngxasythukprasathsmphskhxngsingmichiwithlayesll kartxbsnxngmkaesdngxxkphankhwamekhluxnihw echn ibimthihnekhasudwngxathity karebntamaesng aela karsubphnth epnkhwamsamarththicaihkaenidsingmichiwittwihmkhunma thngthiepnaebbimxasyephsaelaaebbxasyephs ptismphnthrahwangsingmichiwit epnkrabwnkarthisingmichiwitaesdngphlkrathbthisamarththakarsngektidtxsingmichiwittwxun thngthiepnspichisediywknhruxtangspichis nxkcakniyngmi karhmk karebnkhxngphuch karsranglukphsm karepliynsnthan karekidsnthan karsngekhraahdwyaesng karkhaynaduephimchiwitxangxingMossio Matteo Montevil Mael Longo Giuseppe 2016 10 01 Theoretical principles for biology Organization Progress in Biophysics and Molecular Biology From the Century of the Genome to the Century of the Organism New Theoretical Approaches 122 1 24 35 doi 10 1016 j pbiomolbio 2016 07 005