กรดเจิงโกลิก (อังกฤษ: djenkolic acid บางครั้งสะกดว่า jengkolic acid) เป็นกรดอะมิโนที่มีกำมะถันเป็นองค์ประกอบและไม่มีส่วนเกี่ยวข้องในการสังเคราะห์โปรตีน ในธรรมชาติจะพบกรดนี้ในเมล็ดเนียงหรือลูกเนียงซึ่งเป็นพืชท้องถิ่นในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โครงสร้างทางเคมีของกรดเจิงโกลิกคล้ายกับกรดอะมิโนแต่จะมีหมู่เมทิลีนแทรกระหว่างอะตอมกำมะถันสองอะตอม กรดเจิงโกลิกมีผลกระทบต่อระบบทางเดินปัสสาวะซึ่งพบได้ในผู้ป่วยที่รับประทานลูกเนียงปริมาณมาก
ชื่อ | |
---|---|
กรด (2R)-2-อะมิโน-3-[[(2R)-2-อะมิโน-3-ไฮดรอกซี-3-ออกโซโพรพิล]ซัลฟานิลเมทิลซัลฟานิล]โพรพาโนอิก ((2R)-2-Amino-3-[[(2R)-2-amino-3-hydroxy-3-oxopropyl]sulfanylmethylsulfanyl]propanoic acid) | |
ชื่ออื่น เจิงโกเลต (Djenkolate) กรดเจิงโกลิก (Jengkolic acid) เอส,เอส'-เมทิลีนบิสซิสตีอีน (S,S'-Methylenebiscysteine) | |
เลขทะเบียน | |
| |
3D model () |
|
| |
เคมสไปเดอร์ |
|
100.007.150 | |
| |
| |
ผับเคม CID |
|
| |
(EPA) |
|
| |
| |
คุณสมบัติ | |
C7H14N2O4S2 | |
มวลโมเลกุล | 254.33 กรัมต่อโมล |
1.02 กรัมต่อลิตร (ที่ 30±0.5°C) | |
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa อ้างอิงกล่องข้อมูล |
ความเป็นพิษ
อาการเป็นพิษที่เกิดขึ้นจากกรดเจิงโกลิกเรียกว่าเจิงโกลิซึม (djenkolism) ความเป็นพิษของกรดเจิงโกลิกในมนุษย์เมื่อรับประทานลูกเนียงเข้าไปแล้วเป็นเพราะว่าสภาวะที่เป็นกรดทำให้กรดเจิงโกลิกละลายในน้ำได้น้อยลง กรดเจิงโกลิกจะตกผลึกทำให้เกิดอาการระคายเคืองต่อ (renal tubules) และระบบขับถ่ายปัสสาวะ ทำให้เกิดอาการต่าง ๆ เช่นปวดในช่องท้อง ปวดหลังส่วนล่าง ปวดบิดรุนแรงในทารก คลื่นไส้ อาเจียน (dysuria) ปัสสาวะเป็นเลือดมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า (gross hematuria) และ (oliguria) ซึ่งจะเกิดขึ้นในช่วง 2 ถึง 6 ชั่วโมงหลังรับประทานลูกเนียง บางครั้งอาการอาจเกิดขึ้นนานถึง 4 วันหลังรับประทานลูกเนียงแล้ว การวิเคราะห์ปัสสาวะของผู้ป่วยภาวะเจิงโกลิซึมพบว่ามีเม็ดเลือดแดง เซลล์เนื้อเยื่อบุผิว โปรตีน และผลึกรูปเข็มของกรดเจิงโกลิก กรดเจิงโกลิกยังเป็นสารก่อผลึกทำให้เกิดโรคนิ่วไตได้ ในเด็กยังพบว่ากรดเจิงโกลิกทำให้เกิดอาการปวดบวมบริเวณอวัยวะเพศด้วย
ภาวะเจิงโกลิซึมนั้นเกิดขึ้นค่อนข้างน้อย บางคนอาจจะมีอาการในขณะที่บางคนอาจจะไม่มีอาการแม้ว่าจะรับประทานอาหารชนิดเดียวกันด้วยกันก็ตาม จากการทบทวนวรรณกรรมกรณีศึกษาจาก 4 ประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้แก่ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย และสิงคโปร์ซึ่งตีพิมพ์ระหว่าง ค.ศ. 1956 และ ค.ศ. 2007 พบว่ามีกรณีการเกิดภาวะเจิงโกลิซึมรวม 96 กรณี ในจำนวนนี้มีผู้เสียชีวิต 4 กรณี และ 3 กรณีเกิดขึ้นในเด็กที่ประสบภาวะไตวายและไม่สามารถชำระเลือดได้ทัน
การรักษาภาวะเจิงโกลิซึมจะเป็นการรักษาตามอาการ เช่น ให้สารน้ำแก่ผู้ป่วยเพื่อเพิ่มปริมาณปัสสาวะ ให้โซเดียมไบคาร์บอเนตเพื่อปรับให้ปัสสาวะเป็นด่าง ให้ยาคลายกล้ามเนื้อเมื่อมีอาการปวด เป็นต้น นอกจากนั้นแล้ว ภาวะเจิงโกลิซึมนั้นป้องกันได้ด้วยการต้มให้สุก ต้มในน้ำที่ผสมโซเดียมไบคาร์บอเนต ฝานเป็นแผ่นบางแล้วนำไปตากแดด หรือนำไปเพาะในทรายให้ต้นอ่อนงอกออกมาเพื่อกำจัดกรดเจิงโกลิก
การค้นพบและการสังเคราะห์
กรดเจิงโกลิกค้นพบครั้งแรกโดยฟัน เฟนและฮือมันใน ค.ศ. 1933 จากปัสสาวะของผู้ป่วยชาวเกาะชวาที่ประสบภาวะเจิงโกลิซึมหลังรับประทานลูกเนียงหรือเจิงกล (อินโดนีเซีย: djenkol ในปัจจุบันสะกดว่า jengkol) ฟัน เฟนและฮือมันต่อมาได้สกัดผลึกกรดเจิงโกลิกโดยนำลูกเนียงไปทำปฏิกิริยากับที่อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียสเป็นระยะเวลานาน
ต่อมาดู วีโญและแพตเทอร์สันสามารถสังเคราะห์กรดเจิงโกลิกได้เป็นผลสำเร็จ โดยพวกเขาใช้ปฏิกิริยาควบแน่นระหว่างไดคลอโรมีเทนกับแอล-ซิสตีอีนในแอมโมเนียเหลว หลังจากนั้นอาร์มสตรองและดู วีโญเตรียมกรดเจิงโกลิกโดยใช้ปฏิกิริยาระหว่างฟอร์มาลดีไฮด์กับแอล-ซิสตีอีนในสารละลายกรดแก่
ในลูกเนียงหนึ่งกิโลกรัมจะมีกรดเจิงโกลิกอยู่ประมาณ 16 กรัม นอกจากนี้ยังมีรายงานการค้นพบกรดเจิงโกลิกในเมล็ดพืชชนิดอื่นเช่น (2.2 กรัมต่อกิโลกรัม) และ (2.8 กรัมต่อกิโลกรัม) การศึกษาปริมาณกรดเจิงโกลิกในเมล็ดพืชสกุลอาเคเชียหกชนิดในประเทศออสเตรเลียพบว่ามีปริมาณกรดเจิงโกลิกอยู่ระหว่างร้อยละ 0.49 ถึงร้อยละ 1.85 โดยมวล
อ้างอิง
- "Djenkolic acid". The On-line Medical Dictionary. 5 March 2000. สืบค้นเมื่อ 15 November 2008.
- du Vigneaud V, Patterson WI (1936). "The synthesis of djenkolic acid" (PDF). J. Biol. Chem. 114 (2): 533–538. doi:10.1016/S0021-9258(18)74825-4.
- Bunawan, Nur C.; Rastegar, Asghar; White, Kathleen P.; Wang, Nancy E. (16 April 2014). "Djenkolism: case report and literature review". International Medical Case Reports Journal. 7: 79–84. doi:10.2147/IMCRJ.S58379. สืบค้นเมื่อ 27 July 2024.
- D'Mello, J. P. Felix (1991). Toxic Amino Acids. In J. P. F. D'Mello, C. M. Duffus, J. H. Duffus (Eds.) Toxic Substances in Crop Plants. Woodhead Publishing. pp. 21–48. ISBN . Google Book Search. Retrieved on November 15, 2008.
- Barsoum, R. S., & Sitprija, V. (2007). Tropical Nephrology. In R. W. Schrier (Ed.) Diseases of the Kidney and Urinary Tract: Clinicopathologic Foundations of Medicine. Lippincott Williams & Wilkins. p. 2037. ISBN . Google Book Search. Retrieved on November 15, 2008.
- J. B. Harborne, H. Baxter, G. P. Moss (Eds.) (1999) Phytochemical Dictionary: A Handbook of Bioactive Compounds from Plants. CRC Press. p. 81. ISBN . Google Book Search. Retrieved on November 16, 2008.
- "เนียง". สำนักงานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. สืบค้นเมื่อ 27 July 2024.
- "ผัก ผลไม้ ก็ทำให้ไตวายได้". โรงพยาบาลศิริราชปิยมหาราชการุณย์. 21 May 2021. สืบค้นเมื่อ 27 July 2024.
- "เตือน! กิน "ลูกเนียงดิบ" ปริมาณมาก เสี่ยงไตวายเฉียบพลัน". ไทยพีบีเอส. 14 June 2020. สืบค้นเมื่อ 27 July 2024.
- van Veen AG, Hyman AJ (1933). "On the toxic component of the djenkol bean". Geneesk. Tijdschr. Nederl. Indie. 73: 991.
- Armstrong MD, du Vigneaud V (1947). "A new synthesis of djenkolic acid" (PDF). J. Biol. Chem. 168 (1): 373–377. doi:10.1016/S0021-9258(17)35126-8. PMID 20291097.
- Boughton, Berin A.; Reddy, Priyanka; Boland, Martin P.; Roessner, Ute; Yates, Peter (15 July 2015). "Non-protein amino acids in Australian acacia seed: Implications for food security and recommended processing methods to reduce djenkolic acid". Food Chemistry (179): 109–115. doi:10.1016/j.foodchem.2015.01.072. สืบค้นเมื่อ 27 July 2024.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
krdecingoklik xngkvs djenkolic acid bangkhrngsakdwa jengkolic acid epnkrdxamionthimikamathnepnxngkhprakxbaelaimmiswnekiywkhxnginkarsngekhraahoprtin inthrrmchaticaphbkrdniinemldeniynghruxlukeniyngsungepnphuchthxngthininexechiytawnxxkechiyngit okhrngsrangthangekhmikhxngkrdecingoklikkhlaykbkrdxamionaetcamihmuemthilinaethrkrahwangxatxmkamathnsxngxatxm krdecingoklikmiphlkrathbtxrabbthangedinpssawasungphbidinphupwythirbprathanlukeniyngprimanmakkrdecingoklik chuxkrd 2R 2 xamion 3 2R 2 xamion 3 ihdrxksi 3 xxkosophrphil slfanilemthilslfanil ophrphaonxik 2R 2 Amino 3 2R 2 amino 3 hydroxy 3 oxopropyl sulfanylmethylsulfanyl propanoic acid chuxxun ecingokelt Djenkolate krdecingoklik Jengkolic acid exs exs emthilinbissistixin S S Methylenebiscysteine elkhthaebiynelkhthaebiyn CAS 498 59 9 Y3D model rupphaphaebbottxbCHEBI 6211 Nekhmsipedxr 61442 Y100 007 150207 863 4C08275 Nphbekhm CID 681343QHC9R0YFZ Y EPA DTXSID80198075InChI 1S C7H14N2O4S2 c8 4 6 10 11 1 14 3 15 2 5 9 7 12 13 h4 5H 1 3 8 9H2 H 10 11 H 12 13 t4 5 m0 s1 YKey JMQMNWIBUCGUDO WHFBIAKZSA N YInChI 1 C7H14N2O4S2 c8 4 6 10 11 1 14 3 15 2 5 9 7 12 13 h4 5H 1 3 8 9H2 H 10 11 H 12 13 t4 5 m0 s1Key JMQMNWIBUCGUDO WHFBIAKZBKO C O C H N CSCSC C H N C O Okhunsmbtisutrekhmi C7H14N2O4S2mwlomelkul 254 33 krmtxomllalayinna 1 02 krmtxlitr thi 30 0 5 C hakmiidrabuepnxun khxmulkhangtnnikhuxkhxmulsar n phawamatrthanthi 25 C 100 kPa xangxingklxngkhxmulkhwamepnphisxakarepnphisthiekidkhuncakkrdecingoklikeriykwaecingoklisum djenkolism khwamepnphiskhxngkrdecingoklikinmnusyemuxrbprathanlukeniyngekhaipaelwepnephraawasphawathiepnkrdthaihkrdecingokliklalayinnaidnxylng krdecingoklikcatkphlukthaihekidxakarrakhayekhuxngtx renal tubules aelarabbkhbthaypssawa thaihekidxakartang echnpwdinchxngthxng pwdhlngswnlang pwdbidrunaernginthark khlunis xaeciyn dysuria pssawaepneluxdmxngehniddwytaepla gross hematuria aela oliguria sungcaekidkhuninchwng 2 thung 6 chwomnghlngrbprathanlukeniyng bangkhrngxakarxacekidkhunnanthung 4 wnhlngrbprathanlukeniyngaelw karwiekhraahpssawakhxngphupwyphawaecingoklisumphbwamiemdeluxdaedng esllenuxeyuxbuphiw oprtin aelaphlukrupekhmkhxngkrdecingoklik krdecingoklikyngepnsarkxphlukthaihekidorkhniwitid inedkyngphbwakrdecingoklikthaihekidxakarpwdbwmbriewnxwywaephsdwy phawaecingoklisumnnekidkhunkhxnkhangnxy bangkhnxaccamixakarinkhnathibangkhnxaccaimmixakaraemwacarbprathanxaharchnidediywkndwyknktam cakkarthbthwnwrrnkrrmkrnisuksacak 4 praethsinexechiytawnxxkechiyngitidaekithy maelesiy xinodniesiy aelasingkhoprsungtiphimphrahwang kh s 1956 aela kh s 2007 phbwamikrnikarekidphawaecingoklisumrwm 96 krni incanwnnimiphuesiychiwit 4 krni aela 3 krniekidkhuninedkthiprasbphawaitwayaelaimsamarthcharaeluxdidthn karrksaphawaecingoklisumcaepnkarrksatamxakar echn ihsarnaaekphupwyephuxephimprimanpssawa ihosediymibkharbxentephuxprbihpssawaepndang ihyakhlayklamenuxemuxmixakarpwd epntn nxkcaknnaelw phawaecingoklisumnnpxngkniddwykartmihsuk tminnathiphsmosediymibkharbxent fanepnaephnbangaelwnaiptakaedd hruxnaipephaainthrayihtnxxnngxkxxkmaephuxkacdkrdecingoklikkarkhnphbaelakarsngekhraahkrdecingoklikkhnphbkhrngaerkodyfn efnaelahuxmnin kh s 1933 cakpssawakhxngphupwychawekaachwathiprasbphawaecingoklisumhlngrbprathanlukeniynghruxecingkl xinodniesiy djenkol inpccubnsakdwa jengkol fn efnaelahuxmntxmaidskdphlukkrdecingoklikodynalukeniyngipthaptikiriyakbthixunhphumi 30 xngsaeslesiysepnrayaewlanan txmadu wioyaelaaephtethxrsnsamarthsngekhraahkrdecingoklikidepnphlsaerc odyphwkekhaichptikiriyakhwbaennrahwangidkhlxormiethnkbaexl sistixininaexmomeniyehlw hlngcaknnxarmstrxngaeladu wioyetriymkrdecingoklikodyichptikiriyarahwangfxrmaldiihdkbaexl sistixininsarlalaykrdaek inlukeniynghnungkiolkrmcamikrdecingoklikxyupraman 16 krm nxkcakniyngmirayngankarkhnphbkrdecingoklikinemldphuchchnidxunechn 2 2 krmtxkiolkrm aela 2 8 krmtxkiolkrm karsuksaprimankrdecingoklikinemldphuchskulxaekhechiyhkchnidinpraethsxxsetreliyphbwamiprimankrdecingoklikxyurahwangrxyla 0 49 thungrxyla 1 85 odymwlxangxing Djenkolic acid The On line Medical Dictionary 5 March 2000 subkhnemux 15 November 2008 du Vigneaud V Patterson WI 1936 The synthesis of djenkolic acid PDF J Biol Chem 114 2 533 538 doi 10 1016 S0021 9258 18 74825 4 Bunawan Nur C Rastegar Asghar White Kathleen P Wang Nancy E 16 April 2014 Djenkolism case report and literature review International Medical Case Reports Journal 7 79 84 doi 10 2147 IMCRJ S58379 subkhnemux 27 July 2024 D Mello J P Felix 1991 Toxic Amino Acids In J P F D Mello C M Duffus J H Duffus Eds Toxic Substances in Crop Plants Woodhead Publishing pp 21 48 ISBN 0 85186 863 0 Google Book Search Retrieved on November 15 2008 Barsoum R S amp Sitprija V 2007 Tropical Nephrology In R W Schrier Ed Diseases of the Kidney and Urinary Tract Clinicopathologic Foundations of Medicine Lippincott Williams amp Wilkins p 2037 ISBN 0 7817 9307 6 Google Book Search Retrieved on November 15 2008 J B Harborne H Baxter G P Moss Eds 1999 Phytochemical Dictionary A Handbook of Bioactive Compounds from Plants CRC Press p 81 ISBN 0 7817 9307 6 Google Book Search Retrieved on November 16 2008 eniyng sankngankhxmulsmuniphr khnaephschsastr mhawithyalymhidl subkhnemux 27 July 2024 phk phlim kthaihitwayid orngphyabalsirirachpiymharachkaruny 21 May 2021 subkhnemux 27 July 2024 etuxn kin lukeniyngdib primanmak esiyngitwayechiybphln ithyphibiexs 14 June 2020 subkhnemux 27 July 2024 van Veen AG Hyman AJ 1933 On the toxic component of the djenkol bean Geneesk Tijdschr Nederl Indie 73 991 Armstrong MD du Vigneaud V 1947 A new synthesis of djenkolic acid PDF J Biol Chem 168 1 373 377 doi 10 1016 S0021 9258 17 35126 8 PMID 20291097 Boughton Berin A Reddy Priyanka Boland Martin P Roessner Ute Yates Peter 15 July 2015 Non protein amino acids in Australian acacia seed Implications for food security and recommended processing methods to reduce djenkolic acid Food Chemistry 179 109 115 doi 10 1016 j foodchem 2015 01 072 subkhnemux 27 July 2024