กฎของทีทซีอุส–โบเดอ (อังกฤษ: Titius–Bode law) หรือบางแห่งเรียกว่า กฎของโบเดอ คือสมมุติฐานเกี่ยวกับวงโคจรของวัตถุทางดาราศาสตร์ที่ค่ากึ่งแกนเอกต่าง ๆ กันกับดวงอาทิตย์ ว่ามีความสัมพันธ์ในลักษณะเอกซ์โพเนนเชียลตามลำดับของดาวเคราะห์ ได้รับการเสนอขึ้นใน ค.ศ. 1766 โดยโยฮัน ดานีเอล ทีทซีอุส นักดาราศาสตร์ชาวเยอรมัน และต่อมาโยฮัน เอเลิร์ท โบเดอ ได้นำมาสรุปเป็นกฎขึ้น ในภายหลังสมมุติฐานนี้ไม่เป็นที่ยอมรับเมื่อการทำนายวงโคจรของดาวเคราะห์ผิดพลาดไปนับแต่การค้นพบดาวเนปจูนใน ค.ศ. 1846
สมการ
สมการกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างค่ากึ่งแกนเอก (a) ของดาวเคราะห์แต่ละดวงไล่ลำดับออกไปจากดวงอาทิตย์ เช่น ค่ากึ่งแกนเอกของโลกเท่ากับ 10 จะได้ว่า
โดยที่ n = 0, 3, 6, 12, 24, 48 ..., ตามลำดับของดาวเคราะห์นับจากด้านใน (ใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด) ไล่ออกไปด้านนอก ตัวเลขแต่ละลำดับที่ จะมีค่าเป็นสองเท่าของตัวเลขก่อนหน้า ผลลัพธ์ที่ได้เมื่อหารด้วย 10 จะแปลงเป็นหน่วยดาราศาสตร์ ทำให้ได้สมการต่อไปนี้
- = 0.4 + 0.3 · 2 m
โดยที่ m = , 0, 1, 2,...
สำหรับดาวเคราะห์รอบนอก ดาวแต่ละดวงได้รับการ "ทำนาย" ว่าอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นระยะประมาณ 2 เท่าของวัตถุรอบในดวงก่อนหน้า
ข้อมูล
ระยะห่างของดาวเคราะห์ที่ได้จากการคำนวณตามกฎนี้ เมื่อเปรียบเทียบกับระยะห่างจริง เป็นดังนี้
ดาวเคราะห์ | k | ระยะห่างตามกฎ | ระยะห่างจริง |
---|---|---|---|
ดาวพุธ | 0 | 0.4 | 0.39 |
ดาวศุกร์ | 1 | 0.7 | 0.72 |
โลก | 2 | 1.0 | 1.00 |
ดาวอังคาร | 4 | 1.6 | 1.52 |
ซีรีส1 | 8 | 2.8 | 2.77 |
ดาวพฤหัสบดี | 16 | 5.2 | 5.20 |
ดาวเสาร์ | 32 | 10.0 | 9.54 |
ดาวยูเรนัส | 64 | 19.6 | 19.2 |
ดาวเนปจูน | 128 | 38.8 | 30.06 |
ดาวพลูโต1 | 256 | 77.2 | 39.44 |
1ซีรีส นับเป็นดาวเคราะห์อยู่ในช่วง ค.ศ. 1801 จนถึงราวคริสต์ทศวรรษ 1860 พลูโตนับเป็นดาวเคราะห์อยู่ระหว่าง ค.ศ. 1930–2006 ร่างข้อกำหนดของสหภาพดาราศาสตร์สากลว่าด้วยการจัดประเภทของ "ดาวเคราะห์" จะทำให้ซีรีส ได้รับการจัดประเภทใหม่เป็นดาวเคราะห์ แต่จากการปรับปรุงข้อกำหนดในตอนปลายเดือนสิงหาคม ค.ศ. 2006 ทำให้ซีรีส พลูโต และเอริส ได้รับการจัดประเภทใหม่กลายเป็น "ดาวเคราะห์แคระ"
คำอธิบาย
กฎของทีทซีอุส–โบเดอยังไม่มีคำอธิบายใดที่เชื่อถือได้ แต่มีสิ่งที่เป็นไปได้อย่างหนึ่งคือการสั่นพ้องของวงโคจรรวมกับการสั้นลงของ : ระบบดาวเคราะห์ใด ๆ ที่เสถียรจะมีความเป็นไปได้สูงที่จะมีความสัมพันธ์ไปตามกฎของทีทซีอุส–โบเดอ อย่างไรก็ตาม นักฟิสิกส์ดาราศาสตร์ กล่าวว่ามันเป็นเพียงแค่เรื่องบังเอิญ และวารสารวิทยาศาสตร์ดาวเคราะห์ ไม่ยอมรับที่จะตีพิมพ์กฎที่ปรับปรุงนี้
การสั่นพ้องของวงโคจรจากวัตถุที่โคจรหลักจะสร้างบริเวณรอบดวงอาทิตย์ที่ปราศจากวงโคจรที่เสถียร ผลจากแบบจำลองการกำเนิดระบบสุริยะสนับสนุนแนวคิดที่ระบบดาวเคราะห์จะเลือกรัศมีวงโคจรที่เสถียรแบบสุ่มจะมีแนวโน้มที่จะเป็นไปตามกฎของทีทซีอุส–โบเดอ
ดูบรูลและแกรเนอร์แสดงให้เห็นว่ากฎกำลังสองผกผันตามระยะทางจะมีผลลัพธ์ของแบบจำลองการยุบตัวของกลุ่มเมฆของระบบดาวเคราะห์มีแนวโน้มที่จะสมมาตรสองแกน : การหมุนคงที่ (เมฆจะสมมาตรตามแกน) สเกลคงที่ (เมฆจะมีสเกลตามความยาวเท่ากันหมด), อันหลังเป็นโครงหลักของหลายปรากฏการณ์ มีบทบาทในการเกิดระบบสุริยะ
อ้างอิง
- (PDF). Wartburg College. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2009-03-27. สืบค้นเมื่อ 2007-11-08.
- Boss, Alan (October 2006). "Ask Astro". Astronomy. Vol. 30 no. 10. p. 70.
- "Titius-Bode laws in the solar system. Part I: Scale invariance explains everything". F. Graner, B. Dubrulle Astronomy and Astrophysics 282, 262-268 (1994).
- "Titius–Bode laws in the solar system. Part II: Build your own law from disk models",B. Dubrulle, F. Graner Astronomy and Astrophysics 282, 269-276 (1994).
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
kdkhxngthithsixus obedx xngkvs Titius Bode law hruxbangaehngeriykwa kdkhxngobedx khuxsmmutithanekiywkbwngokhcrkhxngwtthuthangdarasastrthikhakungaeknexktang knkbdwngxathity wamikhwamsmphnthinlksnaexksophennechiyltamladbkhxngdawekhraah idrbkaresnxkhunin kh s 1766 odyoyhn daniexl thithsixus nkdarasastrchaweyxrmn aelatxmaoyhn exelirth obedx idnamasrupepnkdkhun inphayhlngsmmutithanniimepnthiyxmrbemuxkarthanaywngokhcrkhxngdawekhraahphidphladipnbaetkarkhnphbdawenpcunin kh s 1846smkarsmkarkahndkhwamsmphnthrahwangkhakungaeknexk a khxngdawekhraahaetladwngilladbxxkipcakdwngxathity echn khakungaeknexkkhxngolkethakb 10 caidwa a n 4 displaystyle a n 4 odythi n 0 3 6 12 24 48 tamladbkhxngdawekhraahnbcakdanin ikldwngxathitythisud ilxxkipdannxk twelkhaetlaladbthi n gt 3 displaystyle n gt 3 camikhaepnsxngethakhxngtwelkhkxnhna phllphththiidemuxhardwy 10 caaeplngepnhnwydarasastr thaihidsmkartxipni a displaystyle a 0 4 0 3 2 m odythi m displaystyle displaystyle infty 0 1 2 sahrbdawekhraahrxbnxk dawaetladwngidrbkar thanay waxyuhangcakdwngxathityepnrayapraman 2 ethakhxngwtthurxbindwngkxnhnakhxmulrayahangkhxngdawekhraahthiidcakkarkhanwntamkdni emuxepriybethiybkbrayahangcring epndngni aephnphumiaesdngkhxmulcaktarangdansaydawekhraah k rayahangtamkd rayahangcringdawphuth 0 0 4 0 39dawsukr 1 0 7 0 72olk 2 1 0 1 00dawxngkhar 4 1 6 1 52siris1 8 2 8 2 77dawphvhsbdi 16 5 2 5 20dawesar 32 10 0 9 54dawyuerns 64 19 6 19 2dawenpcun 128 38 8 30 06dawphluot1 256 77 2 39 44 1siris nbepndawekhraahxyuinchwng kh s 1801 cnthungrawkhristthswrrs 1860 phluotnbepndawekhraahxyurahwang kh s 1930 2006 rangkhxkahndkhxngshphaphdarasastrsaklwadwykarcdpraephthkhxng dawekhraah cathaihsiris idrbkarcdpraephthihmepndawekhraah aetcakkarprbprungkhxkahndintxnplayeduxnsinghakhm kh s 2006 thaihsiris phluot aelaexris idrbkarcdpraephthihmklayepn dawekhraahaekhra khaxthibaykdkhxngthithsixus obedxyngimmikhaxthibayidthiechuxthuxid aetmisingthiepnipidxyanghnungkhuxkarsnphxngkhxngwngokhcrrwmkbkarsnlngkhxng rabbdawekhraahid thiesthiyrcamikhwamepnipidsungthicamikhwamsmphnthiptamkdkhxngthithsixus obedx xyangirktam nkfisiksdarasastr klawwamnepnephiyngaekheruxngbngexiy aelawarsarwithyasastrdawekhraah imyxmrbthicatiphimphkdthiprbprungni karsnphxngkhxngwngokhcrcakwtthuthiokhcrhlkcasrangbriewnrxbdwngxathitythiprascakwngokhcrthiesthiyr phlcakaebbcalxngkarkaenidrabbsuriyasnbsnunaenwkhidthirabbdawekhraahcaeluxkrsmiwngokhcrthiesthiyraebbsumcamiaenwonmthicaepniptamkdkhxngthithsixus obedx dubrulaelaaekrenxraesdngihehnwakdkalngsxngphkphntamrayathangcamiphllphthkhxngaebbcalxngkaryubtwkhxngklumemkhkhxngrabbdawekhraahmiaenwonmthicasmmatrsxngaekn karhmunkhngthi emkhcasmmatrtamaekn seklkhngthi emkhcamisekltamkhwamyawethaknhmd xnhlngepnokhrnghlkkhxnghlaypraktkarn mibthbathinkarekidrabbsuriyaxangxing PDF Wartburg College khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2009 03 27 subkhnemux 2007 11 08 Boss Alan October 2006 Ask Astro Astronomy Vol 30 no 10 p 70 Titius Bode laws in the solar system Part I Scale invariance explains everything F Graner B Dubrulle Astronomy and Astrophysics 282 262 268 1994 Titius Bode laws in the solar system Part II Build your own law from disk models B Dubrulle F Graner Astronomy and Astrophysics 282 269 276 1994 bthkhwamdarasastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk