ฟังก์ชันขั้นบันได คือฟังก์ชันบนจำนวนจริงซึ่งเกิดจากการรวมกันระหว่างฟังก์ชันคงตัวจากโดเมนที่แบ่งออกเป็นช่วงหลายช่วง กราฟของฟังก์ชันจะมีลักษณะเป็นส่วนของเส้นตรงหรือรังสีในแนวราบเป็นท่อน ๆ ตามช่วง ในระดับความสูงต่างกัน
นิยาม
ฟังก์ชัน f : R → R จะเรียกว่าฟังก์ชันขั้นบันได ถ้าฟังก์ชัน f สามารถเขียนให้อยู่ในรูปแบบนี้ได้
- สำหรับทุกจำนวนจริง x
เมื่อ n ≥ 0, αi เป็นจำนวนจริง (ค่าคงตัว), Ai คือช่วงต่าง ๆ และ χA คือฟังก์ชันบ่งชี้ (indicator function) ของช่วง A นั่นคือ
ในนิยามเช่นนี้ ช่วง Ai ต่าง ๆ จะต้องมีสมบัติที่สมมติขึ้นสองประการดังนี้
- ช่วงต่าง ๆ จะต้องต่อกัน นั่นคือ Ai ∩ Aj = ∅ โดยที่ i ≠ j
- ยูเนียนของช่วงทุกช่วง คือเซตจำนวนจริงทั้งเซต นั่นคือ ∪iAi = R
ในกรณีที่สมบัติของฟังก์ชันเริ่มต้นไม่เป็นไปตามข้อสันนิษฐาน เช่นช่วงซ้อนกัน หรือยูเนียนแล้วแต่ไม่ครบเซตจำนวนจริง เราอาจเลือกช่วงใหม่ที่เทียบเท่าอันทำให้มีสมบัติดังกล่าวได้ ตัวอย่างเช่น กำหนดให้ฟังก์ชันขั้นบันไดนี้
สามารถเขียนใหม่ได้เป็น
ซึ่งผลลัพธ์จากฟังก์ชันจะยังคงเหมือนเดิม
ตัวอย่าง
- ฟังก์ชันคงตัวเป็นตัวอย่างอย่างง่ายของฟังก์ชันขั้นบันได ซึ่งประกอบด้วยช่วงเพียงช่วงเดียวคือ A0 = R
- (Heaviside function) เป็นฟังก์ชันขั้นบันไดหนึ่งที่สำคัญ เป็นแนวคิดทางคณิตศาสตร์ที่อยู่เบื้องหลังการทดสอบ เช่นที่ใช้ในของ
- ฟังก์ชันสี่เหลี่ยมมุมฉาก (rectangular function) ซึ่งเป็นแบบบรรทัดฐาน (normalized boxcar function) เป็นอีกตัวอย่างหนึ่งของฟังก์ชันขั้นบันได ใช้เพื่อเป็นแบบจำลองของหนึ่งหน่วย
ในทางตรงข้าม
- ฟังก์ชันภาคจำนวนเต็ม ไม่ถือว่าเป็นฟังก์ชันขั้นบันไดตามนิยามที่ระบุในบทความนี้ เพราะมีจำนวนช่วงขั้นเป็นอนันต์ (n → ∞) ไม่เป็นจำนวนจำกัด
สมบัติ
- ผลรวมและผลคูณของฟังก์ชันขั้นบันไดสองฟังก์ชัน จะให้ผลเป็นฟังก์ชันขั้นบันไดอีกฟังก์ชันหนึ่ง และผลคูณของฟังก์ชันขั้นบันไดกับจำนวนคงตัวก็ยังคงเป็นฟังก์ชันขั้นบันได จากกรณีทั้งสองทำให้ฟังก์ชันขั้นบันไดก่อร่างขึ้นมาเหนือจำนวนจริง
- ฟังก์ชันขั้นบันไดมีจำนวนช่วงเป็นจำนวนจำกัดเท่านั้น ถ้าช่วง Ai ต่าง ๆ ซึ่ง i = 0, 1, …, n ตามนิยามข้างต้นไม่ทับซ้อนซึ่งกันและกัน และยูเนียนของช่วงทั้งหมดเป็นจำนวนจริง จะได้ว่า f (x) = αi สำหรับทุกค่าของ x ∈ Ai
- ของฟังก์ชันขั้นบันได คือ เมื่อ คือความยาวของช่วง A และในกรณีนี้เราสมมติว่าช่วง Ai ทั้งหมดมีความยาวจำกัด ข้อเท็จจริงคือความเท่ากันนี้สามารถใช้เป็นขั้นตอนแรกในการหาปริพันธ์เลอเบก
อ้างอิง
- Weir, Alan J. "3". Lebesgue integration and measure. Cambridge University Press, 1973. ISBN .
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
fngkchnkhnbnid khuxfngkchnbncanwncringsungekidcakkarrwmknrahwangfngkchnkhngtwcakodemnthiaebngxxkepnchwnghlaychwng krafkhxngfngkchncamilksnaepnswnkhxngesntrnghruxrngsiinaenwrabepnthxn tamchwng inradbkhwamsungtangkntwxyangkrafkhxngfngkchnkhnbnid esnsiaedng niyamfngkchn f R R caeriykwafngkchnkhnbnid thafngkchn f samarthekhiynihxyuinrupaebbniid f x i 0naixAi x displaystyle f x sum limits i 0 n alpha i chi A i x sahrbthukcanwncring x dd emux n 0 ai epncanwncring khakhngtw Ai khuxchwngtang aela xA khuxfngkchnbngchi indicator function khxngchwng A nnkhux xA x 1if x A0if x A displaystyle chi A x begin cases 1 amp mbox if x in A 0 amp mbox if x notin A end cases dd inniyamechnni chwng Ai tang catxngmismbtithismmtikhunsxngprakardngni chwngtang catxngtxkn nnkhux Ai Aj odythi i j yueniynkhxngchwngthukchwng khuxestcanwncringthngest nnkhux iAi R inkrnithismbtikhxngfngkchnerimtnimepniptamkhxsnnisthan echnchwngsxnkn hruxyueniynaelwaetimkhrbestcanwncring eraxaceluxkchwngihmthiethiybethaxnthaihmismbtidngklawid twxyangechn kahndihfngkchnkhnbnidni f 4x 5 1 3x 0 6 displaystyle f 4 chi 5 1 3 chi 0 6 dd samarthekhiynihmidepn f 0x 5 4x 5 0 7x 0 1 3x 1 6 0x 6 displaystyle f 0 chi infty 5 4 chi 5 0 7 chi 0 1 3 chi 1 6 0 chi 6 infty dd sungphllphthcakfngkchncayngkhngehmuxnedimtwxyangkrafkhxngfngkchnehfwiisdkrafkhxngfngkchnsiehliymmumchakfngkchnkhngtwepntwxyangxyangngaykhxngfngkchnkhnbnid sungprakxbdwychwngephiyngchwngediywkhux A0 R Heaviside function epnfngkchnkhnbnidhnungthisakhy epnaenwkhidthangkhnitsastrthixyuebuxnghlngkarthdsxb echnthiichinkhxng fngkchnsiehliymmumchak rectangular function sungepnaebbbrrthdthan normalized boxcar function epnxiktwxyanghnungkhxngfngkchnkhnbnid ichephuxepnaebbcalxngkhxnghnunghnwyinthangtrngkham fngkchnphakhcanwnetm imthuxwaepnfngkchnkhnbnidtamniyamthirabuinbthkhwamni ephraamicanwnchwngkhnepnxnnt n imepncanwncakdsmbtiphlrwmaelaphlkhunkhxngfngkchnkhnbnidsxngfngkchn caihphlepnfngkchnkhnbnidxikfngkchnhnung aelaphlkhunkhxngfngkchnkhnbnidkbcanwnkhngtwkyngkhngepnfngkchnkhnbnid cakkrnithngsxngthaihfngkchnkhnbnidkxrangkhunmaehnuxcanwncring fngkchnkhnbnidmicanwnchwngepncanwncakdethann thachwng Ai tang sung i 0 1 n tamniyamkhangtnimthbsxnsungknaelakn aelayueniynkhxngchwngthnghmdepncanwncring caidwa f x ai sahrbthukkhakhxng x Ai khxngfngkchnkhnbnid f i 0naixAi displaystyle textstyle f sum limits i 0 n alpha i chi A i khux fdx i 0naiℓ Ai displaystyle textstyle int f dx sum limits i 0 n alpha i ell A i emux ℓ A displaystyle ell A khuxkhwamyawkhxngchwng A aelainkrninierasmmtiwachwng Ai thnghmdmikhwamyawcakd khxethccringkhuxkhwamethaknnisamarthichepnkhntxnaerkinkarhapriphnthelxebkxangxingWeir Alan J 3 Lebesgue integration and measure Cambridge University Press 1973 ISBN 0 521 09751 7