ก้องบ้อง (พม่า: ခေါင်းပေါင်း, [ɡáʊɰ̃ báʊɰ̃]; มอญ: သမိၚ် ဍိုပ်, [həmoiŋ dɒp]; ไทใหญ่: ၶဵၼ်းႁူဝ် [kʰén.hǒ]; ไทยถิ่นเหนือ: เคียนหัว) เป็นผ้าโพกหัวแบบดั้งเดิมของพม่าและแบบดั้งเดิมของกลุ่มชาติพันธุ์ต่าง ๆ ที่อาศัยอยู่ในพม่าปัจจุบันและภาคเหนือของประเทศไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มชาติพันธุ์ที่นับถือศาสนาพุทธเป็นส่วนใหญ่ ได้แก่ พม่า, มอญ, ยะไข่, ไทใหญ่, และ ไทยวน รูปแบบจะแตกต่างกันไปในแต่ละภูมิภาค แต่มีพื้นฐานคล้ายคลึงกัน
เด็กชายชาวมอญสองคนสวม ก้องบ้อง ด้วยชุดสีมอญ | |
ประเภท | เครื่องปกคลุมศีรษะ |
---|---|
วัสดุ | ไหม, ฝ้าย |
ถิ่นกำเนิด | ประเทศพม่า |
ก้องบ้อง ในภาษาพม่าหมายถึง ผ้าโผกศีรษะ เป็นส่วนหนึ่งของชุดพิธีการแบบดั้งเดิม สวมใส่ในงานสังสรรค์และพิธีที่เป็นทางการ ก้องบ้อง มักใช้เป็นเครื่องหมายแสดงยศศักดิ์ แม้ว่าจะไม่มีตราสัญลักษณ์หรือลวดลายใด ๆ ก็ตาม ก้องบ้อง มักพบได้ทั่วไปในกลุ่มชาติพันธุ์ยะไข่และไทใหญ่
รูปแบบและการออกแบบ
การออกแบบ ก้องบ้อง สมัยใหม่ เกิดขึ้นในช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 และเรียกว่า หม่องแจะตะเย (မောင့်ကျက်သရေ) เป็น ก้องบ้อง สำเร็จรูปที่ทำจากผ้าห่อในโครงหวายและสามารถสวมใส่ได้เช่นสวมหมวก ในยุคอาณานิคม ก้องบ้อง ผ้าไหม ที่เรียกว่า "B.A. ก้องบ้อง" ซึ่งสวมใส่ในพิธีสำเร็จการศึกษากำลังเป็นที่นิยม
ก้องบ้อง มักทำจากผ้าไหมหรือผ้าฝ้าย ขึ้นอยู่กับยศศักดิ์หรือฐานะของเจ้าของ ผ้าโผกศีรษะแบบเก่ามักมีความยาว 4 ถึง 5 ฟุต (1.2 ถึง 1.5 เมตร) และกว้าง 8 ถึง 12 นิ้ว (20 ถึง 30 เซนติเมตร) พันศีรษะโดยหมุนตามเข็มนาฬิกา โดยให้ชายผ้าอยู่ทางด้านซ้าย ชายผ้าเป็นลักษณะเด่นหลักของ ก้องบ้อง และยังมีความแตกต่างกันไปตามแต่ละชาติพันธุ์อีกด้วย
ชายผ้า ก้องบ้อง ของชาวพม่าและชาวมอญมีลักษณะลาดลงและโค้งมน ในขณะที่ชายผ้าของชาวยะไข่และไทใหญ่แผ่ออกเป็นรูปพัด
ปัจจุบันคนส่วนใหญ่ไม่สวม ก้องบ้อง แม้แต่ในงานทางการ ก้องบ้อง รวมถึงเครื่องแต่งกายพม่าอื่น ๆ ถูกปรับให้มีความคล่องตัว ดังนั้นคนส่วนใหญ่จึงสวม ก้องบ้อง สำเร็จรูปที่หุ้มด้วยโครงหวายหรือหวายเทียม
การใช้งานร่วมสมัย
การใช้ ก้องบ้อง ลดลงอย่างมากในช่วงอาณานิคมของอังกฤษ จะสวมใส่เฉพาะในพิธีทางการและงานสังคม เช่น งานแต่ง สมาชิกรัฐสภาที่ได้รับการเลือกตั้งจะต้องสวมครั้งหนึ่งเมื่อปฏิบัติหน้าที่ในรัฐสภา
บนพื้นที่ภูเขาทางตอนเหนือ ชาวเขาเผ่าต่าง ๆ เช่น ล่าหู่, อาข่า และ ปะหล่อง ยังคงสวม ก้องบ้อง แต่สวมใส่ในชีวิตประจำวัน และส่วนใหญ่มักทำจากผ้าขนหนู
ระเบียงภาพ
- ชายสวมก้องบ้องซึ่งเป็นรูปแบบปลาย ค.ศ. 1890
- ก้องบ้องแบบพม่าที่มีรูปแบบโดดเด่นช่วงต้นปี ค.ศ. 1900
- เจ้าส่วยแต้ก สวมก้องบ้องแบบไทใหญ่
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- "Myanmar ก้องบ้อง". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-08-22. สืบค้นเมื่อ 2010-08-15.
- Egreteau, Renaud (2019-07-01). "Fashioning Parliament: The Politics of Dress in Myanmar's Postcolonial Legislatures". Parliamentary Affairs (ภาษาอังกฤษ). 72 (3): 684–701. doi:10.1093/pa/gsy026. ISSN 0031-2290.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
kxngbxng phma ခ င ပ င ɡaʊɰ baʊɰ mxy သမ ၚ ဍ ပ hemoiŋ dɒp ithihy ၶ ၼ ႁ ဝ kʰen hǒ ithythinehnux ekhiynhw epnphaophkhwaebbdngedimkhxngphmaaelaaebbdngedimkhxngklumchatiphnthutang thixasyxyuinphmapccubnaelaphakhehnuxkhxngpraethsithy odyechphaaxyangyinginklumchatiphnthuthinbthuxsasnaphuththepnswnihy idaek phma mxy yaikh ithihy aela ithywn rupaebbcaaetktangknipinaetlaphumiphakh aetmiphunthankhlaykhlungknkxngbxngedkchaychawmxysxngkhnswm kxngbxng dwychudsimxypraephthekhruxngpkkhlumsirsawsduihm faythinkaenidpraethsphma kxngbxng inphasaphmahmaythung phaophksirsa epnswnhnungkhxngchudphithikaraebbdngedim swmisinngansngsrrkhaelaphithithiepnthangkar kxngbxng mkichepnekhruxnghmayaesdngysskdi aemwacaimmitrasylksnhruxlwdlayid ktam kxngbxng mkphbidthwipinklumchatiphnthuyaikhaelaithihyrupaebbaelakarxxkaebbkarxxkaebb kxngbxng smyihm ekidkhuninchwngklangkhriststwrrsthi 20 aelaeriykwa hmxngaecataey မ င က က သရ epn kxngbxng saercrupthithacakphahxinokhrnghwayaelasamarthswmisidechnswmhmwk inyukhxananikhm kxngbxng phaihm thieriykwa B A kxngbxng sungswmisinphithisaerckarsuksakalngepnthiniym kxngbxng mkthacakphaihmhruxphafay khunxyukbysskdihruxthanakhxngecakhxng phaophksirsaaebbekamkmikhwamyaw 4 thung 5 fut 1 2 thung 1 5 emtr aelakwang 8 thung 12 niw 20 thung 30 esntiemtr phnsirsaodyhmuntamekhmnalika odyihchayphaxyuthangdansay chayphaepnlksnaednhlkkhxng kxngbxng aelayngmikhwamaetktangkniptamaetlachatiphnthuxikdwy chaypha kxngbxng khxngchawphmaaelachawmxymilksnaladlngaelaokhngmn inkhnathichayphakhxngchawyaikhaelaithihyaephxxkepnrupphd pccubnkhnswnihyimswm kxngbxng aemaetinnganthangkar kxngbxng rwmthungekhruxngaetngkayphmaxun thukprbihmikhwamkhlxngtw dngnnkhnswnihycungswm kxngbxng saercrupthihumdwyokhrnghwayhruxhwayethiymkarichnganrwmsmykarich kxngbxng ldlngxyangmakinchwngxananikhmkhxngxngkvs caswmisechphaainphithithangkaraelangansngkhm echn nganaetng smachikrthsphathiidrbkareluxktngcatxngswmkhrnghnungemuxptibtihnathiinrthspha bnphunthiphuekhathangtxnehnux chawekhaephatang echn lahu xakha aela pahlxng yngkhngswm kxngbxng aetswmisinchiwitpracawn aelaswnihymkthacakphakhnhnuraebiyngphaphchayswmkxngbxngsungepnrupaebbplay kh s 1890 kxngbxngaebbphmathimirupaebboddednchwngtnpi kh s 1900 ecaswyaetk swmkxngbxngaebbithihyduephimphxoln karaetngkaykhxngphmaxangxing Myanmar kxngbxng khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2007 08 22 subkhnemux 2010 08 15 Egreteau Renaud 2019 07 01 Fashioning Parliament The Politics of Dress in Myanmar s Postcolonial Legislatures Parliamentary Affairs phasaxngkvs 72 3 684 701 doi 10 1093 pa gsy026 ISSN 0031 2290