สนามไฟฟ้า (อังกฤษ: electric field) คือปริมาณซึ่งใช้บรรยายการที่ประจุไฟฟ้าทำให้เกิดแรงกระทำกับอนุภาคมีประจุภายในบริเวณโดยรอบ ของสนามไฟฟ้าคือ นิวตันต่อคูลอมบ์ หรือโวลต์ต่อเมตร (มีค่าเท่ากัน) สนามไฟฟ้านั้นประกอบขึ้นจากโฟตอนและมีเก็บอยู่ ซึ่งขนาดของขึ้นกับกำลังสองของความหนาแน่นของสนาม ในกรณีของไฟฟ้าสถิต สนามไฟฟ้าประกอบขึ้นจากการแลกเปลี่ยนระหว่างอนุภาคมีประจุ ส่วนในกรณีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้านั้น สนามไฟฟ้าเปลี่ยนแปลงไปพร้อมกับสนามแม่เหล็ก โดยมีการไหลของพลังงานจริง และประกอบขึ้นจากโฟตอนจริง
สนามไฟฟ้า | |
---|---|
ผลกระทบของสนามไฟฟ้า เด็กผู้หญิงที่สัมผัสเครื่องกำเนิดไฟฟ้าสถิตย์ | |
สัญลักษณ์ทั่วไป | E |
หน่วยเอสไอ | โวลต์ ต่อ เมตร (V/m) |
ในหน่วยฐานเอสไอ | m⋅kg⋅s−3⋅A−1 |
เวกเตอร์ | |
อนุพันธ์ จากปริมาณอื่น | F / q |
นิยามและที่มา
นิยามทางคณิตศาสตร์ของสนามไฟฟ้ากำหนดไว้ดังนี้ กฎของคูลอมบ์ (Coulomb's law) กล่าวว่าแรงกระทำระหว่างอนุภาคมีประจุสองอนุภาค มีค่าเท่ากับ
เมื่อ
- (อ่านว่า เอปสิลอน-นอท) คือ สภาพยอมของสุญญากาศ ซึ่งเป็นค่าคงตัวทางฟิสิกส์ตัวหนึ่ง;
- และ คือ ประจุไฟฟ้าของอนุภาคแต่ละตัว;
- คือ ระยะทางระหว่างอนุภาคทั้งสอง;
- คือ เวกเตอร์หนึ่งหน่วย ซึ่งชี้จากอนุภาคตัวหนึ่งไปอีกตัว
ในระบบหน่วยเอสไอ หน่วยของแรงคือ นิวตัน, หน่วยของประจุคือคูลอมบ์, หน่วยของระยะทางคือเมตร ดังนั้น มีหน่วยเป็น C2/ (N·m2). ค่านี้ได้หาได้จากการทดลองโดยไม่มีทฤษฎีกำหนด
สมมุติว่าอนุภาคตัวหนึ่งอยู่นิ่ง และอนุภาคอีกตัวเป็น "ประจุทดสอบ" จากสมการด้านบนจะเห็นว่าแรงกระทำที่เกิดขึ้นบนประจุทดสอบนั้นแปรผันตรงกับขนาดของประจุทดสอบ นิยามของสนามไฟฟ้าคืออัตราส่วนคงที่ระหว่างขนาดของประจุและขนาดของแรงที่เกิดขึ้น คือ สูตร
สมการนี้เป็นจริงเฉพาะในกรณีไฟฟ้าสถิต (คือกรณีที่ประจุไม่มีการเคลื่อนที่) เท่านั้น ถ้าพิจารณากรณีทั่วไปซึ่งประจุมีการเคลื่อนที่ด้วย สมการด้านบนจะต้องกลายเป็น
คุณสมบัติ
สมการที่ (1) แสดงให้เห็นว่าสนามไฟฟ้ามีค่าขึ้นกับตำแหน่ง สนามไฟฟ้าจากประจุตัวหนึ่งจะมีค่าลดลงเรื่อยๆ ณ ตำแหน่งที่ห่างออกจากประจุนั้น โดยขนาดจะลดลงเป็นอัตราส่วนของกำลังสองของระยะทางจากตัวประจุ
สนามไฟฟ้าปฏิบัติตัวตาม นั่นคือ หากมีประจุไฟฟ้ามากกว่าหนึ่งตัวในระบบแล้ว สนามไฟฟ้า ณ ตำแหน่งใดๆ ในระบบจะมีค่าเท่ากับของสนามไฟฟ้าซึ่งเกิดจากประจุแต่ละตัวเดี่ยวๆ
หากเราขยายหลักการนี้ไปสู่กรณีที่ประจุไฟฟ้ามีจำนวนเป็นอนันต์ สมการจะกลายเป็น
เมื่อ ρ คือ หรือจำนวนประจุไฟฟ้าต่อหน่วยปริมาตร
สนามไฟฟ้านั้นมีค่าเท่ากับค่าลบของ เกรเดียนต์ของศักย์ไฟฟ้า
ดูเพิ่ม
- สมการของแมกซ์เวลล์ คือชุดสมการที่สมบูรณ์สำหรับการอธิบายปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสนามไฟฟ้า
- ทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า
- ไฟฟ้าสถิต
- แม่เหล็ก
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
snamiffa xngkvs electric field khuxprimansungichbrryaykarthipracuiffathaihekidaerngkrathakbxnuphakhmipracuphayinbriewnodyrxb khxngsnamiffakhux niwtntxkhulxmb hruxowlttxemtr mikhaethakn snamiffannprakxbkhuncakoftxnaelamiekbxyu sungkhnadkhxngkhunkbkalngsxngkhxngkhwamhnaaennkhxngsnam inkrnikhxngiffasthit snamiffaprakxbkhuncakkaraelkepliynrahwangxnuphakhmipracu swninkrnikhlunaemehlkiffann snamiffaepliynaeplngipphrxmkbsnamaemehlk odymikarihlkhxngphlngngancring aelaprakxbkhuncakoftxncringsnamiffaphlkrathbkhxngsnamiffa edkphuhyingthismphsekhruxngkaenidiffasthitysylksnthwipEhnwyexsixowlt tx emtr V m inhnwythanexsixm kg s 3 A 1ewketxrxnuphnth cakprimanxunF qniyamaelathimaniyamthangkhnitsastrkhxngsnamiffakahndiwdngni kdkhxngkhulxmb Coulomb s law klawwaaerngkratharahwangxnuphakhmipracusxngxnuphakh mikhaethakb F 14pϵ0q1q2r2r 1 displaystyle mathbf F frac 1 4 pi epsilon 0 frac q 1 q 2 r 2 mathbf hat r 1 emux ϵ0 displaystyle epsilon 0 xanwa expsilxn nxth khux sphaphyxmkhxngsuyyakas sungepnkhakhngtwthangfisikstwhnung q1 displaystyle q 1 aela q2 displaystyle q 2 khux pracuiffakhxngxnuphakhaetlatw r displaystyle r khux rayathangrahwangxnuphakhthngsxng r displaystyle hat r khux ewketxrhnunghnwy sungchicakxnuphakhtwhnungipxiktw inrabbhnwyexsix hnwykhxngaerngkhux niwtn hnwykhxngpracukhuxkhulxmb hnwykhxngrayathangkhuxemtr dngnnϵ0 displaystyle epsilon 0 mihnwyepn C2 N m2 khaniidhaidcakkarthdlxngodyimmithvsdikahnd smmutiwaxnuphakhtwhnungxyuning aelaxnuphakhxiktwepn pracuthdsxb caksmkardanbncaehnwaaerngkrathathiekidkhunbnpracuthdsxbnnaeprphntrngkbkhnadkhxngpracuthdsxb niyamkhxngsnamiffakhuxxtraswnkhngthirahwangkhnadkhxngpracuaelakhnadkhxngaerngthiekidkhun khux sutr F qE displaystyle mathbf F q mathbf E E 14pϵ0Qr2r displaystyle mathbf E frac 1 4 pi epsilon 0 frac Q r 2 mathbf hat r smkarniepncringechphaainkrniiffasthit khuxkrnithipracuimmikarekhluxnthi ethann thaphicarnakrnithwipsungpracumikarekhluxnthidwy smkardanbncatxngklayepnkhunsmbtismkarthi 1 aesdngihehnwasnamiffamikhakhunkbtaaehnng snamiffacakpracutwhnungcamikhaldlngeruxy n taaehnngthihangxxkcakpracunn odykhnadcaldlngepnxtraswnkhxngkalngsxngkhxngrayathangcaktwpracu snamiffaptibtitwtam nnkhux hakmipracuiffamakkwahnungtwinrabbaelw snamiffa n taaehnngid inrabbcamikhaethakbkhxngsnamiffasungekidcakpracuaetlatwediyw Etot E1 E2 E3 displaystyle E tot E 1 E 2 E 3 ldots hakerakhyayhlkkarniipsukrnithipracuiffamicanwnepnxnnt smkarcaklayepn E 14pϵ0 rr2r d3r displaystyle mathbf E frac 1 4 pi epsilon 0 int frac rho r 2 mathbf hat r d 3 mathbf r emux r khux hruxcanwnpracuiffatxhnwyprimatr snamiffannmikhaethakbkhalbkhxng ekrediyntkhxngskyiffa E ϕ displaystyle mathbf E mathbf nabla phi duephimsmkarkhxngaemksewll khuxchudsmkarthismburnsahrbkarxthibaypraktkarnthiekiywkhxngkbsnamiffa thvsdiaemehlkiffa iffasthit aemehlk