ปลาตะพากเหลือง หรือ ปลาตะพากทอง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Hypsibarbus wetmorei) เป็นปลาน้ำจืดจำพวกปลาตะพากชนิดหนึ่งในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) จัดเป็นปลาตะพากชนิดที่พบได้หลากหลายและเป็นที่รู้จักกันดีที่สุด
ปลาตะพากเหลือง | |
---|---|
สถานะการอนุรักษ์ | |
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ | |
โดเมน: | ยูแคริโอต |
อาณาจักร: | สัตว์ |
ไฟลัม: | สัตว์มีแกนสันหลัง |
ชั้น: | ปลาที่มีก้านครีบ |
อันดับ: | อันดับปลาตะเพียน |
วงศ์: | วงศ์ปลาตะเพียน |
สกุล: | ปลาตะพาก (H. M. Smith, 1931) |
สปีชีส์: | Hypsibarbus wetmorei |
ชื่อทวินาม | |
Hypsibarbus wetmorei (H. M. Smith, 1931) | |
ชื่อพ้อง | |
|
ลักษณะ
ปลาตะพากเหลืองมีลักษณะลำตัวยาวรีและแบนข้าง มีเกล็ดขนาดค่อนข้างใหญ่เป็นมันแวววาว พื้นลำตัวสีขาวเงิน แผ่นหลังสีเขียวอมน้ำตาล มีครีบทั้งหมด 7 ครีบ ครีบอก ครีบท้องและครีบก้นสีเหลืองสด ปลายขอบครีบและหางสีส้ม หางเป็นเว้าแฉกลึก ครีบหลังและครีบหางสีเทาหม่น ปลาขนาดใหญ่เกล็ดใต้ท้องเป็นสีเหลืองอร่าม มีหนวดขนาดเล็ก 2 คู่ อยู่ที่ขากรรไกรบนล่าง ขนาดโตเต็มที่ประมาณ 60 เซนติเมตร พบใหญ่ที่สุดยาว 66 เซนติเมตร น้ำหนัก 8 กิโลกรัม อาหารกินได้หลากหลาย เช่น พืชน้ำ แมลงน้ำ รวมถึงสัตว์น้ำขนาดเล็กด้วย
อาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง เป็นปลาที่ว่ายน้ำได้เร็วและว่ายน้ำเคลื่อนไหวตลอดเวลา ขยายพันธุ์โดยการวางไข่ระหว่างเดือนมีนาคม–ตุลาคม ไข่มีลักษณะกึ่งลอย กึ่งจม การวางไข่ครั้งหนึ่งจะมีปริมาณไข่นับเป็นแสน ๆ ฟอง และมีพฤติกรรมการผสมพันธุ์หมู่
ถิ่นที่อยู่
ปลาตะพากเหลืองอาศัยในแม่น้ำสายใหญ่ตั้งแต่แม่น้ำปิง แม่น้ำแม่กลอง แม่น้ำเจ้าพระยา จนถึงแม่น้ำโขง รวมถึงลำธารน้ำตกในป่าดิบ จัดเป็นปลาเศรษฐกิจ นิยมบริโภคโดยการปรุงสด รมควัน และต้มเค็ม เนื้อมีรสชาติอร่อยกว่าปลาตะเพียนและก้างนิ่มกว่า อีกทั้งยังนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามด้วย ถือเป็นปลาประจำจังหวัดกำแพงเพชร ขณะที่ในภาษาอีสานเรียกว่า "ปลาปากท้องเหลือง"
ปัจจุบันสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้วในที่เลี้ยง โดยสถานีประมงน้ำจืดจังหวัดกำแพงเพชร แต่ยังอยู่ในขั้นเริ่มต้น เมื่อเพาะได้แล้วจะปล่อยลูกปลาคืนสู่ธรรมชาติที่แม่น้ำปิง อันเป็นถิ่นกำเนิดดั้งเดิม เพื่ออนุรักษ์ไว้ไม่ให้สูญพันธุ์ เพราะยังผลิตลูกปลาได้จำนวนน้อย เนื่องจากพ่อแม่ปลายังมีความสมบูรณ์เพศไม่เพียงพอ อีกทั้งขี้ตกใจเมื่ออยู่ในที่เลี้ยง
อ้างอิง
- Rainboth, W. (2012). "Hypsibarbus wetmorei". IUCN Red List of Threatened Species. 2012: e.T181331A1722850. doi:10.2305/IUCN.UK.2012-1.RLTS.T181331A1722850.en. สืบค้นเมื่อ 11 November 2021.
- สุรศักดิ์ วงศ์กิตติเวชสกุล. สารานุกรมปลาไทย. กรุงเทพฯ : บริษัทเอม ซัพพลาย, 2540. 170 หน้า. หน้า 111. ISBN
- สมโภชน์ อัคคะทวีวัฒน์. สาระน่ารู้ ปลาน้ำจืดไทย เล่ม ๑. กรุงเทพฯ : องค์การค้าของคุรุสภา, 2547. 264 หน้า. หน้า 93. ISBN
- "สารคดีเกษตร : เพาะพันธุ์ปลาตะพาก". ช่อง 7. 17 August 2012. สืบค้นเมื่อ 11 January 2015.[]
- "ปลา'ตะพาก' หวนคืนสู่ชุมชน". ข่าวสด.
แหล่งข้อมูลอื่น
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
plataphakehluxng hrux plataphakthxng chuxwithyasastr Hypsibarbus wetmorei epnplanacudcaphwkplataphakchnidhnunginwngsplataephiyn Cyprinidae cdepnplataphakchnidthiphbidhlakhlayaelaepnthiruckkndithisudplataphakehluxngsthanakarxnurkskhwamesiyngta IUCN 3 1 karcaaenkchnthangwithyasastrodemn yuaekhrioxtxanackr stwiflm stwmiaeknsnhlngchn plathimikankhribxndb xndbplataephiynwngs wngsplataephiynskul plataphak H M Smith 1931 spichis Hypsibarbus wetmoreichuxthwinamHypsibarbus wetmorei H M Smith 1931 chuxphxngPuntius wetmorei Smith 1931 Poropuntius wetmorei Smith 1931 Puntius daruphani Smith 1934 Barbus daruphani Smith 1934 Barbus beasleyi 1937 Puntius beasleyi Fowler 1937 lksnaplataphakehluxngmilksnalatwyawriaelaaebnkhang miekldkhnadkhxnkhangihyepnmnaewwwaw phunlatwsikhawengin aephnhlngsiekhiywxmnatal mikhribthnghmd 7 khrib khribxk khribthxngaelakhribknsiehluxngsd playkhxbkhribaelahangsism hangepnewaaechkluk khribhlngaelakhribhangsiethahmn plakhnadihyeklditthxngepnsiehluxngxram mihnwdkhnadelk 2 khu xyuthikhakrrikrbnlang khnadotetmthipraman 60 esntiemtr phbihythisudyaw 66 esntiemtr nahnk 8 kiolkrm xaharkinidhlakhlay echn phuchna aemlngna rwmthungstwnakhnadelkdwy xasyxyurwmknepnfung epnplathiwaynaiderwaelawaynaekhluxnihwtlxdewla khyayphnthuodykarwangikhrahwangeduxnminakhm tulakhm ikhmilksnakunglxy kungcm karwangikhkhrnghnungcamiprimanikhnbepnaesn fxng aelamiphvtikrrmkarphsmphnthuhmuthinthixyuplataphakehluxngxasyinaemnasayihytngaetaemnaping aemnaaemklxng aemnaecaphraya cnthungaemnaokhng rwmthunglatharnatkinpadib cdepnplaesrsthkic niymbriophkhodykarprungsd rmkhwn aelatmekhm enuxmirschatixrxykwaplataephiynaelakangnimkwa xikthngyngniymeliyngepnplaswyngamdwy thuxepnplapracacnghwdkaaephngephchr khnathiinphasaxisaneriykwa plapakthxngehluxng pccubnsamarthephaakhyayphnthuidaelwinthieliyng odysthanipramngnacudcnghwdkaaephngephchr aetyngxyuinkhnerimtn emuxephaaidaelwcaplxylukplakhunsuthrrmchatithiaemnaping xnepnthinkaeniddngedim ephuxxnurksiwimihsuyphnthu ephraayngphlitlukplaidcanwnnxy enuxngcakphxaemplayngmikhwamsmburnephsimephiyngphx xikthngkhitkicemuxxyuinthieliyngxangxingRainboth W 2012 Hypsibarbus wetmorei IUCN Red List of Threatened Species 2012 e T181331A1722850 doi 10 2305 IUCN UK 2012 1 RLTS T181331A1722850 en subkhnemux 11 November 2021 surskdi wngskittiewchskul saranukrmplaithy krungethph bristhexm sphphlay 2540 170 hna hna 111 ISBN 9748990028 smophchn xkhkhathwiwthn saranaru planacudithy elm 1 krungethph xngkhkarkhakhxngkhuruspha 2547 264 hna hna 93 ISBN 974 00 8701 9 sarkhdiekstr ephaaphnthuplataphak chxng 7 17 August 2012 subkhnemux 11 January 2015 lingkesiy pla taphak hwnkhunsuchumchn khawsd aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb plataphakehluxng