กล้องโทรทรรศน์อวกาศเคปเลอร์ (อังกฤษ: Kepler space telescope) เป็นกล้องโทรทรรศน์อวกาศของ นาซา ที่ค้นพบดาวเคราะห์คล้ายโลกโคจรอยู่รอบ ๆ ดาวฤกษ์ดวงอื่น การตั้งชื่อกล้องโทรทรรศน์อวกาศนำมาจากนักดาราศาสตร์ในศตวรรษที่ 17 โยฮันเนส เคปเลอร์ ขึ้นสู่อวกาศในวันที่ 7 มีนาคม ค.ศ. 2009 หลังจากการปฏิบัติงานมากว่า 9 ปี เชื้อเพลิงของยานอวกาศเคปเลอร์ก็หมดลงทำให้นาซาประกาศปลดระวางภารกิจในวันที่ 30 ตุลาคม 2018
กล้องโทรทรรศน์อวกาศเคปเลอร์ | |
---|---|
ภาพวาดในจินตนาการของกล้องโทรทรรศน์อวกาศเคปเลอร์ | |
ประเภทภารกิจ | กล้องโทรทรรศน์อวกาศ |
ผู้ดำเนินการ | นาซา / |
COSPAR ID | 2009-011A |
SATCAT no. | 34380 |
เว็บไซต์ | www |
ระยะภารกิจ | วางแผน: 3.5 ปี สิ้นสุด: 9 ปี, 7 เดือน, 23 วัน |
ข้อมูลยานอวกาศ | |
ผู้ผลิต | |
มวลขณะส่งยาน | 1,052.4 กิโลกรัม (2,320 ปอนด์) |
มวลแห้ง | 1,040.7 กิโลกรัม (2,294 ปอนด์) |
มวลบรรทุก | 478 กิโลกรัม (1,054 ปอนด์) |
ขนาด | 4.7 โดย 2.7 เมตร (15.4 โดย 8.9 ฟุต) |
กำลังไฟฟ้า | 1100 วัตต์ |
เริ่มต้นภารกิจ | |
วันที่ส่งขึ้น | 7 มีนาคม 2009, 03:49:57 UTC |
จรวดนำส่ง | (7925-10L) |
ฐานส่ง | สถานีกองทัพอากาศแหลมคะแนเวอรัล |
ผู้ดำเนินงาน | |
เริ่มปฎิบัติงาน | 12 พฤษภาคม 2009, 09:01 UTC |
สิ้นสุดภารกิจ | |
ปิดการทำงาน | 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 2018 |
ลักษณะวงโคจร | |
ระบบอ้างอิง | วงโคจรรอบดวงอาทิตย์ |
ระบบวงโคจร | ตามโลก |
กึ่งแกนเอก | 1.0133 AU |
ความเยื้อง | 0.036116 |
ระยะใกล้สุด | 0.97671 AU |
ระยะไกลสุด | 1.0499 AU |
ความเอียง | 0.4474 องศา |
คาบการโคจร | 372.57 วัน |
มุมของจุดใกล้ที่สุด | 294.04 องศา |
มุมกวาดเฉลี่ย | 311.67 องศา |
0.96626 องศาต่อวัน | |
วันที่ใช้อ้างอิง | 1 มกราคม 2018 (J2000: 2458119.5) |
กล้องโทรทรรศน์หลัก | |
ชนิด | แบบชมิท |
เส้นผ่านศูนย์กลาง | 0.95 เมตร (3.1 ฟุต) |
พื่นที่รับแสง | 0.708 ตารางเมตร (7.62 ตารางฟุต) |
ความยาวคลื่น | 430–890 nm |
อุปกรณ์ส่งสัญญาณ | |
แบนด์วิดท์ | บน: 7.8 บิตต่อวินาที – 2 กิโลบิตต่อวินาที เอกซ์แบนด์ ล่าง: 10 บิตต่อวินาที – 16 กิโลบิตต่อวินาที ล่าง: จนถึง 4.3 เมกะบิตต่อวินาที |
|
กล้องโทรทรรศน์อวกาศอันนี้ถูกสร้างขึ้นเพื่อค้นหาดาวเคราะห์นอกระบบที่คล้ายโลกที่โครจรอยู่ในเขตอาศัยได้และทำการประมาณค่าว่าดาวฤกษ์หลายพันล้านดาวในทางช้างเผือกมีดาวเคราะห์ดังกล่าวกี่ดวง อุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์ที่ติดไปกับตัวกล้องนั้นคือที่คอยตรวจสอบความต่อเนื่องของแสงสว่างของดาวฤกษ์ประมาณ 150,000 ดวงในแถบลำดับหลัก จากนั้นกล้องนจะส่งข้อมูลกลับไปยังสถานีเพื่อทำการตรวงสอบ(การบังแสงของดาวเคราะห์)ในขณะที่มันโคจรผ่านดาวฤกษ์ ช่วงตลอดเวลา 9 ปีของภาระกิจมันทำการสังเกตดาวฤกษ์กว่า 530,506 ดาวและค้นพบดาวเคราะห์อีก 2,662 ดวง
หมายเหตุ
- ช่องรับแสงขนาด 0.95 ม. ให้พื้นที่รวมแสง Pi×(0.95/2)2 = 0.708 ม.2; CCD จำนวน 42 ตัวแต่ละตัวขนาด 0.050 ม. × 0.025 ม. ให้พื้นที่ตัวรับรู้ทั้งหมด 0.0525 ม.2:
อ้างอิง
- (PDF). NASA. กุมภาพันธ์ 2009. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 10 มีนาคม 2009. สืบค้นเมื่อ 13 มีนาคม 2015.
- . Kepler Asteroseismic Science Consortium. Aarhus University. 14 มีนาคม 2009. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 พฤษภาคม 2012. สืบค้นเมื่อ 14 มีนาคม 2009.
- "Kepler (spacecraft)". . NASA/JPL. 6 มกราคม 2018. สืบค้นเมื่อ 6 มกราคม 2018.
- "Kepler Spacecraft and Instrument". NASA. 26 มิถุนายน 2013. จากแหล่งเดิมเมื่อ 19 มกราคม 2014. สืบค้นเมื่อ 18 มกราคม 2014.
- Koch, David; Gould, Alan (มีนาคม 2009). . NASA. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 มีนาคม 2014. สืบค้นเมื่อ 14 มีนาคม 2009.
- DeVore, Edna (9 มิถุนายน 2008). "Closing in on Extrasolar Earths". space.com. สืบค้นเมื่อ 14 มีนาคม 2009.
- NASA Staff. "Kepler Launch". NASA. สืบค้นเมื่อ 18 กันยายน 2009.
- Chou, Felicia; Hawkes, Alison; Cofield, Calia (30 ตุลาคม 2018). "NASA Retires Kepler Space Telescope". NASA. สืบค้นเมื่อ 30 ตุลาคม 2018.
- (30 ตุลาคม 2018). "Kepler, the Little NASA Spacecraft That Could, No Longer Can". The New York Times. สืบค้นเมื่อ 30 ตุลาคม 2018.
- "Kepler: About the Mission". NASA / Ames Research Center. 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 พฤษภาคม 2012. สืบค้นเมื่อ 11 เมษายน 2016.
- (12 พฤษภาคม 2013). "Finder of New Worlds". The New York Times. สืบค้นเมื่อ 13 พฤษภาคม 2014.
- (6 มกราคม 2015). "As Ranks of Goldilocks Planets Grow, Astronomers Consider What's Next". The New York Times. สืบค้นเมื่อ 6 มกราคม 2015.
- Borucki, William J.; Koch, David; Basri, Gibor; และคณะ (กุมภาพันธ์ 2010). "Kepler Planet-Detection Mission: Introduction and First Results". Science. 327 (5968): 977–980. Bibcode:2010Sci...327..977B. doi:10.1126/science.1185402.
- Overbye, Dennis. "Kepler, the Little NASA Spacecraft That Could, No Longer Can". New York Times. สืบค้นเมื่อ 31 ตุลาคม 2018.
แหล่งข้อมูลอื่น
- Kepler Mission – NASA.
- Kepler Mission – KOI Data Search.
- Kepler Mission – Public Data.
- Kepler Mission – Audio (27:02) – AstronomyCast (2010).
- Kepler – Discoveries – Summary Table 2017-04-01 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน – NASA.
- Kepler – Discovery of New Planetary Systems (2013) 8 พฤษภาคม 2020 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน.
- Kepler – Tally of Planets/interactive (2013) – .
- Kepler – Guest Observer Program 27 สิงหาคม 2012 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน.
- Kepler – Asteroseismic Science Consortium (KASC) 5 พฤษภาคม 2012 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน.
- Kepler – Spherical Panorama – Clean Room Before Fueling เก็บถาวร 20 ธันวาคม 2012 ที่ .
- กล้องโทรทรรศน์อวกาศเคปเลอร์ ที่เอกซ์ (ทวิตเตอร์).
- Extrasolar planet catalogs and databases
- "The Extrasolar Planets Encyclopaedia" (Paris Observatory)
- "The Habitable Exoplanets Catalog" (PHL/)
- "New Worlds Atlas" 4 มิถุนายน 2008 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน ( PlanetQuest)
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
klxngothrthrrsnxwkasekhpelxr xngkvs Kepler space telescope epnklxngothrthrrsnxwkaskhxng nasa thikhnphbdawekhraahkhlayolkokhcrxyurxb dawvksdwngxun kartngchuxklxngothrthrrsnxwkasnamacaknkdarasastrinstwrrsthi 17 oyhnens ekhpelxr khunsuxwkasinwnthi 7 minakhm kh s 2009 hlngcakkarptibtinganmakwa 9 pi echuxephlingkhxngyanxwkasekhpelxrkhmdlngthaihnasaprakaspldrawangpharkicinwnthi 30 tulakhm 2018klxngothrthrrsnxwkasekhpelxrphaphwadincintnakarkhxngklxngothrthrrsnxwkasekhpelxrpraephthpharkicklxngothrthrrsnxwkasphudaeninkarnasa COSPAR ID2009 011ASATCAT no 34380ewbistwww wbr nasa wbr gov wbr keplerrayapharkicwangaephn 3 5 pi sinsud 9 pi 7 eduxn 23 wnkhxmulyanxwkasphuphlitmwlkhnasngyan1 052 4 kiolkrm 2 320 pxnd mwlaehng1 040 7 kiolkrm 2 294 pxnd mwlbrrthuk478 kiolkrm 1 054 pxnd khnad4 7 ody 2 7 emtr 15 4 ody 8 9 fut kalngiffa1100 wtterimtnpharkicwnthisngkhun7 minakhm 2009 03 49 57 UTCcrwdnasng 7925 10L thansngsthanikxngthphxakasaehlmkhaaenewxrlphudaeninnganerimpdibtingan12 phvsphakhm 2009 09 01 UTCsinsudpharkicpidkarthangan15 phvscikayn kh s 2018 2018 11 15 lksnawngokhcrrabbxangxingwngokhcrrxbdwngxathityrabbwngokhcrtamolkkungaeknexk1 0133 AUkhwameyuxng0 036116rayaiklsud0 97671 AUrayaiklsud1 0499 AUkhwamexiyng0 4474 xngsakhabkarokhcr372 57 wnmumkhxngcudiklthisud294 04 xngsamumkwadechliy311 67 xngsa0 96626 xngsatxwnwnthiichxangxing1 mkrakhm 2018 J2000 2458119 5 klxngothrthrrsnhlkchnidaebbchmithesnphansunyklang0 95 emtr 3 1 fut phunthirbaesng0 708 tarangemtr 7 62 tarangfut khwamyawkhlun430 890 nmxupkrnsngsyyanaebndwidthbn 7 8 bittxwinathi 2 kiolbittxwinathi exksaebnd lang 10 bittxwinathi 16 kiolbittxwinathi lang cnthung 4 3 emkabittxwinathi dxwn klxngothrthrrsnxwkasxnnithuksrangkhunephuxkhnhadawekhraahnxkrabbthikhlayolkthiokhrcrxyuinekhtxasyidaelathakarpramankhawadawvkshlayphnlandawinthangchangephuxkmidawekhraahdngklawkidwng xupkrnthangwithyasastrthitidipkbtwklxngnnkhuxthikhxytrwcsxbkhwamtxenuxngkhxngaesngswangkhxngdawvkspraman 150 000 dwnginaethbladbhlk caknnklxngncasngkhxmulklbipyngsthaniephuxthakartrwngsxbkarbngaesngkhxngdawekhraahinkhnathimnokhcrphandawvks chwngtlxdewla 9 pikhxngpharakicmnthakarsngektdawvkskwa 530 506 dawaelakhnphbdawekhraahxik 2 662 dwnghmayehtuchxngrbaesngkhnad 0 95 m ihphunthirwmaesng Pi 0 95 2 2 0 708 m 2 CCD canwn 42 twaetlatwkhnad 0 050 m 0 025 m ihphunthitwrbruthnghmd 0 0525 m 2 xangxing PDF NASA kumphaphnth 2009 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 10 minakhm 2009 subkhnemux 13 minakhm 2015 Kepler Asteroseismic Science Consortium Aarhus University 14 minakhm 2009 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 5 phvsphakhm 2012 subkhnemux 14 minakhm 2009 Kepler spacecraft NASA JPL 6 mkrakhm 2018 subkhnemux 6 mkrakhm 2018 Kepler Spacecraft and Instrument NASA 26 mithunayn 2013 cakaehlngedimemux 19 mkrakhm 2014 subkhnemux 18 mkrakhm 2014 Koch David Gould Alan minakhm 2009 NASA khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 6 minakhm 2014 subkhnemux 14 minakhm 2009 DeVore Edna 9 mithunayn 2008 Closing in on Extrasolar Earths space com subkhnemux 14 minakhm 2009 NASA Staff Kepler Launch NASA subkhnemux 18 knyayn 2009 Chou Felicia Hawkes Alison Cofield Calia 30 tulakhm 2018 NASA Retires Kepler Space Telescope NASA subkhnemux 30 tulakhm 2018 30 tulakhm 2018 Kepler the Little NASA Spacecraft That Could No Longer Can The New York Times subkhnemux 30 tulakhm 2018 Kepler About the Mission NASA Ames Research Center 2013 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 8 phvsphakhm 2012 subkhnemux 11 emsayn 2016 12 phvsphakhm 2013 Finder of New Worlds The New York Times subkhnemux 13 phvsphakhm 2014 6 mkrakhm 2015 As Ranks of Goldilocks Planets Grow Astronomers Consider What s Next The New York Times subkhnemux 6 mkrakhm 2015 Borucki William J Koch David Basri Gibor aelakhna kumphaphnth 2010 Kepler Planet Detection Mission Introduction and First Results Science 327 5968 977 980 Bibcode 2010Sci 327 977B doi 10 1126 science 1185402 Overbye Dennis Kepler the Little NASA Spacecraft That Could No Longer Can New York Times subkhnemux 31 tulakhm 2018 aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb klxngothrthrrsnxwkasekhpelxr Kepler Mission NASA Kepler Mission KOI Data Search Kepler Mission Public Data Kepler Mission Audio 27 02 AstronomyCast 2010 Kepler Discoveries Summary Table 2017 04 01 thi ewyaebkaemchchin NASA Kepler Discovery of New Planetary Systems 2013 8 phvsphakhm 2020 thi ewyaebkaemchchin Kepler Tally of Planets interactive 2013 Kepler Guest Observer Program 27 singhakhm 2012 thi ewyaebkaemchchin Kepler Asteroseismic Science Consortium KASC 5 phvsphakhm 2012 thi ewyaebkaemchchin Kepler Spherical Panorama Clean Room Before Fueling ekbthawr 20 thnwakhm 2012 thi klxngothrthrrsnxwkasekhpelxr thiexks thwitetxr Extrasolar planet catalogs and databases The Extrasolar Planets Encyclopaedia Paris Observatory The Habitable Exoplanets Catalog PHL New Worlds Atlas 4 mithunayn 2008 thi ewyaebkaemchchin PlanetQuest