ในบริบททางชีววิทยาเกี่ยวกับผลผลิตของยีน การลดองค์ประกอบของเซลล์ (อังกฤษ: downregulation) เป็นกระบวนการที่เซลล์ลดปริมาณองค์ประกอบของเซลล์ เช่น อาร์เอ็นเอหรือโปรตีน เพื่อตอบสนองต่อสิ่งเร้าภายนอก กระบวนการคู่กันที่เพิ่มองค์ประกอบของเซลล์เรียกว่า การเพิ่มองค์ประกอบของเซลล์ (อังกฤษ: upregulation)
ตัวอย่างของการลดองค์ประกอบของเซลล์ก็คือการลดการแสดงออกของหน่วยรับ (receptor) อย่างหนึ่งโดยเฉพาะ เพื่อตอบสนองต่อการทำงานเพิ่มขึ้นของหน่วยรับเนื่องกับโมเลกุลหนึ่ง ๆ เช่น ฮอร์โมนหรือสารสื่อประสาท ซึ่งลดความไวการตอบสนองของเซลล์ต่อโมเลกุลนั้น ๆ นี่เป็นตัวอย่างของกลไกป้อนกลับเชิงลบเฉพาะที่
ตัวอย่างของการเพิ่มองค์ประกอบของเซลล์ก็คือการตอบสนองของเซลล์ตับเมื่อได้รับสารประกอบที่ปกติไม่มีในสิ่งมีชีวิต เช่น dioxin (ชื่อเต็ม polychlorinated dibenzodioxins) ในกรณีนี้ เซลล์ตับจะเพิ่มการผลิตเอนไซม์ cytochrome P450 ซึ่งอาจเพิ่มการสลายโมเลกุลเช่นนี้
การลดหรือการเพิ่มอาร์เอ็นเอหรือโปรตีนอาจเกิดจากการเปลี่ยนแปลงแบบอีพีเจเนติกส์ ซึ่งอาจจะถาวรหรือกึ่งถาวรในลูกหลานของเซลล์ร่างกาย (somatic cell) การเปลี่ยนแปลงทางอีพีเจเนติกส์เช่นนี้อาจทำให้การแสดงออกของอาร์เอ็นเอหรือโปรตีนไม่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าภายนอกอีกต่อไป เช่นที่เกิดในกระบวนการติดยาหรือการเกิดเนื้อมะเร็ง
การลดและการเพิ่มหน่วยรับของเซลล์
เซลล์ที่ยังมีชีวิตทั้งหมดสามารถรับและประมวลสัญญาณ (เคมี) ที่เกิดนอกเซลล์ อาศัยโปรตีนที่เรียกว่าหน่วยรับ (receptor) ซึ่งมักฝังอยู่ที่เยื่อหุ้มเซลล์โดยปรากฏที่ผิว เมื่อสัญญาณเช่นนี้ทำปฏิกิริยากับหน่วยรับ ก็เท่ากับบอกให้เซลล์ทำอะไรอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น แบ่งเซลล์ ตาย หรือให้ผลิตสาร ปล่อยให้สารเข้าในเซลล์ หรือปล่อยให้สารออกมาจากเซลล์ สมรรถภาพของเซลล์ในการตอบสนองต่อสัญญาณเคมีเช่นนี้อาศัยหน่วยรับที่สามารถรับสัญญาณนั้นได้ ยิ่งมีหน่วยรับต่อสัญญาณเคมีหนึ่ง ๆ เท่าไร เซลล์ก็จะตอบสนองต่อสัญญาณนั้นมากขึ้นเท่านั้น
หน่วยรับสามารถสร้าง คือแสดงออก อาศัยคำสั่งในดีเอ็นเอของเซลล์ สามารถเพิ่มผ่านกระบวนการ upregulation เมื่อสัญญาณอ่อน หรือลดลงผ่านกระบวนการ downregulation เมื่อสัญญาแรง ยังมีระบบลดและเพิ่มหน่วยรับของเซลล์โดยขึ้นอยู่กับความจำเป็นของเซลล์ด้วย
การลดหน่วยรับยังอาจเกิดถ้าหน่วยรับได้รับลิแกนด์มากเกินอยู่เรื่อย ๆ ไม่ว่าจะเป็นลิแกนด์ที่เกิดในร่างกายหรือเป็นยาที่มาจากนอกร่างกาย ซึ่งทำให้เซลล์ตอบสนองต่อลิแกนด์นั้นน้อยลง (desensitization) หรือทำให้เซลล์กลืนหน่วยรับนั้นเข้าไปในเซลล์ (internalization) นี่เห็นเป็นปกติในหน่วยรับฮอร์โมนของสัตว์ เทียบกับการเพิ่มหน่วยรับที่มีผลเป็นเซลล์ที่ไวตอบสนองต่อลิแกนด์นั้นมากขึ้น โดยเฉพาะเมื่อได้รับยาที่เป็นปฏิปักษ์ต่อหน่วยรับ (receptor antagonist) หรือการไม่ได้ลิแกนด์นั้นนาน ๆ
สารทำการของหน่วยรับ (receptor agonist) บางอย่างอาจมีผลให้เซลล์ลดจำนวนหน่วยรับนั้น ๆ เทียบกับสารปฏิปักษ์ต่อหน่วยรับที่โดยมากก็จะทำให้เซลล์เพิ่มหน่วยรับนั้น ๆ มากขึ้นอย่างชั่วคราว ความไม่สมดุลจากการเปลี่ยนแปลงเช่นนี้อาจก่ออาการขาดยาเมื่อหยุดยาที่ได้ใช้มาเป็นเวลานาน แต่สารปฏิปักษ์ต่อหน่วยรับบางอย่างก็ทำให้หน่วยรับเสียหายเร็วกว่าที่เซลล์จะสามารถเพิ่มหน่วยรับที่ใช้การได้
การเพิ่มและการลดหน่วยรับยังสามารถเกิดตอบสนองต่อพิษหรือฮอร์โมน ตัวอย่างการเพิ่มหน่วยรับเห็นได้ในช่วงตั้งครรภ์ที่ฮอร์โมนทำให้เซลล์ในมดลูกไวต่อออกซิโตซินมากขึ้น
ตัวอย่างการลดหน่วยรับ
ระดับฮอร์โมนอินซูลินที่เพิ่มขึ้นในเลือดจะจุดชนวนให้ร่างกายลดจำนวนหน่วยรับที่สัมพันธ์กัน คือเมื่ออินซูลินจับกับหน่วยรับที่ผิวของเซลล์ คอมเพล็กซ์หน่วยรับก็จะผ่านกระบวนการ endocytosis แล้วดูดเข้าไปในเซลล์ แล้วเอนไซม์ของไลโซโซมในเซลล์ก็จะย่อยสลายมันต่อไป การนำอินซูลินเข้าไปในเซลล์เช่นนี้นอกจากจะเป็นวิถีการย่อยสลายฮอร์โมน ยังเป็นการควบคุมจำนวนหน่วยรับอินซูลินที่ผิวของเซลล์ คือเมื่อฮอร์โมนในเลือดเข้มข้น หน่วยรับอินซูลินที่ผิวของเซลล์จะค่อย ๆ ลดลงเพราะการกลืนหน่วยรับเข้าไปแล้วย่อยสลายเร็วขึ้นเพราะการจับกับฮอร์โมนเพิ่มขึ้น อัตราการสังเคราะหน่วยรับใหม่ภายในร่างแหเอนโดพลาซึมแล้วแทรกเข้าไปที่เยื่อหุ้มเซลล์จะไม่ทันอัตราการย่อยสลายหน่วยรับ ในระยะยาว การเสียหน่วยรับอินซูลินที่เซลล์ทำเองเท่ากับลดความไวของเซลล์ต่อความเข้มข้นฮอร์โมนที่สูงขึ้น
กระบวนการนี้สามารถเห็นได้ที่หน่วยรับอินซูลินเช่นที่พบในเซลล์ตับของคนไข้โรคเบาหวานประเภทที่ 2 เพราะระดับกลูโคสของคนน้ำหนักเกินจะสูงขึ้นเซลล์ไอส์เลตออฟลังเกอร์ฮันส์ (หรือ β-cell) ในตับอ่อนจะต้องหลั่งอินซูลินมากกว่าปกติเพื่อให้เลือดกลับคืนสู่ภาวะธำรงดุล ระดับอินซูลินที่สูงขึ้นเสมอ ๆ ซึ่งตอบสนองต่อระดับกลูโคสที่สูงขึ้นในเลือด จะทำให้หน่วยรับบนเซลล์ตับลดลงทำให้บุคคลนั้นดื้ออินซูลินเพราะเซลล์ไวต่ออินซูลินน้อยลง ซึ่งเห็นได้ในการสร้างกลูโคสใหม่ (gluconeogenesis) ที่ยังดำเนินต่อไปของตับแม้ระดับกลูโคสจะสูงอยู่แล้ว นี่เป็นกระบวนการให้ดื้ออินซูลิน ซึ่งต่อไปจะกลายเป็นโรคเบาหวานที่เกิดในวัยผู้ใหญ่
ตัวอย่างอีกอย่างก็คือ โรคเบาจืด (diabetes insipidus) ซึ่งมีอาการเป็นการถ่ายปัสสาวะจาง ๆ ปริมาณมากและหิวน้ำเพิ่ม เพราะไตไม่ไวต่อฮอร์โมน arginine vasopressin ซึ่งเป็นสารควบคุมให้เก็บน้ำในร่างกายอีกต่อไป
การติดยาเสพติด
งานศึกษาครอบครัว การรับบุตรบุญธรรม และแฝดได้ระบุว่า มีองค์ประกอบที่สามารถสืบทอดทางพันธุกรรมได้ถึง 50% ในการติดยาเสพติด
ในบุคคลที่อ่อนแอทางพันธุกรรม การได้รับยาเสพติดซ้ำ ๆ ในวัยรุ่นหรือวัยผู้ใหญ่เป็นเหตุให้ติดยาเพราะลดและเพิ่มการแสดงออกของยีนและไมโครอาร์เอ็นเอโดยเฉพาะ ๆ ที่คงยืนผ่านกระบวนการเปลี่ยนแปลงแบบอีพีเจเนติกส์ ซึ่งพบว่าเกิดที่เขตระบบรางวัลของสมอง เช่นที่ nucleus accumbens
โรคมะเร็ง
ความเสียหายต่อดีเอ็นเอดูเหมือนจะเป็นเหตุหลักของโรคมะเร็ง ถ้ากระบวนการซ่อมดีเอ็นเอแบบแม่นยำ (accurate DNA repair) ไม่เพียงพอ ความเสียหายต่อดีเอ็นเอมักจะสะสมเพิ่มพูนขึ้น ความเสียหายที่ไม่ได้ซ่อมสามารถเพิ่มความผิดพลาดเหตุการกลายพันธุ์ในช่วงการถ่ายแบบ (DNA replication) เพราะกระบวนการ translesion synthesis ที่มักคลาดเคลื่อน ความเสียหายต่อดีเอ็นเอยังสามารถเพิ่มความเปลี่ยนแปลงทางอีพีเจเนติกส์ เนื่องกับความคลาดเคลื่อนช่วงการซ่อมดีเอ็นเอ การกลายพันธุ์และการเปลี่ยนแปลงทางอีพีเจเนติกส์สามารถก่อมะเร็ง ดังนั้น การลดและการเพิ่มองค์ประกอบของเซลล์เนื่องกับยีนที่ได้ซ่อม คือที่เปลี่ยนการแสดงออกของยีน น่าจะเป็นเหตุหลักของมะเร็งที่แย่ลง ๆ
งานศึกษาหนึ่งได้สรุปว่า การลดการแสดงออกทางอีพีเจเนติกส์ของยีนซ่อมดีเอ็นเอ คือ MGMT เกิดในมะเร็งกระเพาะปัสสาวะ 93%, ในมะเร็งกระเพาะอาหาร 88%, ในมะเร็งไทรอยด์ 74%, ในมะเร็งลำไส้ใหญ่ 40-90% และในมะเร็งสมอง 50%[] โดยนัยเดียวกัน การลดการแสดงออกทางอีพีเจเนติกส์ของยีน LIG4 เกิดในมะเร็งลำไส้ใหญ่ 82% และการลดการแสดงออกของยีน NEIL1 เกิดในมะเร็งศีรษะและคอ 62% และในมะเร็งปอดประเภท (NSCLC) 42%
การเพิ่มการแสดงออกทางอีพีเจเนติกส์ของยีนซ่อมดีเอ็นเอ PARP1 และ FEN1 เกิดในโรคมะเร็งหลายอย่าง PARP1 และ FEN1 เป็นยีนจำเป็นในการซ่อมดีเอ็นเอโดยวิธี microhomology-mediated end joining ซึ่งมักคลาดเคลื่อนและทำให้กลายพันธุ์ ถ้าวิถีนี้ทำงานเพิ่มขึ้น การกลายพันธุ์ที่เกินไปอาจก่อมะเร็ง PARP1 จะแสดงออกมากเกินในมะเร็งเม็ดเลือดขาวเหตุไทโรซีน (tyrosine kinase-activated leukemias), ในนิวโรบลาสโตมา, ในเนื้องอกอัณฑะและที่เกี่ยวกับเซลล์สืบพันธุ์อื่น ๆ และใน Ewing's sarcoma ส่วน FEN1 จะแสดงออกเกินในมะเร็งเต้านม มะเร็งต่อมลูกหมาก มะเร็งกระเพาะอาหาร นิวโรบลาสโตมา มะเร็งตับอ่อน และมะเร็งปอดโดยมาก
ดูเพิ่ม
เชิงอรรถ
- receptor antagonist สารต้านหน่วยรับ หรือสารปฏิปักษ์ต่อหน่วยรับ (receptor antagonist) เป็นลิแกนด์ของหน่วยรับ หรือเป็นยาที่ระงับหรือชะลอการตอบสนองทางชีวภาพของเซลล์โดยเข้ายึดกับหน่วยรับโดยไม่มีผลให้เกิดการตอบสนองเหมือนกับที่สารทำการของหน่วยรับ (agonist) ย่อมทำให้เกิด
- translesion synthesis (TLS) เป็นกระบวนการที่ทนความเสียหายต่อดีเอ็นเอ ที่ช่วยให้สามารถถ่ายแบบข้ามส่วนดีเอ็นเอที่เสียหาย
อ้างอิง
- "Explain To Me: Receptor Upregulation/Downregulation". สืบค้นเมื่อ 2017-01-07.
- . GlaxoWellcome. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-07-26. สืบค้นเมื่อ 2007-12-06.
- "On the Mechanism of Ligand-induced Down-Regulation of Insulin Receptor Level in the Liver Cel". The Journal of Biological Chemistry. 256.
- Zaliauskiene, Lolita; Kang, Sunghyun; Brouillette, Christie G.; Lebowitz, Jacob; Arani, Ramin B.; Collawn, James F. (2016). "Down-Regulation of Cell Surface Receptors Is Modulated by Polar Residues within the Transmembrane Domain". Molecular Biology of the Cell. 11 (8): 2643–2655. doi:10.1091/mbc.11.8.2643. ISSN 1059-1524. PMC 14946. PMID 10930460.
- Carpentier, J.-L. (1994). "Insulin receptor internalization: molecular mechanisms and physiopathological implications". Diabetologia (ภาษาอังกฤษ). 37 (2): S117–S124. doi:10.1007/BF00400835. ISSN 0012-186X. PMID 7821727.
- Sherwood, Lauralee; Klandorf, Hillar; Yancey, Paul (2012-01-01). Animal Physiology: From Genes to Organisms (ภาษาอังกฤษ). Cengage Learning. ISBN .
- Fröjdö, Sara; Vidal, Hubert; Pirola, Luciano (2009-02-01). "Alterations of insulin signaling in type 2 diabetes: A review of the current evidence from humans". Biochimica et Biophysica Acta (BBA) - Molecular Basis of Disease. 1792 (2): 83–92. doi:10.1016/j.bbadis.2008.10.019. PMID 19041393.
- Wilcox, Gisela (2016-11-20). "Insulin and Insulin Resistance". Clinical Biochemist Reviews. 26 (2): 19–39. ISSN 0159-8090. PMC 1204764. PMID 16278749.
- . journal.diabetes.org. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-10-07. สืบค้นเมื่อ 2016-11-20.
- Walker, DM; Nestler, EJ (2018). Neuroepigenetics and addiction. Handb Clin Neurol. Handbook of Clinical Neurology. Vol. 148. pp. 747–765. doi:10.1016/B978-0-444-64076-5.00048-X. ISBN . PMC 5868351. PMID 29478612.
- Nestler, EJ (January 2014). "Epigenetic mechanisms of drug addiction". Neuropharmacology. 76 Pt B: 259–68. doi:10.1016/j.neuropharm.2013.04.004. PMC 3766384. PMID 23643695.
- Kastan, MB (2008). "DNA damage responses: mechanisms and roles in human disease: 2007 G.H.A. Clowes Memorial Award Lecture". Mol. Cancer Res. 6 (4): 517–24. doi:10.1158/1541-7786.MCR-08-0020. PMID 18403632.
- Bernstein, C; Prasad, AR; Nfonsam, V; Bernstein, H. (2013). "Chapter 16: DNA Damage, DNA Repair and Cancer". ใน Chen, Clark (บ.ก.). New Research Directions in DNA Repair. p. 413. ISBN .
- "Eukaryotic Translesion Polymerases and Their Roles and Regulation in DNA Damage Tolerance". March 2009. PMID 19258535.
{{}}
: Cite journal ต้องการ|journal=
((help)) - O'Hagan, HM; Mohammad, HP; Baylin, SB (2008). Lee, Jeannie T (บ.ก.). "Double strand breaks can initiate gene silencing and SIRT1-dependent onset of DNA methylation in an exogenous promoter CpG island". PLoS Genet. 4 (8): e1000155. doi:10.1371/journal.pgen.1000155. PMC 2491723. PMID 18704159.
- Cuozzo, C; Porcellini, A; Angrisano, T; Morano, A; Lee, B; Di Pardo, A; Messina, S; Iuliano, R; Fusco, A; Santillo, MR; Muller, MT; Chiariotti, L; Gottesman, ME; Avvedimento, EV (July 2007). "DNA damage, homology-directed repair, and DNA methylation". PLoS Genet. 3 (7): e110. doi:10.1371/journal.pgen.0030110. PMC 1913100. PMID 17616978.
- O'Hagan, HM; Mohammad, HP; Baylin, SB (2008). "Double strand breaks can initiate gene silencing and SIRT1-dependent onset of DNA methylation in an exogenous promoter CpG island". PLoS Genetics. 4 (8): e1000155. doi:10.1371/journal.pgen.1000155. PMC 2491723. PMID 18704159.
- Cuozzo, C; Porcellini, A; Angrisano, T; และคณะ (July 2007). "DNA damage, homology-directed repair, and DNA methylation". PLoS Genetics. 3 (7): e110. doi:10.1371/journal.pgen.0030110. PMC 1913100. PMID 17616978.
อ้างอิงอื่น ๆ
- Sherwood, L. (2004). Human Physiology From Cells to Systems, 5th Ed (p. 680). Belmont, CA: Brooks/Cole-Thomson Learning
- Wilmore, J., Costill, D. (2004). Physiology of Sport and Exercise, 3rd Ed (p. 164). Champaign, IL: Human Kinetics
แหล่งข้อมูลอื่น
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
inbribththangchiwwithyaekiywkbphlphlitkhxngyin karldxngkhprakxbkhxngesll xngkvs downregulation epnkrabwnkarthiesllldprimanxngkhprakxbkhxngesll echn xarexnexhruxoprtin ephuxtxbsnxngtxsingeraphaynxk krabwnkarkhuknthiephimxngkhprakxbkhxngeslleriykwa karephimxngkhprakxbkhxngesll xngkvs upregulation twxyangkhxngkarldxngkhprakxbkhxngesllkkhuxkarldkaraesdngxxkkhxnghnwyrb receptor xyanghnungodyechphaa ephuxtxbsnxngtxkarthanganephimkhunkhxnghnwyrbenuxngkbomelkulhnung echn hxromnhruxsarsuxprasath sungldkhwamiwkartxbsnxngkhxngeslltxomelkulnn niepntwxyangkhxngklikpxnklbechinglbechphaathi twxyangkhxngkarephimxngkhprakxbkhxngesllkkhuxkartxbsnxngkhxngeslltbemuxidrbsarprakxbthipktiimmiinsingmichiwit echn dioxin chuxetm polychlorinated dibenzodioxins inkrnini eslltbcaephimkarphlitexnism cytochrome P450 sungxacephimkarslayomelkulechnni karldhruxkarephimxarexnexhruxoprtinxacekidcakkarepliynaeplngaebbxiphiecentiks sungxaccathawrhruxkungthawrinlukhlankhxngesllrangkay somatic cell karepliynaeplngthangxiphiecentiksechnnixacthaihkaraesdngxxkkhxngxarexnexhruxoprtinimtxbsnxngtxsingeraphaynxkxiktxip echnthiekidinkrabwnkartidyahruxkarekidenuxmaerngkarldaelakarephimhnwyrbkhxngesllesllthiyngmichiwitthnghmdsamarthrbaelapramwlsyyan ekhmi thiekidnxkesll xasyoprtinthieriykwahnwyrb receptor sungmkfngxyuthieyuxhumesllodypraktthiphiw emuxsyyanechnnithaptikiriyakbhnwyrb kethakbbxkihesllthaxairxyangidxyanghnung echn aebngesll tay hruxihphlitsar plxyihsarekhainesll hruxplxyihsarxxkmacakesll smrrthphaphkhxngesllinkartxbsnxngtxsyyanekhmiechnnixasyhnwyrbthisamarthrbsyyannnid yingmihnwyrbtxsyyanekhmihnung ethair esllkcatxbsnxngtxsyyannnmakkhunethann hnwyrbsamarthsrang khuxaesdngxxk xasykhasngindiexnexkhxngesll samarthephimphankrabwnkar upregulation emuxsyyanxxn hruxldlngphankrabwnkar downregulation emuxsyyaaerng yngmirabbldaelaephimhnwyrbkhxngesllodykhunxyukbkhwamcaepnkhxngeslldwy karldhnwyrbyngxacekidthahnwyrbidrbliaekndmakekinxyueruxy imwacaepnliaekndthiekidinrangkayhruxepnyathimacaknxkrangkay sungthaiheslltxbsnxngtxliaekndnnnxylng desensitization hruxthaihesllklunhnwyrbnnekhaipinesll internalization niehnepnpktiinhnwyrbhxromnkhxngstw ethiybkbkarephimhnwyrbthimiphlepnesllthiiwtxbsnxngtxliaekndnnmakkhun odyechphaaemuxidrbyathiepnptipkstxhnwyrb receptor antagonist hruxkarimidliaekndnnnan sarthakarkhxnghnwyrb receptor agonist bangxyangxacmiphlihesllldcanwnhnwyrbnn ethiybkbsarptipkstxhnwyrbthiodymakkcathaihesllephimhnwyrbnn makkhunxyangchwkhraw khwamimsmdulcakkarepliynaeplngechnnixackxxakarkhadyaemuxhyudyathiidichmaepnewlanan aetsarptipkstxhnwyrbbangxyangkthaihhnwyrbesiyhayerwkwathiesllcasamarthephimhnwyrbthiichkarid karephimaelakarldhnwyrbyngsamarthekidtxbsnxngtxphishruxhxromn twxyangkarephimhnwyrbehnidinchwngtngkhrrphthihxromnthaihesllinmdlukiwtxxxksiotsinmakkhuntwxyangkarldhnwyrbradbhxromnxinsulinthiephimkhunineluxdcacudchnwnihrangkayldcanwnhnwyrbthismphnthkn khuxemuxxinsulincbkbhnwyrbthiphiwkhxngesll khxmephlkshnwyrbkcaphankrabwnkar endocytosis aelwdudekhaipinesll aelwexnismkhxngilososminesllkcayxyslaymntxip karnaxinsulinekhaipinesllechnninxkcakcaepnwithikaryxyslayhxromn yngepnkarkhwbkhumcanwnhnwyrbxinsulinthiphiwkhxngesll khuxemuxhxromnineluxdekhmkhn hnwyrbxinsulinthiphiwkhxngesllcakhxy ldlngephraakarklunhnwyrbekhaipaelwyxyslayerwkhunephraakarcbkbhxromnephimkhun xtrakarsngekhraahnwyrbihmphayinrangaehexnodphlasumaelwaethrkekhaipthieyuxhumesllcaimthnxtrakaryxyslayhnwyrb inrayayaw karesiyhnwyrbxinsulinthiesllthaexngethakbldkhwamiwkhxngeslltxkhwamekhmkhnhxromnthisungkhun krabwnkarnisamarthehnidthihnwyrbxinsulinechnthiphbineslltbkhxngkhnikhorkhebahwanpraephththi 2 ephraaradbkluokhskhxngkhnnahnkekincasungkhunesllixseltxxflngekxrhns hrux b cell intbxxncatxnghlngxinsulinmakkwapktiephuxiheluxdklbkhunsuphawatharngdul radbxinsulinthisungkhunesmx sungtxbsnxngtxradbkluokhsthisungkhunineluxd cathaihhnwyrbbneslltbldlngthaihbukhkhlnnduxxinsulinephraaeslliwtxxinsulinnxylng sungehnidinkarsrangkluokhsihm gluconeogenesis thiyngdaenintxipkhxngtbaemradbkluokhscasungxyuaelw niepnkrabwnkarihduxxinsulin sungtxipcaklayepnorkhebahwanthiekidinwyphuihy twxyangxikxyangkkhux orkhebacud diabetes insipidus sungmixakarepnkarthaypssawacang primanmakaelahiwnaephim ephraaitimiwtxhxromn arginine vasopressin sungepnsarkhwbkhumihekbnainrangkayxiktxipkartidyaesphtidngansuksakhrxbkhrw karrbbutrbuythrrm aelaaefdidrabuwa mixngkhprakxbthisamarthsubthxdthangphnthukrrmidthung 50 inkartidyaesphtid inbukhkhlthixxnaexthangphnthukrrm karidrbyaesphtidsa inwyrunhruxwyphuihyepnehtuihtidyaephraaldaelaephimkaraesdngxxkkhxngyinaelaimokhrxarexnexodyechphaa thikhngyunphankrabwnkarepliynaeplngaebbxiphiecentiks sungphbwaekidthiekhtrabbrangwlkhxngsmxng echnthi nucleus accumbensorkhmaerngkhwamesiyhaytxdiexnexduehmuxncaepnehtuhlkkhxngorkhmaerng thakrabwnkarsxmdiexnexaebbaemnya accurate DNA repair imephiyngphx khwamesiyhaytxdiexnexmkcasasmephimphunkhun khwamesiyhaythiimidsxmsamarthephimkhwamphidphladehtukarklayphnthuinchwngkarthayaebb DNA replication ephraakrabwnkar translesion synthesis thimkkhladekhluxn khwamesiyhaytxdiexnexyngsamarthephimkhwamepliynaeplngthangxiphiecentiks enuxngkbkhwamkhladekhluxnchwngkarsxmdiexnex karklayphnthuaelakarepliynaeplngthangxiphiecentikssamarthkxmaerng dngnn karldaelakarephimxngkhprakxbkhxngesllenuxngkbyinthiidsxm khuxthiepliynkaraesdngxxkkhxngyin nacaepnehtuhlkkhxngmaerngthiaeylng ngansuksahnungidsrupwa karldkaraesdngxxkthangxiphiecentikskhxngyinsxmdiexnex khux MGMT ekidinmaerngkraephaapssawa 93 inmaerngkraephaaxahar 88 inmaerngithrxyd 74 inmaernglaisihy 40 90 aelainmaerngsmxng 50 txngkarxangxing odynyediywkn karldkaraesdngxxkthangxiphiecentikskhxngyin LIG4 ekidinmaernglaisihy 82 aelakarldkaraesdngxxkkhxngyin NEIL1 ekidinmaerngsirsaaelakhx 62 aelainmaerngpxdpraephth NSCLC 42 karephimkaraesdngxxkthangxiphiecentikskhxngyinsxmdiexnex PARP1 aela FEN1 ekidinorkhmaernghlayxyang PARP1 aela FEN1 epnyincaepninkarsxmdiexnexodywithi microhomology mediated end joining sungmkkhladekhluxnaelathaihklayphnthu thawithinithanganephimkhun karklayphnthuthiekinipxackxmaerng PARP1 caaesdngxxkmakekininmaerngemdeluxdkhawehtuithorsin tyrosine kinase activated leukemias inniworblasotma inenuxngxkxnthaaelathiekiywkbesllsubphnthuxun aelain Ewing s sarcoma swn FEN1 caaesdngxxkekininmaerngetanm maerngtxmlukhmak maerngkraephaaxahar niworblasotma maerngtbxxn aelamaerngpxdodymakduephimkarkhwbkhumkaraesdngxxkkhxngyin kartid okhekhnechingxrrthreceptor antagonist sartanhnwyrb hruxsarptipkstxhnwyrb receptor antagonist epnliaekndkhxnghnwyrb hruxepnyathirangbhruxchalxkartxbsnxngthangchiwphaphkhxngesllodyekhayudkbhnwyrbodyimmiphlihekidkartxbsnxngehmuxnkbthisarthakarkhxnghnwyrb agonist yxmthaihekid translesion synthesis TLS epnkrabwnkarthithnkhwamesiyhaytxdiexnex thichwyihsamarththayaebbkhamswndiexnexthiesiyhayxangxing Explain To Me Receptor Upregulation Downregulation subkhnemux 2017 01 07 GlaxoWellcome khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2019 07 26 subkhnemux 2007 12 06 On the Mechanism of Ligand induced Down Regulation of Insulin Receptor Level in the Liver Cel The Journal of Biological Chemistry 256 Zaliauskiene Lolita Kang Sunghyun Brouillette Christie G Lebowitz Jacob Arani Ramin B Collawn James F 2016 Down Regulation of Cell Surface Receptors Is Modulated by Polar Residues within the Transmembrane Domain Molecular Biology of the Cell 11 8 2643 2655 doi 10 1091 mbc 11 8 2643 ISSN 1059 1524 PMC 14946 PMID 10930460 Carpentier J L 1994 Insulin receptor internalization molecular mechanisms and physiopathological implications Diabetologia phasaxngkvs 37 2 S117 S124 doi 10 1007 BF00400835 ISSN 0012 186X PMID 7821727 Sherwood Lauralee Klandorf Hillar Yancey Paul 2012 01 01 Animal Physiology From Genes to Organisms phasaxngkvs Cengage Learning ISBN 978 1133709510 Frojdo Sara Vidal Hubert Pirola Luciano 2009 02 01 Alterations of insulin signaling in type 2 diabetes A review of the current evidence from humans Biochimica et Biophysica Acta BBA Molecular Basis of Disease 1792 2 83 92 doi 10 1016 j bbadis 2008 10 019 PMID 19041393 Wilcox Gisela 2016 11 20 Insulin and Insulin Resistance Clinical Biochemist Reviews 26 2 19 39 ISSN 0159 8090 PMC 1204764 PMID 16278749 journal diabetes org khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2020 10 07 subkhnemux 2016 11 20 Walker DM Nestler EJ 2018 Neuroepigenetics and addiction Handb Clin Neurol Handbook of Clinical Neurology Vol 148 pp 747 765 doi 10 1016 B978 0 444 64076 5 00048 X ISBN 9780444640765 PMC 5868351 PMID 29478612 Nestler EJ January 2014 Epigenetic mechanisms of drug addiction Neuropharmacology 76 Pt B 259 68 doi 10 1016 j neuropharm 2013 04 004 PMC 3766384 PMID 23643695 Kastan MB 2008 DNA damage responses mechanisms and roles in human disease 2007 G H A Clowes Memorial Award Lecture Mol Cancer Res 6 4 517 24 doi 10 1158 1541 7786 MCR 08 0020 PMID 18403632 Bernstein C Prasad AR Nfonsam V Bernstein H 2013 Chapter 16 DNA Damage DNA Repair and Cancer in Chen Clark b k New Research Directions in DNA Repair p 413 ISBN 978 953 51 1114 6 Eukaryotic Translesion Polymerases and Their Roles and Regulation in DNA Damage Tolerance March 2009 PMID 19258535 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a Cite journal txngkar journal help O Hagan HM Mohammad HP Baylin SB 2008 Lee Jeannie T b k Double strand breaks can initiate gene silencing and SIRT1 dependent onset of DNA methylation in an exogenous promoter CpG island PLoS Genet 4 8 e1000155 doi 10 1371 journal pgen 1000155 PMC 2491723 PMID 18704159 Cuozzo C Porcellini A Angrisano T Morano A Lee B Di Pardo A Messina S Iuliano R Fusco A Santillo MR Muller MT Chiariotti L Gottesman ME Avvedimento EV July 2007 DNA damage homology directed repair and DNA methylation PLoS Genet 3 7 e110 doi 10 1371 journal pgen 0030110 PMC 1913100 PMID 17616978 O Hagan HM Mohammad HP Baylin SB 2008 Double strand breaks can initiate gene silencing and SIRT1 dependent onset of DNA methylation in an exogenous promoter CpG island PLoS Genetics 4 8 e1000155 doi 10 1371 journal pgen 1000155 PMC 2491723 PMID 18704159 Cuozzo C Porcellini A Angrisano T aelakhna July 2007 DNA damage homology directed repair and DNA methylation PLoS Genetics 3 7 e110 doi 10 1371 journal pgen 0030110 PMC 1913100 PMID 17616978 xangxingxun Sherwood L 2004 Human Physiology From Cells to Systems 5th Ed p 680 Belmont CA Brooks Cole Thomson Learning Wilmore J Costill D 2004 Physiology of Sport and Exercise 3rd Ed p 164 Champaign IL Human Kineticsaehlngkhxmulxun