แมลงดา | |
---|---|
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ | |
อาณาจักร: | Animalia |
ไฟลัม: | Arthropoda |
ชั้น: | Insecta |
อันดับ: | Hemiptera |
ไม่ได้จัดลำดับ: | |
วงศ์: | |
สกุล: | |
สปีชีส์: | L. indicus |
ชื่อทวินาม | |
Lethocerus indicus ( & , 1825) | |
ชื่อพ้อง | |
|
แมลงดา,แมลงดานา หรือที่นิยมเรียกว่า แมงดานา จัดเป็นแมลงจำพวกชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Lethocerus indicus จัดอยู่ในวงศ์ พบกระจายพันธุ์อยู่ทั่วไปในภูมิประเทศลักษณะเป็นท้องทุ่งหรือท้องนาในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ รวมถึงเอเชียตะวันออก เช่น ตอนใต้ของจีน, เกาหลี, หมู่เกาะริวกิว และนิวแคลิโดเนีย
แมลงดามีลักษณะเด่น คือ ตานูนแข็งขนาดใหญ่ 1 คู่ มีลำตัวแบนเป็นรูปไข่ มีขาคู่แรกเป็นอวัยวะจับอาหาร ส่วนขาคู่ที่ 2 และ 3 เป็นขาว่ายน้ำ ขอบปีกมีลายสีเหลืองทองยาวไม่ถึงหาง โดยเฉพาะขาคู่หลังสุดจะมีลักษณะคล้ายใบพาย ทั้งนี้เนื่องจากแมลงดาเป็นแมลงสะเทินน้ำสะเทินบก อวัยวะส่วนนี้จึงมีความจำเป็นมากในการดำรงชีพ เพราะเป็นแมลงที่หากินในน้ำเป็นหลัก โดยใช้ขาคู่หน้าที่เป็นเสมือนคีมจับอาหารจำพวกสัตว์น้ำขนาดเล็กกว่าดูดกิน เช่น ลูกปลา, ลูกกุ้ง, ลูกอ๊อด หรือแม้แต่แมลงน้ำชนิดอื่นหรือกบที่มีขนาดเล็กกว่า โดยที่มีส่วนปากแบบเจาะดูด ลักษณะเป็นท่อยาวออกมาจากด้านหน้าของส่วนหัว และเก็บซ่อนไว้ด้านล่างของหัว ปลายปากมีลักษณะคล้ายหนามแหลมเรียวใช้แทงเข้าไปในร่างกายเหยื่อแล้วดูดกินน้ำเหลว ๆ ในตัวเหยื่อ
ลักษณะ
ลักษณะสำคัญของแมลงดาจะอยู่ที่หางยาวแหลมคล้ายเดือย ลักษณะเป็นเส้นเรียวยาว 2 เส้นคู่กัน ประกอบด้วยขนที่ละเอียดและไม่เปียกน้ำ ทำหน้าที่ในการหายใจโดยใช้รยางค์ที่โผล่ขึ้นมาจากผิวน้ำเพื่อดูดออกซิเจนสำหรับหายใจ แล้วนำไปเก็บในลำตัวทางปลายท่อ อวัยวะส่วนนี้จะมีต่อมกลิ่นหอมฉุนซึ่งจะมีเฉพาะในตัวผู้เท่านั้น ต่อมกลิ่นที่มีกลิ่นหอมนี้เป็นเอกลักษณ์ที่สำคัญของแมลงดาที่ดึงดูดให้ผู้คนบริโภค ตามธรรมชาติแล้ว ตัวผู้จะเป็นฝ่ายปล่อยกลิ่นนี้เพื่อดึงดูดตัวเมียและป้องกันตัว ขนาดลำตัวทั้งตัวผู้และตัวเมียจะมีขนาดใกล้เคียงกันคือ ลักษณะลำตัวยาวรีเหมือนใบไม้ ออกสีน้ำตาล ยาวประมาณ 2–4 นิ้ว แต่มีความแตกต่างกันคือ ตัวผู้มีลำตัวกลมป้อม และเล็กกว่าตัวเมียนิดหน่อย ส่วนตัวเมียมีลำตัวออกแบน ๆ ส่วนท้องใหญ่
พฤติกรรม
แมลงดามีพฤติกรรมออกหาอาหารในเวลากลางวัน ส่วนในเวลากลางคืนเมื่ออากาศเย็นลง ในน้ำมีออกซิเจนอยู่น้อย ซึ่งไม่เพียงพอต่อความต้องการ แมลงดาจะบินออกจากแหล่งน้ำ บินวนเวียนอยู่ใกล้ ๆ ที่อาศัยอยู่ มีพฤติกรรมเล่นกับแสงสว่างเหมือนแมลงทั่วไป จึงสามารถจับได้ด้วยวิธีนี้ โดยคืนหนึ่ง แมลงดาอาจจะบินไปเล่นไฟได้ไกลถึงหลายกิโลเมตร และในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เมื่อถึงฤดูหนาว แมลงดาจะหลบซ่อนตัวเองใต้กองใบไม้ในป่าเพื่อความอบอุ่น
การแพร่พันธุ์
แมลงดาแพร่กระจายพันธุ์ด้วยการวางไข่ โดยที่ตัวผู้เป็นฝ่ายดูแลไข่ โดยวางไข่เป็นกลุ่ม กลุ่มละ 100–200 ฟอง ตามพืชน้ำหรือพืชที่ขึ้นตามริมน้ำ ไข่ใช้เวลา 6–7 วันจึงจะฟักเป็นตัว ฤดูการผสมพันธุ์และวางไข่อยู่ในฤดูฝน เมื่อไข่ฟักเป็นตัว ลูกแมลงดาจะหล่นลงน้ำ ตัวจะยังมีสีเหลืองอ่อน เห็นลูกตาสีดำชัดเจน แล้วจึงจะค่อย ๆ เปลี่ยนตัวเองเป็นสีเข้มขึ้น โดยแมลงดาตัวผู้จะยังดูแลลูกแมลงดาต่อไปอีกราว 2–3 วัน เนื่องจากยังไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองให้รอดจากศัตรูตามธรรมชาติได้ แมลงดาจะใช้การลอกคราบประมาณ 4 ครั้ง ก่อนจะโตเป็นตัวเต็มวัยภายในเวลาประมาณ 1 เดือน
การนำมาประกอบอาหาร
แมลงดาเป็นแมลงที่นิยมบริโภคกันในหลายวัฒนธรรมของชนชาติในแถบเอเชียอาคเนย์ ในอาหารไทยสามารถนำไปย่างและปรุงเป็นน้ำพริกได้ (โดยเฉพาะตัวผู้ที่มีกลิ่นหอม) เรียก "น้ำพริกแมลงดา" หรือ "น้ำพริกแมงดา" ปัจจุบันเป็นแมลงที่มีการส่งเสริมให้เลี้ยงกันเป็น
อ้างอิง
- ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556, หน้า 429.
- P. J. Perez-Goodwyn (2006). Taxonomic revision of the subfamily Lethocerinae Lauck & Menke (Heteroptera: Belostomatidae)". Stuttgarter Beiträge zur Naturkunde. A (Biologie) 695: 1–71.
- เพื่อนเกษตร, ทางช่อง 7: ศุกร์ที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2555
- แมงดาจอมพิฆาต, ความลับแห่งพงไพร ทางนาว 26: พฤหัสบดีที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2560
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-01-25. สืบค้นเมื่อ 2012-06-21.
แหล่งข้อมูลอื่น
ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ Lethocerus indicus ที่วิกิสปีชีส์
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
aemlngdakarcaaenkchnthangwithyasastrxanackr Animaliaiflm Arthropodachn Insectaxndb Hemipteraimidcdladb wngs skul spichis L indicuschuxthwinamLethocerus indicus amp 1825 chuxphxngBelostoma indicum aemlngda aemlngdana hruxthiniymeriykwa aemngdana cdepnaemlngcaphwkchnidhnung michuxwithyasastrwa Lethocerus indicus cdxyuinwngs phbkracayphnthuxyuthwipinphumipraethslksnaepnthxngthunghruxthxngnainphumiphakhexechiyxakheny rwmthungexechiytawnxxk echn txnitkhxngcin ekahli hmuekaariwkiw aelaniwaekhliodeniy aemlngdamilksnaedn khux tanunaekhngkhnadihy 1 khu milatwaebnepnrupikh mikhakhuaerkepnxwywacbxahar swnkhakhuthi 2 aela 3 epnkhawayna khxbpikmilaysiehluxngthxngyawimthunghang odyechphaakhakhuhlngsudcamilksnakhlayibphay thngnienuxngcakaemlngdaepnaemlngsaethinnasaethinbk xwywaswnnicungmikhwamcaepnmakinkardarngchiph ephraaepnaemlngthihakininnaepnhlk odyichkhakhuhnathiepnesmuxnkhimcbxaharcaphwkstwnakhnadelkkwadudkin echn lukpla lukkung lukxxd hruxaemaetaemlngnachnidxunhruxkbthimikhnadelkkwa odythimiswnpakaebbecaadud lksnaepnthxyawxxkmacakdanhnakhxngswnhw aelaekbsxniwdanlangkhxnghw playpakmilksnakhlayhnamaehlmeriywichaethngekhaipinrangkayehyuxaelwdudkinnaehlw intwehyuxlksnalksnasakhykhxngaemlngdacaxyuthihangyawaehlmkhlayeduxy lksnaepnesneriywyaw 2 esnkhukn prakxbdwykhnthilaexiydaelaimepiykna thahnathiinkarhayicodyichryangkhthiophlkhunmacakphiwnaephuxdudxxksiecnsahrbhayic aelwnaipekbinlatwthangplaythx xwywaswnnicamitxmklinhxmchunsungcamiechphaaintwphuethann txmklinthimiklinhxmniepnexklksnthisakhykhxngaemlngdathidungdudihphukhnbriophkh tamthrrmchatiaelw twphucaepnfayplxyklinniephuxdungdudtwemiyaelapxngkntw khnadlatwthngtwphuaelatwemiycamikhnadiklekhiyngknkhux lksnalatwyawriehmuxnibim xxksinatal yawpraman 2 4 niw aetmikhwamaetktangknkhux twphumilatwklmpxm aelaelkkwatwemiynidhnxy swntwemiymilatwxxkaebn swnthxngihyphvtikrrmaemlngdamiphvtikrrmxxkhaxaharinewlaklangwn swninewlaklangkhunemuxxakaseynlng innamixxksiecnxyunxy sungimephiyngphxtxkhwamtxngkar aemlngdacabinxxkcakaehlngna binwnewiynxyuikl thixasyxyu miphvtikrrmelnkbaesngswangehmuxnaemlngthwip cungsamarthcbiddwywithini odykhunhnung aemlngdaxaccabinipelnifidiklthunghlaykiolemtr aelainphumiphakhexechiytawnxxk emuxthungvduhnaw aemlngdacahlbsxntwexngitkxngibiminpaephuxkhwamxbxunkaraephrphnthuaemlngdaaephrkracayphnthudwykarwangikh odythitwphuepnfayduaelikh odywangikhepnklum klumla 100 200 fxng tamphuchnahruxphuchthikhuntamrimna ikhichewla 6 7 wncungcafkepntw vdukarphsmphnthuaelawangikhxyuinvdufn emuxikhfkepntw lukaemlngdacahlnlngna twcayngmisiehluxngxxn ehnluktasidachdecn aelwcungcakhxy epliyntwexngepnsiekhmkhun odyaemlngdatwphucayngduaellukaemlngdatxipxikraw 2 3 wn enuxngcakyngimsamarthchwyehluxtwexngihrxdcakstrutamthrrmchatiid aemlngdacaichkarlxkkhrabpraman 4 khrng kxncaotepntwetmwyphayinewlapraman 1 eduxnkarnamaprakxbxaharaemlngdaepnaemlngthiniymbriophkhkninhlaywthnthrrmkhxngchnchatiinaethbexechiyxakheny inxaharithysamarthnaipyangaelaprungepnnaphrikid odyechphaatwphuthimiklinhxm eriyk naphrikaemlngda hrux naphrikaemngda pccubnepnaemlngthimikarsngesrimiheliyngknepn aemlngdakhayintladsdthicnghwdlphburi aemlngdathxdbnthad naphrikaemlngdaxangxingrachbnthitysthan phcnanukrm chbbrachbnthitysthan ph s 2554 echlimphraekiyrtiphrabathsmedcphraecaxyuhw enuxnginoxkasphrarachphithimhamngkhlechlimphrachnmphrrsa 7 rxb 5 thnwakhm 2554 krungethph rachbnthitysthan 2556 hna 429 P J Perez Goodwyn 2006 Taxonomic revision of the subfamily Lethocerinae Lauck amp Menke Heteroptera Belostomatidae Stuttgarter Beitrage zur Naturkunde A Biologie 695 1 71 ephuxnekstr thangchxng 7 sukrthi 22 mithunayn ph s 2555 aemngdacxmphikhat khwamlbaehngphngiphr thangnaw 26 phvhsbdithi 24 singhakhm ph s 2560 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2013 01 25 subkhnemux 2012 06 21 wikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb aemlngdaaehlngkhxmulxunkhxmulthiekiywkhxngkb Lethocerus indicus thiwikispichis