เคาหยก (จีน: 扣肉; พินอิน: koù roù; ยฺหวิดเพ็ง: kau3 juk6) เป็นอาหารกวางตุ้งชนิดหนึ่ง แปลตรงตัวว่าเนื้อคว่ำ และตรงกับภาษาจีนกลางว่าโค่วโร่ว เป็นอาหารที่มีชื่อเสียงของหูหนานและกวางตุ้ง เคาหยกในไทยที่มีชื่อเสียงอยู่ที่อำเภอเบตง จังหวัดยะลา และจังหวัดตรัง
มื้อ | จานหลัก |
---|---|
แหล่งกำเนิด | จีน |
ภูมิภาค | มณฑลกวางตุ้ง |
ส่วนผสมหลัก | หมูสามชั้น กับเผือกราดน้ำซอสแล้วนึ่ง |
รูปแบบอื่น | ใช้ผักดองแทนเผือก |
|
เคาหยกแบบจีนมีสองแบบ แบบแรกใช้หมูสามชั้นหั่นสี่เหลี่ยมผสมกับเค็มแห้งที่เรียกเหมยกันไช่ (梅干菜) หรือไช่กัว อีกแบบหนึ่งใส่เผือกที่หั่นชิ้นเท่าหมู แบบที่ใส่ผักกาดดองจะนำผักกาดดองไปผัดกับน้ำปรุงรสก่อน ส่วนแบบที่ใส่เผือกจะนำเผือกชนิดที่เนื้อซุยที่จี่พอสุก ราดด้วยน้ำปรุงรสที่ทำจากเต้าหู้ยี้ น้ำมันหอย น้ำมันงา ผงพะโล้ แทน จากนั้นจะนำหมูกับเครื่องปรุงใส่ชาม ตุ๋นให้หมูเปื่อยนุ่ม เมื่อสุกแล้ว จะนำจากมาปิดปากชามแล้วพลิกกลับด้านให้เนื้อหมูลงไปอยู่ในจาน จึงเป็นที่มาของชื่ออาหารจานนี้
อ้างอิง
- "เคาหยก". เทศบาลเมืองเบตง. 17 กุมภาพันธ์ 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 มิถุนายน 2013.
- . สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดตรัง. 3 ธันวาคม 2021. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-10-05. สืบค้นเมื่อ 2022-10-05.
- สุมล ว่องวงศ์ศรี (2014). จานอร่อยจากปู่ย่า สูตรโบราณ ๑๐๐ ปี. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สารคดี. pp. 206–207. ISBN .
- อดุลย์ รัตนมั่นเกษม (มิถุนายน 2013). "ซีอิ๊วปรุงอะไรก็อร่อย". ครัว. Vol. 19 no. 228. pp. 116–117. ISSN 0858-8422.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
ekhahyk cin 扣肉 phinxin kou rou y hwidephng kau3 juk6 epnxaharkwangtungchnidhnung aepltrngtwwaenuxkhwa aelatrngkbphasacinklangwaokhworw epnxaharthimichuxesiyngkhxnghuhnanaelakwangtung ekhahykinithythimichuxesiyngxyuthixaephxebtng cnghwdyala aelacnghwdtrngekhahykmuxcanhlkaehlngkaenidcinphumiphakhmnthlkwangtungswnphsmhlkhmusamchn kbephuxkradnasxsaelwnungrupaebbxunichphkdxngaethnephuxktaraxahar ekhahyk ekhahykaebbcinmisxngaebb aebbaerkichhmusamchnhnsiehliymphsmkbekhmaehngthieriykehmyknich 梅干菜 hruxichkw xikaebbhnungisephuxkthihnchinethahmu aebbthiisphkkaddxngcanaphkkaddxngipphdkbnaprungrskxn swnaebbthiisephuxkcanaephuxkchnidthienuxsuythiciphxsuk raddwynaprungrsthithacaketahuyi namnhxy namnnga phngphaol aethn caknncanahmukbekhruxngprungischam tunihhmuepuxynum emuxsukaelw canacakmapidpakchamaelwphlikklbdanihenuxhmulngipxyuincan cungepnthimakhxngchuxxaharcannixangxing ekhahyk ethsbalemuxngebtng 17 kumphaphnth 2012 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 28 mithunayn 2013 sanknganwthnthrrmcnghwdtrng 3 thnwakhm 2021 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2022 10 05 subkhnemux 2022 10 05 suml wxngwngssri 2014 canxrxycakpuya sutrobran 100 pi krungethph sankphimphsarkhdi pp 206 207 ISBN 978 616 7767 30 7 xduly rtnmneksm mithunayn 2013 sixiwprungxairkxrxy khrw Vol 19 no 228 pp 116 117 ISSN 0858 8422