ไขสันหลัง (อังกฤษ: spinal cord) คืออวัยวะที่มีลักษณะเป็นท่อยาวผอม ซึ่งมีเนื้อเยื่อประสาทเป็นส่วนประกอบสำคัญ อันได้แก่ เซลล์ประสาท (neuron) และ เซลล์เกลีย (glia) หรือเซลล์ที่ช่วยค้ำจุนเซลล์ประสาท ซึ่งไขสันหลังจะเป็นส่วนที่ยาวต่อลงมาจากสมอง (brain) สมองและไขสันหลังจะรวมกันเป็นระบบประสาทกลาง (central nervous system) ซึ่งบรรจุภายในและถูกปกป้องโดยกระดูกสันหลัง (vertebral column) หน้าที่หลักของไขสันหลังคือ (neural signals) ระหว่างสมองและส่วนต่างๆของร่างกาย ทั้งนี้เพียงตัวไขสันหลังเอง ยังสามารถควบคุมการเกิดรีเฟล็กซ์ (reflex) เช่นการยกขาทันทีเมื่อเผลอเหยียบตะปู และ (central pattern generator)
ไขสันหลัง | |
---|---|
ไขสันหลัง (สีเหลือง) เชื่อมต่อสมองกับเส้นประสาททั่วร่างกาย | |
รายละเอียด | |
ส่วนหนึ่งของ | ระบบประสาทกลาง |
หลอดเลือดแดง | spinal artery |
หลอดเลือดดำ | spinal vein |
ตัวระบุ | |
ภาษาละติน | medulla spinalis |
MeSH | D013116 |
22 | |
TA98 | A14.1.02.001 |
TA2 | 6049 |
FMA | 7647 |
[แก้ไขบนวิกิสนเทศ] |
โครงสร้าง
ไขสันหลังคือโครงสร้างหลักในการถ่ายทอดข้อมูลระหว่างสมองและระบบประสาทนอกส่วนกลาง (peripheral nervous system) ไขสันหลังมีความยาวน้อยกว่ากระดูกสันหลังที่ห่อหุ้มมันอยู่ โดยมันจะยาวต่อออกมาจากสมองส่วน (medulla oblongata) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของก้านสมอง และยาวต่อไปถึงโครงสร้างที่เรียกว่า (conus medullaris) ซึ่งอยู่บริเวณ (lumbar vertebrae) และสิ้นสุดกลายเป็นโครงสร้างที่มีลักษณะเป็นเส้นใยเล็กๆที่เรียกว่า (filum terminale)
ไขสันหลังมีความยาวประมาณ 45 เซนติเมตรในผู้ชาย และ 43 เซนติเมตรในผู้หญิง มีภาคตัดเป็นรูปวงรี และมีการป่องออกที่บริเวณคอและเอว เมื่อดูในภาคตัดขวาง บริเวณรอบนอกของไขสันหลังจะมีสีอ่อนกว่าที่เรียกว่า เนื้อขาว (white matter) ซึ่งเนื้อขาวเป็นบริเวณที่มีเส้นใยประสาทที่งอกออกมาจากตัวเซลล์ประสาทอันได้แก่เซลล์ประสาทรับความรู้สึก (sensory Neuron) เซลล์ประสาทสั่งการ (motor neuron) และเซลล์ประสาทเชื่อมข้อมูลภายในระบบประสาทส่วนกลางที่เรียกว่า (interneuron) ในส่วนกลางถัดเข้าไปจากบริเวณเนื้อขาวคือบริเวณที่มีสีเข้มกว่าเรียกว่า เนื้อเทา (gray matter) ซึ่งมีลักษณะคล้ายปีกผีเสื้อโดยในส่วนเนื้อเทานี้มีส่วนประกอบหลักของเนื้อเยื่อคือ ตัวเซลล์ประสาท (nerve cell bodies) บริเวณของเนื้อเทาจะล้อมรอบ (central canal) ซึ่งเป็นช่องว่างกลวงตรงใจกลางที่บรรจุน้ำหล่อสมองไขสันหลัง ซึ่งเป็นระบบท่อที่ต่อมาจากระบบท่อน้ำและห้องบรรจุน้ำในสมองที่เรียกว่าระบบโพรงสมอง (ventricular system)
ไขสันหลังถูกปกคลุมด้วยเนื้อเยื่อเป็นแผ่นๆอยู่สามชั้นเรียกว่า เยื่อหุ้มสมอง (meninges) ไล่จากชั้นนอกสุดไปสู่ชั้นในสุด ได้แก่ เยื่อดูรา (dura mater), เยื่ออะแร็กนอยด์ (arachnoid mater), และเยื่อเพีย (pia mater) ซึ่งเนื้อเยื่อเหล่านี้ คือเนื้อเยื่อเดียวกันต่อเนื่องกับที่ปกคลุมสมอง น้ำหล่อสมองไขสันหลังจะพบได้ในชั้น (subarachnoid space) ซึ่งเป็นช่วงว่างระหว่างเยื่ออะแร็กนอยด์และเยื่อเพีย ไขสันหลังถูกตรึงให้อยู่กับที่โดยการช่วยยึดโดยเอ็นที่เรียกว่า (denticulate ligaments) ซึ่งเป็นส่วนที่ยื่นออกมาจากเนื้อเยื่อของเยื่อเพีย ออกมาทางด้านข้างของไขสันหลังทั้งสองข้าง ซึ่งเอ็นนี้จะอยู่ระหว่างรากประสาทของไขสันหลังด้านหลังและด้านท้อง (dorsal and ventral roots) ส่วน (dural sac) คือถุงที่เกิดจากเยื่อหุ้มสมองชั้นเยื่อดูราจะสิ้นสุดที่ระดับกระดูกสันหลังส่วน
ปล้องของไขสันหลัง
ปล้อง (segments) ในแต่ละปล้องจะมีคู่ของ (spinal nerve) difdkxcvdi-ขวา ซึ่งเส้นประสาทเหล่านี้เป็นเส้นประสาทที่มีเส้นใยประสาทแบบผสม คือมีทั้งส่วนที่รับความรู้สึกและสั่งการ รากเล็กๆ ของประสาทสั่งการ (motor nerve rootlets) 6–8 เส้น จะงอกออกมาอย่างสม่ำเสมอจากแต่ละข้างของร่องด้านท้องร่วมด้านข้าง (ventro lateral sulci; ร่องของไขสันหลังที่อยู่ด้านท้องและค่อนมาด้านข้าง ทั้งสองข้างของไขสันหลัง) รากประสาทเส้นเล็กๆจะรวมตัวกันเป็นรากอันใหญ่เรียกว่า ซึ่งในส่วนของเส้นประสาทรับความรู้สึกเองก็เช่นกัน ที่จะมีเส้นรากประสาทเล็กๆ งอกออกมาจากบริเวณร่องด้านหลังร่วมด้านข้าง (dorsal lateral sulci; ร่องของไขสันหลังที่อยู่ด้านหลังและค่อนมาด้านข้าง) และรวมกันเป็นเส้นรากขนาดใหญ่ ทั้งรากประสาทส่วนรับความรู้สึกและสั่งการนั้นจะรวมกันอีกทีเป็น (spinal nerves) ซึ่งประกอบด้วยเส้นใยประสาทแบบผสม คือมีทั้งส่วนที่รับความรู้สึกและสั่งการ เส้นประสาทไขสันหลังจะก่อตัวขึ้นภายใน (intervertebral foramen; IVF) ยกเว้นเส้นประสาทในระดับ C1 and C2
ในมนุษย์จะมีเส้นประสาทไขสันหลัง 31 คู่ และท่อนส่วนไขสันหลัง 31 ท่อน (ทั้งนี้หนังสือบางเล่มอาจกล่าวว่ามี 26 ท่อน เพราะนับระดับกระเบนเหน็บเป็น 1 ท่อน) โดยแบ่งเป็น
- 8 ปล้องส่วนคอ (cervical segments) ให้ (cervical nerves) 8 คู่ (เส้นประสาทไขสันหลัง C1 ออกจากไขสันหลังระหว่างกะโหลกศีรษะส่วน ท้ายทอย และกระดูกสันหลังส่วนคอชิ้นที่ 1 ส่วนเส้นประสาท C2 ออกมาระหว่างโค้งด้านหลัง (posterior arch) ของกระดูกสันหลังระดับ C1 และของกระดูกสันหลังระดับ C2 ส่วนเส้นประสาท C3-C8 ออกผ่านช่องระหว่างกระดูกสันหลังเหนือกระดูกสันหลังที่มีชื่อระดับเดียวกัน เว้นคู่ C8 ที่ออกทางช่องระหว่างกระดูกสันหลัง C7 และ T1
- 12 ปล้องส่วนอก (thoracic segments) ให้ 12 คู่ (ออกผ่านช่องระหว่างกระดูกสันหลังใต้กระดูกสันหลังที่มีชื่อระดับเดียวกัน คือ T1-T12)
- 5 ปล้องส่วนบั้นเอว (lumbar segments) ให้ 5 คู่ (ออกผ่านช่องระหว่างกระดูกสันหลังใต้กระดูกสันหลังที่มีชื่อระดับเดียวกัน คือ L1-L5)
- 5 (หรือ 1) ปล้องส่วนกระเบนเหน็บ (sacral segments) ให้ 5 คู่ (ออกผ่านช่องระหว่างกระดูกสันหลังใต้กระดูกสันหลังที่มีชื่อระดับเดียวกัน คือ S1-S5)
Ċ* efclfeofflxzcoas(coccygeal segment) ให้ 1 คู่ (ออกผ่าน (sacral hiatus))
เนื่องจากกระดูกสันหลังมีความยาวมากกว่าไขสันหลัง ดังนั้นในผู้ใหญ่ ปล้องไขสันหลังจะมีหมายเลขระดับไม่ตรงกับระดับของชิ้นกระดูกสันหลัง โดยเฉพาะในส่วนล่างๆของไขสันหลัง ซึ่งต่างจากในที่จะมีชื่อระดับตรงกัน ในผู้ใหญ่ไขสันหลังจะสิ้นสุดที่ระดับกระดูกสันหลังที่ L1/L2 และกลายตัวเป็นโครงสร้างที่เรียกว่า (conus medullaris)
แม้ไขสันหลังส่วนที่มีตัวเซลล์จะสิ้นสุดที่ระดับกระดูกสันหลัง L1/L2 แต่เส้นประสาทไขสันหลังจะออกจากกระดูกสันหลังที่มีชื่อระดับเป็นระดับเดียวกัน ซึ่งสำหรับเส้นประสาทไขสันหลังระดับล่างๆแล้ว มันต้องยาวไปหากระดูกสันหลังซึ่งอยู่ต่ำกว่าจุดที่มันออกมาจากไขสันหลังมาก ทำให้ได้มัดของเส้นประสาทที่มีลักษณะคล้ายหางม้า ที่เรียกว่า (cauda equina)
ในไขสันหลังมีสองส่วนที่ป่องออก คือ
- (Cervical enlargement) - การป่องออกบริเวณระดับคอซึ่งเป็นบริเวณท่อนส่วนไขสันหลังที่ C4 ถึง T1 ซึ่งเนื่องมาจากการที่มันให้เส้นประสาทข่ายประสาทแขน (brachial plexus nerves) ซึ่งเป็นกลุ่มเส้นประสาทที่เลี้ยงรยางค์บน (แขน) ซึ่งพบที่ระดับกระดูกสันหลัง C4-T1
- (Lumbosacral enlargement) - การป่องออกบริเวณเอวและกระเบนเหน็บ บริเวณท่อนส่วนไขสันหลังที่ L2-S3 ซึ่งเนื่องมาจากการที่มันให้เส้นประสาท (lumbosacral plexus nerves) ซึ่งเป็นกลุ่มเส้นประสาทที่เลี้ยงรยางค์ล่าง (ขา) ซึ่งพบที่ระดับกระดูกสันหลัง T9-T12
คัพภวิทยา
ไขสันหลังเจริญมาจากส่วนหนึ่งของ (neural tube) เมื่อหลอดประสาทเริ่มเจริญ (notochord) จะหลั่งสารเคมีที่ชื่อ หรือ SHH ซึ่งทำให้ ของหลอดประสาทเริ่มหลั่งสาร SHH ตาม ซึ่งสารนี้จะทำให้ basal plate ของไขสันหลัง พัฒนาเป็นเซลล์ประสาทสั่งการ (motor neurons) ในขณะนั้นเอ็กโทเดิร์มจะขับ (BMP) ซึ่งโปรตีนนี้จะกระตุ้น ให้หลั่ง BMP เช่นกัน ซึ่ง BMP จะกระตุ้นให้ พัฒนาเซลล์ประสาทรับความรู้สึก (sensory neurons) alar plate และ basal plate เป็นส่วนของหลอดประาทที่ถูกแบ่งโดยร่องที่อยู่บนผิวด้านในของหลอดประสาทที่ชื่อว่า (sulcus limitans)
ทั้งนี้ floor plate ก็จะหลั่ง (netrins) ร่วมด้วย สารนี้ทำหน้าที่เป็น (chemoattractants) ให้เกิด (decussation) ของเซลล์ประสาทรับความรู้สึกเจ็บปวดและอุณหภูมิ (pain and temperature sensory neurons) ใน alar plate โดยไขว้กันตรงบริเวณที่เรียกว่า anterior white commissure ซึ่งเป็นจุดที่เซลล์ประสาทจะส่งเส้นใยนำสัญญาณประสาทขึ้นไปสู่สมองส่วนทาลามัส (thalamus)
จากการศึกษาของวิคเตอร์ แฮมเบอร์เกอร์ (Viktor Hamburger) และริตา เลวี-มงตาลชินี (Rita Levi-Montalcini) ในเอ็มบริโอไก่ แสดงให้เห็นว่าการตายของเซลล์ประสาทหรืออะพอพโทซิสนั้นมีความจำเป็นในการจัดเรียงโครงสร้างที่เป็นระเบี่ยบของไขสันหลังในภายหลังมาก
โครงสร้างของระบบรับความรู้สึกของร่างกาย
โครงสร้างของระบบรับความรู้สึกของร่างกายแบ่งออกเป็น
- (dorsal column-medial lemniscus tract) - วิถีรับความรู้สึกทางการสัมผัส การรับรู้ตำแหน่งและความสั่นสะเทือน และ
- (anterolateral system) หรือ เอแอลเอส (ALS) - วิถีรับรู้ความเจ็บปวดและอุณหภูมิ
ทั้งสองเส้นทางต้องใช้เซลล์ประสาท 3 ตัวในการรับข้อมูลจากตัวรับความรู้สึก (sensory receptors) และส่งสัญญาณไปสู่สมองในส่วนซีรีบรัล คอร์เท็กซ์ (cerebral cortex) เซลล์ประสาทเหล่านี้เราให้ชื่อมันตามลำดับการนำกระแสประสาท คือเซลล์ประสาทรับความรู้สึกปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และตติยภูมิ (primary, secondary and tertiary sensory neurons) ตามลำดับ ตัวเซลล์ประสาทหรือ soma หรือ cell body ของเซลล์ประสาทปฐมภูมินั้น เราจะพบได้ในปมประสาทที่รากด้านหลังของไขสันหลัง (dorsal root ganglia) และส่งแขนงประสาทที่เรียกว่า แอกซอน (axons) เข้าไปสู่ไขสันหลัง
ในลำเส้นใยประสาทดอร์ซัล คอลัมน์-มีเดียล เลมนิสคัสนั้น แอกซอนของเซลล์ประสาทปฐมภูมิจะเข้าไปในไขสันหลังและตรงไปสู่ (dorsal column) ถ้าแอกซอนเข้าไปใต้ระดับไขสันหลังที่ T6 แอกซอนจะเข้าไปอยู่ใน (fasciculus gracilis) ซึ่งเป็นมัดของเนื้อเยื่อประสาทในบริเวณขนาบเส้นผ่าตามแนวยาวกลางด้านท้องของไขสันหลัง แต่ถ้าแอกซอนเข้าไขสันหลังในระดับเหนือ T6 มันจะเข้าไปเดินทางต่อใน (fasciculus cuneatus) ซึ่งเป็นมัดที่อยู่ขนาบข้างฟาสซิคูลัส กราซิลิสอีกทีหนึ่ง แอกซอนของทั้งสองวิถีประสาทจะเดินทางขึ้นไปสู่เมดัลลาส่วนล่าง ซึ่งแอกซอนจะออกจากมัดฟาสซิคูลัส และไซแนปส์กับเซลล์ประสาททุติยภูมิใน (dorsal column nuclei) อันได้แก่ (nucleus gracilis) หรือ (nucleus cuneatus) ซึ่งขึ้นกับว่าเป็นแอกซอนของวิถีใด ณ จุดนี้ แอกซอนทุติยภูมิจะออกจากนิวเคลียสที่ไซแนปส์นั้นและเดินทางต่อไปทางด้านหน้าและเข้าสู่แนวกลางของสมอง (anteriorly and medially) กลุ่มของแอกซอนทุติยภูมินี้จะปรากฏในสมองเป็นแนวของเส้นใยประสาท ที่เรียกว่า (internal arcuate fibers) เส้นใยเหล่านี้จะกันและเดินทางต่อใน (medial lemniscus) ด้านตรงข้าม แอกซอนทุติยภูมิจากมีเดียล เลมนิสคัสจะสิ้นสุดที่ (ventral posterolateral nucleus; VPL) ในสมองส่วนทาลามัสและไซแนปส์กับเซลล์ประสาทตติยภูมิ ซึ่งจะส่งแอกซอนไปทางขาหลัง (posterior limb) ของ (internal capsule) และสิ้นสุดในสมองส่วน (primary sensory cortex) ซึ่งอยู่บริเวณซีรีบรัมหลังร่องสมองร่องใหญ่ที่ชื่อ ร่องกลางของโรลันโด (central sulcus of Rolando)
แต่ระบบแอนทีโรแลเทอรัลมีการเดินทางที่ต่างจากลำเส้นใยประสาทดอร์ซัล คอลัมน์-มีเดียล เลมนิสคัส โดยเซลล์ประสาทปฐมภูมิของระบบนี้จะเข้าสู่ไขสันหลังและเดินทางขึ้นไปหนึ่งถึงสองระดับไขสันหลังแล้วค่อยไซแนปส์กับเซลล์ประสาทในไขสันหลังส่วน (substantia gelatinosa) ลำเส้นใยประสาทที่เดินทางขึ้นหนึ่งถึงสองระดับแล้วค่อยไซแนปส์นี้ เราเรียกว่า (Lissauer's tract) หลังจากไซแนปส์กับเซลล์ประสาททุติยภูมิแล้ว แอกซอนทุติยภูมิจะไขว้ทแยงและมุ่งขึ้นสู่สมองโดยเดินทางไปตาม ลำเส้นใยประสาทสไปโนทาลามิก (spinothalamic tract) ซึ่งอยู่ส่วนหน้าด้านข้างของไขสันหลัง ลำเส้นใยประสาทสไปโนทาลามิกจะขึ้นไปสู่ VPL และไซแนปส์กับเซลล์ประสาทตติยภูมิและให้ แอกซอนตติยภูมิเดินทางไปสู่ ไพรมารี เซนซอรี คอร์เท็กซ์ผ่านทางขาหลังของ
ควรสังเกตว่า "ใยประสาทรับความเจ็บปวด" ใน ALS ส่วนหนึ่งนั้น จะไม่เดินตามทางปกติไปสู่ VPL แต่จะเดินทางไปสู่ (reticular formation) ในสมองส่วนกลาง (midbrain) แล้วส่งเส้นใยไปสู่สมองในหลายๆส่วน เช่น ฮิปโปแคมปัส (เพื่อสร้างความทรงจำเกี่ยวกับความรู้สึกเจ็บปวด) หรือไปสู่ (centromedian nucleus; เพื่อให้เกิดความรู้สึกเจ็บปวดแบบแผ่ซ่านและรู้สึกเจ็บไม่จำเพาะบริเวณ) แอกซอนของระบบ ALS บางส่วนไปสู่เนื้อสมองส่วน[[เพอริอควีดักทัล เกรย์ (periaqueductal gray) ในก้านสมองส่วนพอนส์และแอกซอนที่เป็นส่วนของเพอริอควีดักทัล เกรย์นั้นจะเดินทางไปสู่ (nucleus raphe magnus) และเดินทางไปสู่บริเวณที่เป็นต้นตอของความเจ็บปวดเพื่อยับยั้งความรู้สึกเจ็บปวดนั้น ทำให้รู้สึกเจ็บพอเหมาะอย่างที่ควรจะเป็น
- ทั้งนี้คำว่านิวเคลียส (อังกฤษ: nucleus; พหูพจน์: nuclei) ในระบบประสาทนี้ หมายถึงกลุ่มของตัวเซลล์ประสาทที่รวมกันอยู่ในระบบประสาทส่วนกลาง และมักทำหน้าที่เดียวกัน
โครงสร้างของระบบสั่งการของร่างกาย
คอร์ติโค สไปนัล แทรคท์ (corticospinal tract) เป็นทางเพื่อให้เซลล์ประสาทสั่งการส่วนบน (upper motor neuron) จากสมองส่วนซีรีบรอล คอร์เท็กซ์ (cerebral cortex) และนิวเคลียสในก้านสมอง (primitive brain stem motor nuclei) สามารถเดินทางลงมาได้
เซลล์ประสาทสั่งการส่วนบน (cortical upper motor neurons) อยู่ในบริเวณ บรอดแมน (Brodmann areas) ที่ 1, 2, 3, 4, 6 และส่งแอกซอนไปตาม รยางค์หลังของ อินเทอร์นัล แคปซูล (internal capsule) และผ่าน ครูซ ซีรีไบร () ผ่านพอนส์ (pons) และ เมดดุลลารี พีระมิด () ซึ่ง 90% ของแอกซอนจะไขว์ไปอีกข้างตรงจุดไขว้กันของใยประสาทในส่วนพีระมิดนี้ (decussation of the pyramids) แล้วจึงลงไปในไขสันหลังในรูป แลทเทอรัล คอร์ติโคสไปนัล แทรคท์ (lateral corticospinal tract) และไซแนปซ์กับเซลล์ประสาทสั่งการส่วนล่าง (lower motor neurons) ที่ปีกล่างของไขสันหลังส่วนเนื้อใน (ventral ) ซึ่งมีการไซแนปส์ที่ทุกระดับของไขสันหลัง อีก 10% จะลงไปโดยไม่ไขว้ที่พีระมิดในรูปของ เวนทรัล คอร์ติโคสไปนัล แทรคท์ (ventral corticospinal tract) และไซแนปส์กับเซลล์ประสาทสั่งการส่วนล่างซึ่งส่วนมากจะไขว้ไปอีกข้างก่อนไซแนปส์
สมองส่วนกลาง (midbrain) มีนิวเคลียส (nuclei) ที่มีเซลล์ประสาทสั่งการ และมี 4 แทรคท์ ที่ส่งแอกซอนของเซลล์ประสาทสั่งการส่วนบน (upper motor neuronal axons) ลงไปไซแนปส์กับเซลล์ประสาทสั่งการส่วนล่าง (lower motor neurons) แทรคท์เหล่านี้ ได้แก่ รูโบรสไปนัล แทรคท์ () เวสติบูโลสไปนัล แทรคท์ () เทคโทสไปนัล แทรคท์ () และ เรติคูโลสไปนัล แทรคท์ (reticulospinal tract) ทั้งนี้ รูโบรสไปนัล แทรคท์ () จะลงไปกับ แลทเทอรัล คอร์ติโคสไปนัล แทรคท์ (lateral corticospinal tract) และอีก 3 แทรคท์จะลงไปกับ แอนทีเรียร์ คอร์ติโคสไปนัล แทรคท์ (anterior corticospinal tract)
การทำงานของเซลล์ประสาทสั่งการส่วนล่าง (lower motor neuron) สามารถแบ่งได้เป็นสองกลุ่ม คือ
- แลทเทอรัล คอร์ติโคสไปนัล แทรคท์ (lateral corticospinal tract) ซึ่งเซลล์ประสาทสั่งการส่วนบน (upper motor neurons) จะไซแนปส์กับเซลล์ประสาทสั่งการส่วนล่างกลุ่ม ดอร์โซแลทเทอรัล (dorsal lateral - DL) ที่พบในบริเวณที่ป่องออกของปล้องไขสันหลังส่วนคอ (cervical enlargement) และส่วนลัมโบซาครัล (lumbosaccral enlargement) ซึ่งเกี่ยวข้องกับการควบคุมการทำงานของส่วนที่ไกลออกจากแกนกลางลำตัวของร่างกาย คือแขน-ขา นั่นเอง
- แอนทีเรียร์ คอร์ติโคสไปนัล แทรคท์ (anterior corticospinal tract) จะเป็นมัดแอกซอนของเส้นประสาทส่วนบนที่ลงมาโดยยังไม่ได้ไขว้ และไซแนปส์กับเซลล์ประสาทสั่งการส่วนล่าง (lower motor neurons) กลุ่ม เวนโทรมีเดียล (lower ventromedial (VM) motor neurons) ในฝั่งไขสันหลังเดียวกันหรือไขว้ผ่านบริเวณไขสันหลังที่เรียกว่า แอนทีเรียร์ ไวท์ คอมมิชเชอร์ () เพื่อไปไซแนปส์กับเซลล์ประสาทสั่งการส่วนล่างที่อีกข้างของไขสันหลัง
เวสติบูโลสไปนัล แทรคท์ () เทคโทสไปนัล แทรคท์ () และ เรติคูโลสไปนัล แทรคท์ (reticulospinal tract) จะลงไปในแอนทีเรียร์ คอลัมน์ (anterior column) แต่จะไม่ไซแนปส์ข้ามผ่าน แอนทีเรียร์ ไวท์ คอมมิชเชอร์ (anterior white commissure) แต่จะไซแนปส์ใน กลุ่ม เวนโทรมีเดียล (lower ventromedial (VM) motor neurons) ซึ่งจะส่งแอกซอนไปควบคุมการทำงานของร่างกายในแนวแกนกลาง เช่น กล้ามเนื้อกระดูกสันหลัง
ภาพอื่นๆ
- แผนภาพของไขสันหลัง
- ภาพตัดขวางผ่านไขสันหลังที่ระดับกึ่งกลางอก
- ภาพตัดขวางผ่านไขสันหลังที่ระดับต่างๆ
อ้างอิง
- Maton, Anthea; และคณะ (1993). Human biology and health (1st ed.). Englewood Cliffs, N.J.: Prentice Hall. pp. 132–144. ISBN .
ดูเพิ่ม
แหล่งข้อมูลอื่น
- – A multitude of great images from the University of Cincinnati
- (PDF). Napa Valley College / Southeast Community College Lincoln, Nebraska. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 3 May 2021. สืบค้นเมื่อ 20 May 2013.
- eMedicine: Spinal Cord, Topographical and Functional Anatomy
- WebMD. May 17, 2005. Information about spina bifida in fetuses and throughout adulthood. WebMD children's health. Retrieved March 19, 2007.
- Potential for spinal injury repair Retrieved February 6, 2008.
- 4000 sets of digital images, showing spatial expression patterns for various genes in adult and juvenile mouse spinal cords from the
- Spinal cord photomicrographs
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
ikhsnhlng xngkvs spinal cord khuxxwywathimilksnaepnthxyawphxm sungmienuxeyuxprasathepnswnprakxbsakhy xnidaek esllprasath neuron aela esllekliy glia hruxesllthichwykhacunesllprasath sungikhsnhlngcaepnswnthiyawtxlngmacaksmxng brain smxngaelaikhsnhlngcarwmknepnrabbprasathklang central nervous system sungbrrcuphayinaelathukpkpxngodykraduksnhlng vertebral column hnathihlkkhxngikhsnhlngkhux neural signals rahwangsmxngaelaswntangkhxngrangkay thngniephiyngtwikhsnhlngexng yngsamarthkhwbkhumkarekidrieflks reflex echnkarykkhathnthiemuxephlxehyiybtapu aela central pattern generator ikhsnhlngikhsnhlng siehluxng echuxmtxsmxngkbesnprasaththwrangkayraylaexiydswnhnungkhxngrabbprasathklanghlxdeluxdaedngspinal arteryhlxdeluxddaspinal veintwrabuphasalatinmedulla spinalisMeSHD01311622TA98A14 1 02 001TA26049FMA7647 aekikhbnwikisneths taaehnngkhxngikhsnhlngthixyuphayinkraduksnhlngphaphiklkhxngikhsnhlngphaphtdkhwangkhxngikhsnhlngswnkhxlaesniyprasathinikhsnhlngokhrngsrangikhsnhlngkhuxokhrngsranghlkinkarthaythxdkhxmulrahwangsmxngaelarabbprasathnxkswnklang peripheral nervous system ikhsnhlngmikhwamyawnxykwakraduksnhlngthihxhummnxyu odymncayawtxxxkmacaksmxngswn medulla oblongata sungepnswnhnungkhxngkansmxng aelayawtxipthungokhrngsrangthieriykwa conus medullaris sungxyubriewn lumbar vertebrae aelasinsudklayepnokhrngsrangthimilksnaepnesniyelkthieriykwa filum terminale ikhsnhlngmikhwamyawpraman 45 esntiemtrinphuchay aela 43 esntiemtrinphuhying miphakhtdepnrupwngri aelamikarpxngxxkthibriewnkhxaelaexw emuxduinphakhtdkhwang briewnrxbnxkkhxngikhsnhlngcamisixxnkwathieriykwa enuxkhaw white matter sungenuxkhawepnbriewnthimiesniyprasaththingxkxxkmacaktwesllprasathxnidaekesllprasathrbkhwamrusuk sensory Neuron esllprasathsngkar motor neuron aelaesllprasathechuxmkhxmulphayinrabbprasathswnklangthieriykwa interneuron inswnklangthdekhaipcakbriewnenuxkhawkhuxbriewnthimisiekhmkwaeriykwa enuxetha gray matter sungmilksnakhlaypikphiesuxodyinswnenuxethanimiswnprakxbhlkkhxngenuxeyuxkhux twesllprasath nerve cell bodies briewnkhxngenuxethacalxmrxb central canal sungepnchxngwangklwngtrngicklangthibrrcunahlxsmxngikhsnhlng sungepnrabbthxthitxmacakrabbthxnaaelahxngbrrcunainsmxngthieriykwarabbophrngsmxng ventricular system ikhsnhlngthukpkkhlumdwyenuxeyuxepnaephnxyusamchneriykwa eyuxhumsmxng meninges ilcakchnnxksudipsuchninsud idaek eyuxdura dura mater eyuxxaaerknxyd arachnoid mater aelaeyuxephiy pia mater sungenuxeyuxehlani khuxenuxeyuxediywkntxenuxngkbthipkkhlumsmxng nahlxsmxngikhsnhlngcaphbidinchn subarachnoid space sungepnchwngwangrahwangeyuxxaaerknxydaelaeyuxephiy ikhsnhlngthuktrungihxyukbthiodykarchwyyudodyexnthieriykwa denticulate ligaments sungepnswnthiyunxxkmacakenuxeyuxkhxngeyuxephiy xxkmathangdankhangkhxngikhsnhlngthngsxngkhang sungexnnicaxyurahwangrakprasathkhxngikhsnhlngdanhlngaeladanthxng dorsal and ventral roots swn dural sac khuxthungthiekidcakeyuxhumsmxngchneyuxduracasinsudthiradbkraduksnhlngswn plxngkhxngikhsnhlng plxng segments inaetlaplxngcamikhukhxng spinal nerve difdkxcvdi khwa sungesnprasathehlaniepnesnprasaththimiesniyprasathaebbphsm khuxmithngswnthirbkhwamrusukaelasngkar rakelk khxngprasathsngkar motor nerve rootlets 6 8 esn cangxkxxkmaxyangsmaesmxcakaetlakhangkhxngrxngdanthxngrwmdankhang ventro lateral sulci rxngkhxngikhsnhlngthixyudanthxngaelakhxnmadankhang thngsxngkhangkhxngikhsnhlng rakprasathesnelkcarwmtwknepnrakxnihyeriykwa sunginswnkhxngesnprasathrbkhwamrusukexngkechnkn thicamiesnrakprasathelk ngxkxxkmacakbriewnrxngdanhlngrwmdankhang dorsal lateral sulci rxngkhxngikhsnhlngthixyudanhlngaelakhxnmadankhang aelarwmknepnesnrakkhnadihy thngrakprasathswnrbkhwamrusukaelasngkarnncarwmknxikthiepn spinal nerves sungprakxbdwyesniyprasathaebbphsm khuxmithngswnthirbkhwamrusukaelasngkar esnprasathikhsnhlngcakxtwkhunphayin intervertebral foramen IVF ykewnesnprasathinradb C1 and C2 inmnusycamiesnprasathikhsnhlng 31 khu aelathxnswnikhsnhlng 31 thxn thngnihnngsuxbangelmxacklawwami 26 thxn ephraanbradbkraebnehnbepn 1 thxn odyaebngepn 8 plxngswnkhx cervical segments ih cervical nerves 8 khu esnprasathikhsnhlng C1 xxkcakikhsnhlngrahwangkaohlksirsaswn thaythxy aelakraduksnhlngswnkhxchinthi 1 swnesnprasath C2 xxkmarahwangokhngdanhlng posterior arch khxngkraduksnhlngradb C1 aelakhxngkraduksnhlngradb C2 swnesnprasath C3 C8 xxkphanchxngrahwangkraduksnhlngehnuxkraduksnhlngthimichuxradbediywkn ewnkhu C8 thixxkthangchxngrahwangkraduksnhlng C7 aela T1 12 plxngswnxk thoracic segments ih 12 khu xxkphanchxngrahwangkraduksnhlngitkraduksnhlngthimichuxradbediywkn khux T1 T12 5 plxngswnbnexw lumbar segments ih 5 khu xxkphanchxngrahwangkraduksnhlngitkraduksnhlngthimichuxradbediywkn khux L1 L5 5 hrux 1 plxngswnkraebnehnb sacral segments ih 5 khu xxkphanchxngrahwangkraduksnhlngitkraduksnhlngthimichuxradbediywkn khux S1 S5 Ċ efclfeofflxzcoas coccygeal segment ih 1 khu xxkphan sacral hiatus enuxngcakkraduksnhlngmikhwamyawmakkwaikhsnhlng dngnninphuihy plxngikhsnhlngcamihmayelkhradbimtrngkbradbkhxngchinkraduksnhlng odyechphaainswnlangkhxngikhsnhlng sungtangcakinthicamichuxradbtrngkn inphuihyikhsnhlngcasinsudthiradbkraduksnhlngthi L1 L2 aelaklaytwepnokhrngsrangthieriykwa conus medullaris aemikhsnhlngswnthimitwesllcasinsudthiradbkraduksnhlng L1 L2 aetesnprasathikhsnhlngcaxxkcakkraduksnhlngthimichuxradbepnradbediywkn sungsahrbesnprasathikhsnhlngradblangaelw mntxngyawiphakraduksnhlngsungxyutakwacudthimnxxkmacakikhsnhlngmak thaihidmdkhxngesnprasaththimilksnakhlayhangma thieriykwa cauda equina inikhsnhlngmisxngswnthipxngxxk khux Cervical enlargement karpxngxxkbriewnradbkhxsungepnbriewnthxnswnikhsnhlngthi C4 thung T1 sungenuxngmacakkarthimnihesnprasathkhayprasathaekhn brachial plexus nerves sungepnklumesnprasaththieliyngryangkhbn aekhn sungphbthiradbkraduksnhlng C4 T1 Lumbosacral enlargement karpxngxxkbriewnexwaelakraebnehnb briewnthxnswnikhsnhlngthi L2 S3 sungenuxngmacakkarthimnihesnprasath lumbosacral plexus nerves sungepnklumesnprasaththieliyngryangkhlang kha sungphbthiradbkraduksnhlng T9 T12khphphwithya ikhsnhlngecriymacakswnhnungkhxng neural tube emuxhlxdprasatherimecriy notochord cahlngsarekhmithichux hrux SHH sungthaih khxnghlxdprasatherimhlngsar SHH tam sungsarnicathaih basal plate khxngikhsnhlng phthnaepnesllprasathsngkar motor neurons inkhnannexkothedirmcakhb BMP sungoprtinnicakratun ihhlng BMP echnkn sung BMP cakratunih phthnaesllprasathrbkhwamrusuk sensory neurons alar plate aela basal plate epnswnkhxnghlxdpraaththithukaebngodyrxngthixyubnphiwdaninkhxnghlxdprasaththichuxwa sulcus limitans thngni floor plate kcahlng netrins rwmdwy sarnithahnathiepn chemoattractants ihekid decussation khxngesllprasathrbkhwamrusukecbpwdaelaxunhphumi pain and temperature sensory neurons in alar plate odyikhwkntrngbriewnthieriykwa anterior white commissure sungepncudthiesllprasathcasngesniynasyyanprasathkhunipsusmxngswnthalams thalamus cakkarsuksakhxngwikhetxr aehmebxrekxr Viktor Hamburger aelarita elwi mngtalchini Rita Levi Montalcini inexmbrioxik aesdngihehnwakartaykhxngesllprasathhruxxaphxphothsisnnmikhwamcaepninkarcderiyngokhrngsrangthiepnraebiybkhxngikhsnhlnginphayhlngmakokhrngsrangkhxngrabbrbkhwamrusukkhxngrangkayokhrngsrangkhxngrabbrbkhwamrusukkhxngrangkayaebngxxkepn dorsal column medial lemniscus tract withirbkhwamrusukthangkarsmphs karrbrutaaehnngaelakhwamsnsaethuxn aela anterolateral system hrux exaexlexs ALS withirbrukhwamecbpwdaelaxunhphumi thngsxngesnthangtxngichesllprasath 3 twinkarrbkhxmulcaktwrbkhwamrusuk sensory receptors aelasngsyyanipsusmxnginswnsiribrl khxrethks cerebral cortex esllprasathehlanieraihchuxmntamladbkarnakraaesprasath khuxesllprasathrbkhwamrusukpthmphumi thutiyphumi aelattiyphumi primary secondary and tertiary sensory neurons tamladb twesllprasathhrux soma hrux cell body khxngesllprasathpthmphuminn eracaphbidinpmprasaththirakdanhlngkhxngikhsnhlng dorsal root ganglia aelasngaekhnngprasaththieriykwa aexksxn axons ekhaipsuikhsnhlng inlaesniyprasathdxrsl khxlmn miediyl elmniskhsnn aexksxnkhxngesllprasathpthmphumicaekhaipinikhsnhlngaelatrngipsu dorsal column thaaexksxnekhaipitradbikhsnhlngthi T6 aexksxncaekhaipxyuin fasciculus gracilis sungepnmdkhxngenuxeyuxprasathinbriewnkhnabesnphatamaenwyawklangdanthxngkhxngikhsnhlng aetthaaexksxnekhaikhsnhlnginradbehnux T6 mncaekhaipedinthangtxin fasciculus cuneatus sungepnmdthixyukhnabkhangfassikhuls krasilisxikthihnung aexksxnkhxngthngsxngwithiprasathcaedinthangkhunipsuemdllaswnlang sungaexksxncaxxkcakmdfassikhuls aelaisaenpskbesllprasaththutiyphumiin dorsal column nuclei xnidaek nucleus gracilis hrux nucleus cuneatus sungkhunkbwaepnaexksxnkhxngwithiid n cudni aexksxnthutiyphumicaxxkcakniwekhliysthiisaenpsnnaelaedinthangtxipthangdanhnaaelaekhasuaenwklangkhxngsmxng anteriorly and medially klumkhxngaexksxnthutiyphuminicapraktinsmxngepnaenwkhxngesniyprasath thieriykwa internal arcuate fibers esniyehlanicaknaelaedinthangtxin medial lemniscus dantrngkham aexksxnthutiyphumicakmiediyl elmniskhscasinsudthi ventral posterolateral nucleus VPL insmxngswnthalamsaelaisaenpskbesllprasathttiyphumi sungcasngaexksxnipthangkhahlng posterior limb khxng internal capsule aelasinsudinsmxngswn primary sensory cortex sungxyubriewnsiribrmhlngrxngsmxngrxngihythichux rxngklangkhxngorlnod central sulcus of Rolando aetrabbaexnthioraelethxrlmikaredinthangthitangcaklaesniyprasathdxrsl khxlmn miediyl elmniskhs odyesllprasathpthmphumikhxngrabbnicaekhasuikhsnhlngaelaedinthangkhuniphnungthungsxngradbikhsnhlngaelwkhxyisaenpskbesllprasathinikhsnhlngswn substantia gelatinosa laesniyprasaththiedinthangkhunhnungthungsxngradbaelwkhxyisaenpsni eraeriykwa Lissauer s tract hlngcakisaenpskbesllprasaththutiyphumiaelw aexksxnthutiyphumicaikhwthaeyngaelamungkhunsusmxngodyedinthangiptam laesniyprasathsiponthalamik spinothalamic tract sungxyuswnhnadankhangkhxngikhsnhlng laesniyprasathsiponthalamikcakhunipsu VPL aelaisaenpskbesllprasathttiyphumiaelaih aexksxnttiyphumiedinthangipsu iphrmari esnsxri khxrethksphanthangkhahlngkhxng khwrsngektwa iyprasathrbkhwamecbpwd in ALS swnhnungnn caimedintamthangpktiipsu VPL aetcaedinthangipsu reticular formation insmxngswnklang midbrain aelwsngesniyipsusmxnginhlayswn echn hipopaekhmps ephuxsrangkhwamthrngcaekiywkbkhwamrusukecbpwd hruxipsu centromedian nucleus ephuxihekidkhwamrusukecbpwdaebbaephsanaelarusukecbimcaephaabriewn aexksxnkhxngrabb ALS bangswnipsuenuxsmxngswn ephxrixkhwidkthl ekry periaqueductal gray inkansmxngswnphxnsaelaaexksxnthiepnswnkhxngephxrixkhwidkthl ekrynncaedinthangipsu nucleus raphe magnus aelaedinthangipsubriewnthiepntntxkhxngkhwamecbpwdephuxybyngkhwamrusukecbpwdnn thaihrusukecbphxehmaaxyangthikhwrcaepn thngnikhawaniwekhliys xngkvs nucleus phhuphcn nuclei inrabbprasathni hmaythungklumkhxngtwesllprasaththirwmknxyuinrabbprasathswnklang aelamkthahnathiediywknokhrngsrangkhxngrabbsngkarkhxngrangkaykhxrtiokh sipnl aethrkhth corticospinal tract epnthangephuxihesllprasathsngkarswnbn upper motor neuron caksmxngswnsiribrxl khxrethks cerebral cortex aelaniwekhliysinkansmxng primitive brain stem motor nuclei samarthedinthanglngmaid esllprasathsngkarswnbn cortical upper motor neurons xyuinbriewn brxdaemn Brodmann areas thi 1 2 3 4 6 aelasngaexksxniptam ryangkhhlngkhxng xinethxrnl aekhpsul internal capsule aelaphan khrus siriibr phanphxns pons aela emddullari phiramid sung 90 khxngaexksxncaikhwipxikkhangtrngcudikhwknkhxngiyprasathinswnphiramidni decussation of the pyramids aelwcunglngipinikhsnhlnginrup aelthethxrl khxrtiokhsipnl aethrkhth lateral corticospinal tract aelaisaenpskbesllprasathsngkarswnlang lower motor neurons thipiklangkhxngikhsnhlngswnenuxin ventral sungmikarisaenpsthithukradbkhxngikhsnhlng xik 10 calngipodyimikhwthiphiramidinrupkhxng ewnthrl khxrtiokhsipnl aethrkhth ventral corticospinal tract aelaisaenpskbesllprasathsngkarswnlangsungswnmakcaikhwipxikkhangkxnisaenps smxngswnklang midbrain miniwekhliys nuclei thimiesllprasathsngkar aelami 4 aethrkhth thisngaexksxnkhxngesllprasathsngkarswnbn upper motor neuronal axons lngipisaenpskbesllprasathsngkarswnlang lower motor neurons aethrkhthehlani idaek ruobrsipnl aethrkhth ewstibuolsipnl aethrkhth ethkhothsipnl aethrkhth aela ertikhuolsipnl aethrkhth reticulospinal tract thngni ruobrsipnl aethrkhth calngipkb aelthethxrl khxrtiokhsipnl aethrkhth lateral corticospinal tract aelaxik 3 aethrkhthcalngipkb aexnthieriyr khxrtiokhsipnl aethrkhth anterior corticospinal tract karthangankhxngesllprasathsngkarswnlang lower motor neuron samarthaebngidepnsxngklum khux aelthethxrl khxrtiokhsipnl aethrkhth lateral corticospinal tract sungesllprasathsngkarswnbn upper motor neurons caisaenpskbesllprasathsngkarswnlangklum dxrosaelthethxrl dorsal lateral DL thiphbinbriewnthipxngxxkkhxngplxngikhsnhlngswnkhx cervical enlargement aelaswnlmobsakhrl lumbosaccral enlargement sungekiywkhxngkbkarkhwbkhumkarthangankhxngswnthiiklxxkcakaeknklanglatwkhxngrangkay khuxaekhn kha nnexng aexnthieriyr khxrtiokhsipnl aethrkhth anterior corticospinal tract caepnmdaexksxnkhxngesnprasathswnbnthilngmaodyyngimidikhw aelaisaenpskbesllprasathsngkarswnlang lower motor neurons klum ewnothrmiediyl lower ventromedial VM motor neurons infngikhsnhlngediywknhruxikhwphanbriewnikhsnhlngthieriykwa aexnthieriyr iwth khxmmichechxr ephuxipisaenpskbesllprasathsngkarswnlangthixikkhangkhxngikhsnhlng ewstibuolsipnl aethrkhth ethkhothsipnl aethrkhth aela ertikhuolsipnl aethrkhth reticulospinal tract calngipinaexnthieriyr khxlmn anterior column aetcaimisaenpskhamphan aexnthieriyr iwth khxmmichechxr anterior white commissure aetcaisaenpsin klum ewnothrmiediyl lower ventromedial VM motor neurons sungcasngaexksxnipkhwbkhumkarthangankhxngrangkayinaenwaeknklang echn klamenuxkraduksnhlngphaphxunaephnphaphkhxngikhsnhlng phaphtdkhwangphanikhsnhlngthiradbkungklangxk phaphtdkhwangphanikhsnhlngthiradbtangxangxingMaton Anthea aelakhna 1993 Human biology and health 1st ed Englewood Cliffs N J Prentice Hall pp 132 144 ISBN 978 0 13 981176 0 duephimwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb ikhsnhlng eyuxhumsmxng karecaanaikhsnhlngaehlngkhxmulxun A multitude of great images from the University of Cincinnati PDF Napa Valley College Southeast Community College Lincoln Nebraska khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 3 May 2021 subkhnemux 20 May 2013 eMedicine Spinal Cord Topographical and Functional Anatomy WebMD May 17 2005 Information about spina bifida in fetuses and throughout adulthood WebMD children s health Retrieved March 19 2007 Potential for spinal injury repair Retrieved February 6 2008 4000 sets of digital images showing spatial expression patterns for various genes in adult and juvenile mouse spinal cords from the Spinal cord photomicrographs sthaniyxy aephthysastr withyasastr bthkhwamkaywiphakhsastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk