ความเบื่อหน่าย (อังกฤษ: boredom) เป็นภาวะอารมณ์หนึ่งของมนุษย์ที่รู้สึกขาดกิจกรรม หรือเมื่อมนุษย์รู้สึกไม่สนใจต่อโอกาสที่อยู่รอบตัว ไม่พึงพอใจกับสภาวะที่เป็นอยู่ หรืออยากเปลี่ยนแปลงสภาวะแต่เปลี่ยนไม่ได้ หรือการไม่มีสิ่งเร้าหรือแรงบันดาลใจมากระตุ้น หรือเป็นสภาวะที่ไม่ยินดียินร้ายกับสิ่งใด จึงทำให้เกิดความเบื่อหน่าย ซึ่งภาวะอารมณ์นี้จะเกิดแต่เพียงช่วงหนึ่ง แต่ก็อาจหายไปได้เอง
จิตวิทยา
ความเบื่อหน่ายซึ่งได้จำกัดความโดย ซี.ดี.ฟิชเชอร์ ในพจน์ของกระบวนการจิตวิทยาส่วนกลางว่า: "สถานะอารมณ์ไม่น่าพึงพอใจอันส่งผลเป็นระยะเวลาหนึ่ง ซึ่งมนุษย์รู้สึกขาดความสนใจและพบความยากลำบากในการเอาใจจดจ่อกับกิจกรรมที่กำลังทำอยู่ในปัจจุบัน" เอ็ม.อาร์.เลียรี ได้อธิบายว่าความเบื่อหน่ายเป็น "ประสบการณ์เกี่ยวกับอารมณ์ซึ่งเกี่ยวข้องกับกระบวนการการรับรู้เกี่ยวกับความน่าสนใจ" จิตวิทยาเชิงบวกได้อธิบายว่าความกังวลเป็นการตอบสนองต่อความท้าทายระดับกลางต่อประเด็นที่หนักหนาสาหัสกว่าทักษะที่มีอยู่ คำจำกัดความเหล่านี้ทำให้เป็นที่กระจ่างว่าความเบื่อหน่ายมิได้เกิดมาจากขาดการทำกิจกรรม แต่มาจากความไม่สามารถเข้าถึงกิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งได้
ความเบื่อหน่ายสามารถจำแนกออกได้เป็น 3 ประเภท ซึ่งล้วนแต่เกี่ยวข้องกับปัญหาของการรับมือความสนใจ นี่รวมไปถึงเมื่อเราถูกห้ามมิให้ความสนใจในบางสิ่งบางอย่าง เมื่อเราถูกบังคับให้สนใจกับกิจกรรมบางอย่างที่เราไม่ต้องการ หรือเมื่อเราไม่สามารถรักษาระดับความสนใจในกิจกรรมอย่างหนึ่งโดยปราศจากเหตุผล ความโน้มเอียงเบื่อหน่าย (boredom proneness) เป็นความชอบที่จะได้รับประสบการณ์ความเบื่อหน่ายทุกประเภท ซึ่งประเมินได้โดยมาตรวัดความโน้มเอียงเบื่อหน่าย (Boredom Proneness Scale)
จากคำจำกัดความที่ระบุไว้ข้างต้น การวิจัยสมัยใหม่ค้นพบว่าความโน้มเอียงเบื่อหน่ายได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับความล้มเหลวของการให้ความสนใจอย่างชัดเจน ทั้งความเบื่อหน่ายและความโน้มเอียงเบื่อหน่ายมีส่วนเกี่ยวข้องกับความเศร้าใจและอาการเศร้าทั้งทางหลักวิชาและตามหลักการสังเกต ถึงแม้ว่าความเบื่อหน่ายมักจะถูกมองว่าเป็นสิ่งกวนใจที่ไร้สาระและไม่รุนแรงนัก ความโน้มเอียงไปในทางเบื่อหน่ายได้เชื่อมโยงเข้ากับปัญหาจิตวิทยา กายภาพ การศึกษาและสังคมอย่างกว้างขวาง
อ้างอิง
- Fisher, C. D. (). Boredom at work: A neglected concept. Human Relations, 46, 395–417, p. 396.
- Leary, M. R., Rogers, P. A., Canfield, R. W., & Coe, C. (1986). Boredom in interpersonal encounters: Antecedents and social implications. Journal of Personality and Social Psychology, 51, 968–975, p. 968.
- , Finding Flow, 1997
- Cheyne, J. A., Carriere, J. S. A., & Smilek, D. (2006). Absent-mindedness: Lapses in conscious awareness and everyday cognitive failures. Consciousness and Cognition, 15, 578-592.
- Farmer, R. & Sundberg, N. D. (1986). Boredom proneness: The development and correlates of a new scale. Journal of Personality Assessment, 50, 4–17.
- Fisher, C. D. (1993). Boredom at work: A neglected concept. ‘’Human Relations, 46’’, 395–417
- Carriere, J. S. A., Cheyne, J. A., & Smilek, D. (in press). Everyday Attention Lapses and Memory Failures: The Affective Consequences of Mindlessness. Consciousness and Cognition.
- Sawin, D. A. & Scerbo, M. W. (1995). Effects of instruction type and boredom proneness in vigilance: Implications for boredom and workload. Human Factors, 37, 752–765.
- Vodanovich, S. J., Verner, K. M., & Gilbride, T. V. (1991). Boredom proneness: Its relationship to positive and negative affect. Psychological Reports, 69, 1139–1146.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
khwamebuxhnay xngkvs boredom epnphawaxarmnhnungkhxngmnusythirusukkhadkickrrm hruxemuxmnusyrusukimsnictxoxkasthixyurxbtw imphungphxickbsphawathiepnxyu hruxxyakepliynaeplngsphawaaetepliynimid hruxkarimmisingerahruxaerngbndalicmakratun hruxepnsphawathiimyindiyinraykbsingid cungthaihekidkhwamebuxhnay sungphawaxarmnnicaekidaetephiyngchwnghnung aetkxachayipidexngcitwithyakhwamebuxhnaysungidcakdkhwamody si di fichechxr inphcnkhxngkrabwnkarcitwithyaswnklangwa sthanaxarmnimnaphungphxicxnsngphlepnrayaewlahnung sungmnusyrusukkhadkhwamsnicaelaphbkhwamyaklabakinkarexaiccdcxkbkickrrmthikalngthaxyuinpccubn exm xar eliyri idxthibaywakhwamebuxhnayepn prasbkarnekiywkbxarmnsungekiywkhxngkbkrabwnkarkarrbruekiywkbkhwamnasnic citwithyaechingbwkidxthibaywakhwamkngwlepnkartxbsnxngtxkhwamthathayradbklangtxpraednthihnkhnasahskwathksathimixyu khacakdkhwamehlanithaihepnthikracangwakhwamebuxhnaymiidekidmacakkhadkarthakickrrm aetmacakkhwamimsamarthekhathungkickrrmxyangidxyanghnungid khwamebuxhnaysamarthcaaenkxxkidepn 3 praephth sunglwnaetekiywkhxngkbpyhakhxngkarrbmuxkhwamsnic nirwmipthungemuxerathukhammiihkhwamsnicinbangsingbangxyang emuxerathukbngkhbihsnickbkickrrmbangxyangthieraimtxngkar hruxemuxeraimsamarthrksaradbkhwamsnicinkickrrmxyanghnungodyprascakehtuphl khwamonmexiyngebuxhnay boredom proneness epnkhwamchxbthicaidrbprasbkarnkhwamebuxhnaythukpraephth sungpraeminidodymatrwdkhwamonmexiyngebuxhnay Boredom Proneness Scale cakkhacakdkhwamthirabuiwkhangtn karwicysmyihmkhnphbwakhwamonmexiyngebuxhnayidmiswnekiywkhxngkbkhwamlmehlwkhxngkarihkhwamsnicxyangchdecn thngkhwamebuxhnayaelakhwamonmexiyngebuxhnaymiswnekiywkhxngkbkhwamesraicaelaxakaresrathngthanghlkwichaaelatamhlkkarsngekt thungaemwakhwamebuxhnaymkcathukmxngwaepnsingkwnicthiirsaraaelaimrunaerngnk khwamonmexiyngipinthangebuxhnayidechuxmoyngekhakbpyhacitwithya kayphaph karsuksaaelasngkhmxyangkwangkhwangxangxingFisher C D Boredom at work A neglected concept Human Relations 46 395 417 p 396 Leary M R Rogers P A Canfield R W amp Coe C 1986 Boredom in interpersonal encounters Antecedents and social implications Journal of Personality and Social Psychology 51 968 975 p 968 Finding Flow 1997 Cheyne J A Carriere J S A amp Smilek D 2006 Absent mindedness Lapses in conscious awareness and everyday cognitive failures Consciousness and Cognition 15 578 592 Farmer R amp Sundberg N D 1986 Boredom proneness The development and correlates of a new scale Journal of Personality Assessment 50 4 17 Fisher C D 1993 Boredom at work A neglected concept Human Relations 46 395 417 Carriere J S A Cheyne J A amp Smilek D in press Everyday Attention Lapses and Memory Failures The Affective Consequences of Mindlessness Consciousness and Cognition Sawin D A amp Scerbo M W 1995 Effects of instruction type and boredom proneness in vigilance Implications for boredom and workload Human Factors 37 752 765 Vodanovich S J Verner K M amp Gilbride T V 1991 Boredom proneness Its relationship to positive and negative affect Psychological Reports 69 1139 1146 bthkhwamcitwithya xarmn hruxphvtikrrmniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk