อไมร์เตอุส (กรีก: Ἀμυρταῖος Amyrtaios ซึ่งเป็นพระนามภาษากรีก โดยมีพระนามภาษาอียิปต์โบราณว่า อเมนอิร์ดิซู) แห่งซาอิส เป็นฟาโรห์แห่งอียิปต์โบราณเพียงพระองค์เดียวจากราชวงศ์ที่ยี่สิบแปดแห่งอียิปต์ และสันนิษฐานว่าน่าจะมีส่วนเกี่ยวข้องกับเชื้อพระวงศ์ที่มาจากราชวงศ์ที่ยี่สิบหกแห่งอียิปต์ (ระหว่าง 664 – 525 ปีก่อนคริสตกาล) พระองค์ทรงต่อต้านการยึดครองของชาวเปอร์เซียครั้งแรกเหนือราชอาณาจักรอียิปต์ได้สำเร็จ (ราชวงศ์ที่ยี่สิบเจ็ดแห่งอียิปต์ ซึ่งปกครองระหว่าง 525 – 404 ปีก่อนคริสตกาล) และทรงครองราชย์ตั้งแต่ 404 จนถึง 399 ปีก่อนคริสตกาล การที่ฟาโรห์อไมร์เตอุสได้ทรงลุกฮือต่อต้านจักรวรรดิอะคีเมนิดและทรงประสบความสำเร็จนั้น ได้ทำให้ราชอาณาจักรอียิปต์กลับมามีอิสรภาพอีกครั้งและเป็นครั้งสุดท้ายในนามของรัฐอิสระของชนพื้นเมืองชาวอียิปต์ ซึ่งได้กินระยะเวลาไปประมาณ 60 ปี จนกระทั่งชาวเปอร์เซียยึดครองราชอาณาจักรอียิปต์อีกครั้ง
ฟาโรห์อไมร์เตอุส | ||||||
---|---|---|---|---|---|---|
อเมนอิร์ดิซู; อมิร์ไทออสแห่งซาอิส (Ἀμυρταῖος Σαΐτης ในภาษากรีกโบราณ) | ||||||
บันทึกปาปิรุสภาษาอราเมอิกจากแอลเลเฟนไทน์, ระบุปีที่ 5 แห่งการครองราชย์ฟาโรห์อไมร์เตอุส (400 ปีก่อนคริสตกาล) | ||||||
ฟาโรห์ | ||||||
รัชกาล | 5 ปี, 404 ปีก่อนคริสตกาล ถึง เดือนตุลาคม 399 ปีก่อนคริสตกาล | |||||
ก่อนหน้า | ||||||
ถัดไป | เนเฟริเตสที่ 1 | |||||
| ||||||
สวรรคต | เดือนตุลาคม 399 ปีก่อนคริสตกาล | |||||
ราชวงศ์ | ราชวงศ์ที่ยี่สิบแปด |
พระราชประวัติ
หลักฐานและการมีตนตัว
ได้ขานพระนามของพระองค์ว่า "อไมร์ทีออส (Amyrteos)" แต่ในขณะที่ ได้ขานพระนามของพระองค์ว่า "อมิร์ไทออส (Amirtaios)" ซึ่งทั้งคู่บันทึกว่า พระองค์ทรงครองราชย์เป็นระยะเวลา 6 ปี ในบันทึกคำพยากรณ์อียิปต์โบราณหรือ (เขียนขึ้นราวศตวรรษที่ 3/2 ก่อนคริสตกาล) ได้กล่าวว่า:
ผู้ปกครองพระองค์แรกที่ปกครองต่อจากชาวต่างชาติที่เป็นชาวมีเดีย [เปอร์เซีย] คือฟาโรห์อเมนอิร์ดาอิส [อมิร์ไทออส]
— จากประชุมพงศาวดารเดมอติก
ฟาโรห์อไมร์เตอุสน่าจะเป็นหลานชายของอไมร์เตอุสแห่งซาอิส ซึ่งเป็นผู้นำการก่อกบฏระหว่าง 465 ปีก่อนคริสตกาล และ 463 ปีก่อนคริสตกาล ต่อผู้ปกครองท้องถิ่นของกษัตริย์ ร่วมกับผู้ปกครองกบฏนามว่า ผู้ซึ่งเป็นพระราชนัดดาของฟาโรห์ พระองค์เป็นที่ทราบจากแหล่งบันทึกภาษาอาราเมคและกรีกโบราณ และถูกกล่าวถึงในประชุมพงศาวดารเดมอติกว่าเป็น "ผู้ปกครองที่แทบจะไม่มีใครทราบเลย" ไม่ทราบว่าพระองค์ทรงมีอนุสาวรีย์ใดบ้าง และพระนามของพระองค์ในภาษาอียิปต์ได้รับการขนานพระนามขึ้นใหม่จากคำบอกกล่าวในประชุมพงศาวดารเดมอติกเท่านั้น ไม่พบการเขียนพระนามของพระองค์แบบอักษรอียิปต์โบราณ
การก่อกบฏและการครองราชย์
ก่อนหน้าที่พระองค์จะทรงขึ้นครองพระราชบัลลังก์แห่งอียิปต์นั้น ฟาโรห์อไมร์เตอุสได้ทรงก่อกบฏต่อกษัตริย์ แห่งจักรวรรดิอะคีเมนิด (ปกครองระหว่าง 423 – 404 ปีก่อนคริสตกาล) ในช่วงเวลาที่เร็วที่สุดประมาณ 411 ปีก่อนคริสตกาล โดยทรงเป็นผู้นำการรบแบบกองโจรในบริเวณดินแดนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำไนล์ฝั่งทางตะวันตกรอบ ๆ เมืองซาอิส ซึ่งเป็นสถานที่พระราชสมภพของพระองค์
หลังจากการเสด็จสวรรคตของกษัตริย์ดาริอัส ฟาโรห์อไมร์เตอุสก็ทรงประกาศพระองค์ขึ้นเป็นฟาโรห์ในช่วง 404 ปีก่อนคริสตกาล ตามคำกล่าวของไอโซเครติส กษัตริย์ ได้ทรงรวบรวมกองทัพในฟีนิเซียภายใต้บัญชาการของ เพื่อยึดอียิปต์คืนหลังจากขึ้นครองพระราชบัลลังก์เปอร์เซียได้เพียงระยะเวลาไม่นาน แต่ปัญหาทางการเมืองกับ ซึ่งเป็นพระอนุชาของพระองค์ได้ขัดขวางไม่ให้เกิดการปราบปรามกบฏในอียิปต์ จึงปล่อยให้ชาวอียิปต์มีเวลาเพียงพอที่จะทำให้ตนเองหลุดออกจากการปกครองของจักรววรดิอะคีเมนิด ในขณะที่การปกครองของฟาโรห์อไมร์เตอุสในบริเวณดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำฝั่งตะวันตกได้สถาปนาขึ้นในช่วง 404 ปีก่อนคริสตกาล แต่กษัตริย์อาร์ตาเซอร์ซีสที่ 2 ก็ยังคงทรงได้รับการยอมรับว่าเป็นฟาโรห์ที่แอลเลเฟนไทน์จนถึงช่วง 401 ปีก่อนคริสตกาล แต่ในจากบริเวณดังกล่าวได้กล่าวถึง ปีที่ 5 แห่งการครองราชย์ของฟาโรห์อไมร์เตอุสในช่วงเดือนกันยายน ราว 400 ปีก่อนคริสตกาล และบันทึกแห่งแอลเลเฟนไทน์ยังได้แสดงให้เห็นด้วยว่าในช่วงระหว่าง 404 ถึง 400 ปีก่อนคริสตกาล (หรือ 398 ปีก่อนคริสตกาล) อียิปต์บนยังคงอยู่ภายใต้การปกครองของจักรวรรดิเปอร์เซียอยู่ ในขณะที่กองกำลังของฟาโรห์อไมร์เตอุสนั้นปกครองอยู่ในบริเวณสามเหลี่ยมปากแม่น้ำไนล์
ในศตวรรษที่ 1 ก่อนคริสตกาล นักประวัติศาสตร์ชาวกรีกนามว่า ได้บันทึกไว้ใน (XIV, 35.3–5) ว่า กษัตริย์พระองค์หนึ่งพระนามว่า พซัมเตก (Psamtik) ซึ่งดูเหมือนจะระบุถึงฟาโรห์อไมร์เตอุส บางทีอาจเป็น "พซัมเตก" พระนามที่สูญหายหายไปของพระองค์ ซึ่งได้ทรงสังหารนายพลชาวกรีกนามว่า ทามอส ผู้ซึ่งได้ลี้ภัยในราชอาณาจักรอียิปต์หลังจากความพ่ายแพ้ของการก่อกบฏของไซรัส หากข้อเท็จจริงนั้นถูกต้องจะทำให้ดูเหมือนว่า ฟาโรห์อไมร์เตอุสจะทรงกระทำในลักษณะนี้เพื่อทรงเอาใจกษัตริย์อาร์ตาเซอร์ซีสที่ 2 และเป็นไปได้ว่าฟาโรห์อไมร์เตอุสทรงเข้าไปเป็นพันธมิตรกับชาวสปาร์ตาโดยนัยว่า อียิปต์ได้รับความช่วยเหลือทางทหารจากสปาร์ตาเพื่อแลกกับเมล็ดธัญพืช
การล่มสลายและการสวรรคต
ฟาโรห์อไมร์เตอุสได้ทรงพ่ายแพ้ในการต่อสู้เปิดโดยผู้ปกครองต่อจากพระองค์นามว่า ฟาโรห์เนเฟริเตสที่ 1 แห่งเมนเดส และทรงถูกสำเร็จโทษที่เมืองเมมฟิส ซึ่งเป็นเหตุการณ์ที่ปรากฏใน ได้กล่าวเป็นนัยว่าน่าจะเกิดขึ้นในเดือนตุลาคม ราว 399 ปีก่อนคริสตกาล หลังจากนั้น ฟาโรห์เนเฟริเตสที่ 1 ก็ทรงย้ายเมืองหลวงไปยังเมืองเมนเดส (บริเวณอียิปต์ล่าง) ไม่ทราบข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการปกครอง การล่มสลายและการสวรรคตของ ฟาโรห์อไมร์เตอุสอีกเลย โดยฟาโรห์เนเฟริเตสที่ 1 ทรงครองราชย์จนถึง 393 ปีก่อนคริสตกาล และมีพระราชโอรสทรงสืบทอดราชสมบัติต่อในพระนามฟาโรห์ฮาคอร์
อ้างอิง
- อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ:1
- อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ:0
- "Amyrtaeus - Livius". www.livius.org (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2018-05-05.
- Clayton 1999, pp. 201, 203.
- (1909). "Ein altaramareischer Papyrus aus der Zeit der aegyptischen Koenigs Amyrtaeus", in Florilegium: ou, Recueil de travaux d'érudition dédiés à monsieur le marquis Melchior de Vogüé à l'occasion du quatre-vingtième anniversaire de sa naissance, 18 octobre 1909. Paris: Imprimerie Nationale. pp. 529-538.
- (1923). Aramaic papyri of the fifth century B.C. Oxford: Clarendon Press. pp. 129–131.
- Kuhrt, Amélie (2013-04-15). The Persian Empire: A Corpus of Sources from the Achaemenid Period (ภาษาอังกฤษ). Routledge. ISBN .
- Cimmino 2003, p. 388.
บรรณานุกรม
- Cimmino, Franco (2003). Dizionario delle Dinastie Faraoniche. Milan: Bompiani. ISBN .
- (1999). Chronicles of the Pharaohs. London: Thames and Hudson. ISBN .
- Lemaire, A. (1995). La fin de la première période perse in Égypte et la chronologie judéene vers 400 av. J.-C., Transeuphratène 9, Leuven: Peeters Publishers. pp. 51–61.
- Lloyd, Alan B. (2003). The Late Period, in The Oxford History of Ancient Egypt, edited by . Oxford: University Press. ISBN .
- Perdu, O. (2010). Saites and Persians (664—332), in A.B. Lloyd (ed.), A Companion to Ancient Egypt Chichester: Wiley-Blackwell. ISBN . pp. 140–58 (at pp. 153–7).
- Ray, J.D. (1987). Egypt: Dependence and Independence (425-343 B.C.), in: Achaemenid History I: Sources, Structures, and Syntheses, edited by H. Sancisi-Weerdenburg. Leiden: Nederlands Instituutvoor het Nabije Oosten. pp. 79–95.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
ximretxus krik Ἀmyrtaῖos Amyrtaios sungepnphranamphasakrik odymiphranamphasaxiyiptobranwa xemnxirdisu aehngsaxis epnfaorhaehngxiyiptobranephiyngphraxngkhediywcakrachwngsthiyisibaepdaehngxiyipt aelasnnisthanwanacamiswnekiywkhxngkbechuxphrawngsthimacakrachwngsthiyisibhkaehngxiyipt rahwang 664 525 pikxnkhristkal phraxngkhthrngtxtankaryudkhrxngkhxngchawepxresiykhrngaerkehnuxrachxanackrxiyiptidsaerc rachwngsthiyisibecdaehngxiyipt sungpkkhrxngrahwang 525 404 pikxnkhristkal aelathrngkhrxngrachytngaet 404 cnthung 399 pikxnkhristkal karthifaorhximretxusidthrnglukhuxtxtanckrwrrdixakhiemnidaelathrngprasbkhwamsaercnn idthaihrachxanackrxiyiptklbmamixisrphaphxikkhrngaelaepnkhrngsudthayinnamkhxngrthxisrakhxngchnphunemuxngchawxiyipt sungidkinrayaewlaippraman 60 pi cnkrathngchawepxresiyyudkhrxngrachxanackrxiyiptxikkhrngfaorhximretxusxemnxirdisu xmirithxxsaehngsaxis Ἀmyrtaῖos Saiths inphasakrikobran bnthukpapirusphasaxraemxikcakaexlelefnithn rabupithi 5 aehngkarkhrxngrachyfaorhximretxus 400 pikxnkhristkal faorhrchkal5 pi 404 pikxnkhristkal thung eduxntulakhm 399 pikxnkhristkalkxnhnathdipenefrietsthi 1phraprmaphiithyphranamprasutiỉmn ỉr dỉ s lt w gt xamunepnehtuihphraxngkhthukprathanswrrkhteduxntulakhm 399 pikxnkhristkalrachwngsrachwngsthiyisibaepdphrarachprawtihlkthanaelakarmitntw idkhanphranamkhxngphraxngkhwa ximrthixxs Amyrteos aetinkhnathi idkhanphranamkhxngphraxngkhwa xmirithxxs Amirtaios sungthngkhubnthukwa phraxngkhthrngkhrxngrachyepnrayaewla 6 pi inbnthukkhaphyakrnxiyiptobranhrux ekhiynkhunrawstwrrsthi 3 2 kxnkhristkal idklawwa phupkkhrxngphraxngkhaerkthipkkhrxngtxcakchawtangchatithiepnchawmiediy epxresiy khuxfaorhxemnxirdaxis xmirithxxs cakprachumphngsawdaredmxtik faorhximretxusnacaepnhlanchaykhxngximretxusaehngsaxis sungepnphunakarkxkbtrahwang 465 pikxnkhristkal aela 463 pikxnkhristkal txphupkkhrxngthxngthinkhxngkstriy rwmkbphupkkhrxngkbtnamwa phusungepnphrarachnddakhxngfaorh phraxngkhepnthithrabcakaehlngbnthukphasaxaraemkhaelakrikobran aelathukklawthunginprachumphngsawdaredmxtikwaepn phupkkhrxngthiaethbcaimmiikhrthrabely imthrabwaphraxngkhthrngmixnusawriyidbang aelaphranamkhxngphraxngkhinphasaxiyiptidrbkarkhnanphranamkhunihmcakkhabxkklawinprachumphngsawdaredmxtikethann imphbkarekhiynphranamkhxngphraxngkhaebbxksrxiyiptobran ehriyydarikkhxngkstriyxartaesxrsisthi 2 sungepnkstriythifaorhximretxusthrngkxkbtcakkabient ed emidll krungpariskarkxkbtaelakarkhrxngrachy kxnhnathiphraxngkhcathrngkhunkhrxngphrarachbllngkaehngxiyiptnn faorhximretxusidthrngkxkbttxkstriy aehngckrwrrdixakhiemnid pkkhrxngrahwang 423 404 pikxnkhristkal inchwngewlathierwthisudpraman 411 pikxnkhristkal odythrngepnphunakarrbaebbkxngocrinbriewndinaednsamehliympakaemnainlfngthangtawntkrxb emuxngsaxis sungepnsthanthiphrarachsmphphkhxngphraxngkh hlngcakkaresdcswrrkhtkhxngkstriydarixs faorhximretxuskthrngprakasphraxngkhkhunepnfaorhinchwng 404 pikxnkhristkal tamkhaklawkhxngixosekhrtis kstriy idthrngrwbrwmkxngthphinfiniesiyphayitbychakarkhxng ephuxyudxiyiptkhunhlngcakkhunkhrxngphrarachbllngkepxresiyidephiyngrayaewlaimnan aetpyhathangkaremuxngkb sungepnphraxnuchakhxngphraxngkhidkhdkhwangimihekidkarprabpramkbtinxiyipt cungplxyihchawxiyiptmiewlaephiyngphxthicathaihtnexnghludxxkcakkarpkkhrxngkhxngckrwwrdixakhiemnid inkhnathikarpkkhrxngkhxngfaorhximretxusinbriewndindxnsamehliympakaemnafngtawntkidsthapnakhuninchwng 404 pikxnkhristkal aetkstriyxartaesxrsisthi 2 kyngkhngthrngidrbkaryxmrbwaepnfaorhthiaexlelefnithncnthungchwng 401 pikxnkhristkal aetincakbriewndngklawidklawthung pithi 5 aehngkarkhrxngrachykhxngfaorhximretxusinchwngeduxnknyayn raw 400 pikxnkhristkal aelabnthukaehngaexlelefnithnyngidaesdngihehndwywainchwngrahwang 404 thung 400 pikxnkhristkal hrux 398 pikxnkhristkal xiyiptbnyngkhngxyuphayitkarpkkhrxngkhxngckrwrrdiepxresiyxyu inkhnathikxngkalngkhxngfaorhximretxusnnpkkhrxngxyuinbriewnsamehliympakaemnainl sfingskhxngfaorhenefrietsthi 1 cakphiphithphnthlufwr krungparis instwrrsthi 1 kxnkhristkal nkprawtisastrchawkriknamwa idbnthukiwin XIV 35 3 5 wa kstriyphraxngkhhnungphranamwa phsmetk Psamtik sungduehmuxncarabuthungfaorhximretxus bangthixacepn phsmetk phranamthisuyhayhayipkhxngphraxngkh sungidthrngsngharnayphlchawkriknamwa thamxs phusungidliphyinrachxanackrxiyipthlngcakkhwamphayaephkhxngkarkxkbtkhxngisrs hakkhxethccringnnthuktxngcathaihduehmuxnwa faorhximretxuscathrngkrathainlksnaniephuxthrngexaickstriyxartaesxrsisthi 2 aelaepnipidwafaorhximretxusthrngekhaipepnphnthmitrkbchawspartaodynywa xiyiptidrbkhwamchwyehluxthangthharcakspartaephuxaelkkbemldthyphuch karlmslayaelakarswrrkht faorhximretxusidthrngphayaephinkartxsuepidodyphupkkhrxngtxcakphraxngkhnamwa faorhenefrietsthi 1 aehngemneds aelathrngthuksaercothsthiemuxngemmfis sungepnehtukarnthipraktin idklawepnnywanacaekidkhunineduxntulakhm raw 399 pikxnkhristkal hlngcaknn faorhenefrietsthi 1 kthrngyayemuxnghlwngipyngemuxngemneds briewnxiyiptlang imthrabkhxmulephimetimekiywkbkarpkkhrxng karlmslayaelakarswrrkhtkhxng faorhximretxusxikely odyfaorhenefrietsthi 1 thrngkhrxngrachycnthung 393 pikxnkhristkal aelamiphrarachoxrsthrngsubthxdrachsmbtitxinphranamfaorhhakhxrxangxingxangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux 1 xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux 0 Amyrtaeus Livius www livius org phasaxngkvs subkhnemux 2018 05 05 Clayton 1999 pp 201 203 1909 Ein altaramareischer Papyrus aus der Zeit der aegyptischen Koenigs Amyrtaeus in Florilegium ou Recueil de travaux d erudition dedies a monsieur le marquis Melchior de Vogue a l occasion du quatre vingtieme anniversaire de sa naissance 18 octobre 1909 Paris Imprimerie Nationale pp 529 538 1923 Aramaic papyri of the fifth century B C Oxford Clarendon Press pp 129 131 Kuhrt Amelie 2013 04 15 The Persian Empire A Corpus of Sources from the Achaemenid Period phasaxngkvs Routledge ISBN 9781136017025 Cimmino 2003 p 388 brrnanukrmCimmino Franco 2003 Dizionario delle Dinastie Faraoniche Milan Bompiani ISBN 1999 Chronicles of the Pharaohs London Thames and Hudson ISBN Lemaire A 1995 La fin de la premiere periode perse in Egypte et la chronologie judeene vers 400 av J C Transeuphratene 9 Leuven Peeters Publishers pp 51 61 Lloyd Alan B 2003 The Late Period in The Oxford History of Ancient Egypt edited by Oxford University Press ISBN Perdu O 2010 Saites and Persians 664 332 in A B Lloyd ed A Companion to Ancient Egypt Chichester Wiley Blackwell ISBN pp 140 58 at pp 153 7 Ray J D 1987 Egypt Dependence and Independence 425 343 B C in Achaemenid History I Sources Structures and Syntheses edited by H Sancisi Weerdenburg Leiden Nederlands Instituutvoor het Nabije Oosten pp 79 95