พื้นที่สงวนชีวมณฑลโลกภายใต้โครงการมนุษย์และชีวมณฑล (Man and the Biosphere (MAB) Programme) ขององค์การยูเนสโก ในประเทศไทยมีทั้งสิ้น 5 แห่ง ได้แก่
- (Sakaerat Biosphere Reserve) จังหวัดนครราชสีมา ตั้งแต่ พ.ศ. 2519 เริ่มจากบริเวณพื้นที่ของสถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราชในปัจจุบัน ในเวลาต่อมาได้ขยายขอบเขตพื้นที่รอบนอก เพื่อการส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติในอนาคต ครอบคลุมพื้นที่ 5 ตำบลของอำเภอวังน้ำเขียว ( ตำบลอุดมทรัพย์ ตำบลวังน้ำเขียว ตำบลวังหมี ตำบลไทยสามัคคี และตำบลระเริง) และ 6 ตำบลในอำเภอปักธงชัย (ตำบลภูหลวง ตำบลตะขบ ตำบลตูม ตำบลสุขเกษม) เป็นแหล่งรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยสิ่งแวดล้อมในป่าเขตร้อน และเป็นสถานที่ศึกษาค้นคว้า วิจัยระบบนิเวศเป็นป่าดิบแล้งและป่าเต็งรัง
- (Mae Sa-Kog Ma Biosphere Reserve) จังหวัดเชียงใหม่ ตั้งแต่ พ.ศ. 2520 ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของอุทยานแห่งชาติ 3 แห่ง ได้แก่ อุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย อุทยานแห่งชาติออบขาน และอุทยานแห่งชาติขุนขาน จังหวัดเชียงใหม่ ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของอำเภอเมือง อำเภอแม่ริม อำเภอหางดง และอำเภอสะเมิง ประกอบด้วย 2 พื้นที่ลุ่มน้ำหลัก คือ ลุ่มน้ำแม่สาและลุ่มน้ำห้วยคอกม้า ซึ่งมีบทบาทสำคัญในการศึกษาและวิจัยทางด้านลุ่มน้ำธรรมชาติและอุทกวิทยา และเป็นต้นแบบของการจัดการลุ่มน้ำ รวมทั้งเป็นแหล่งที่มีความหลากหลายทางชีวภาพทั้งชนิดพันธุ์พืชและพันธุ์สัตว์
- พื้นที่สงวนชีวมณฑลป่าสักห้วยทาก (Hauy Tak Teak Biosphere Reserve) จังหวัดลำปาง ตั้งแต่ พ.ศ. 2520 ตั้งอยู่ที่ป่าสงวนแห่งชาติแม่งาว อำเภองาว จังหวัดลำปาง เป็นป่าไม้สักธรรมชาติที่เป็นแหล่งพันธุกรรมที่ดีที่สุดแห่งหนึ่งของโลก นอกจากนั้น ยังมีความหลากหลายทางวัฒนธรรมและคุณค่าในฐานะแหล่งโบราณคดีก่อนประวัติศาสตร์ อย่างแหล่งภาพเขียนสีประตูผา และแหล่งภาพเขียนโบรณาบ้านห้วยหก
- (Ranong Biosphere Reserve) จังหวัดระนอง ตั้งแต่ พ.ศ. 2540 เป็นพื้นที่สงวนชีวมณฑลที่มีระบบนิเวศแบบป่าชายเลนเป็นจุดเด่น ครอบคลุมพื้นที่ป่าชายเลนของอำเภอเมืองระนองที่มีคุณค่า ประกอบด้วยป่าชายเลนดั้งเดิมที่ไม่ผ่านการทำไม้ซึ่งคงเหลือไม่กี่แห่งในประเทศไทย โกงกางยักษ์อายุ 200 ปี ป่าชายเลนระนองมีความสำคัญในการรักษาความสมดุลของสภาพแวดล้อม ชายฝั่งทะเลเป็นแนวป้องกันลมพายุ และแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์น้ำนานาชนิด เป็นบริเวณที่มีการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับระบบนิเวศวิทยาป่าชายเลนมาเป็นเวลานานจนเป็นแบบอย่างของการค้นคว้าวิจัยให้กับพื้นที่อื่น ๆ
- พื้นที่สงวนชีวมณฑลดอยเชียงดาว (Doi Chiang Dao Biosphere Reserve) จังหวัดเชียงใหม่ ตั้งแต่ พ.ศ. 2564
อ้างอิง
- ข่าวดี! “ดอยเชียงดาว” เป็นพื้นที่สงวนชีวมณฑลแห่งใหม่ของโลกจากยูเนสโก
แหล่งข้อมูลอื่น
- พื้นที่สงวนชีวมณฑล
- สถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช
- สถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช
- พื้นที่สงวนชีวมณฑลแม่สา-คอกม้า
- พื้นที่สงวนชีวมณฑลระนอง
- Country Report : Kingdom of Thailand - UNESCO
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
phunthisngwnchiwmnthlolkphayitokhrngkarmnusyaelachiwmnthl Man and the Biosphere MAB Programme khxngxngkhkaryuensok inpraethsithymithngsin 5 aehng idaek Sakaerat Biosphere Reserve cnghwdnkhrrachsima tngaet ph s 2519 erimcakbriewnphunthikhxngsthaniwicysingaewdlxmsaaekrachinpccubn inewlatxmaidkhyaykhxbekhtphunthirxbnxk ephuxkarsngesrimkarmiswnrwminkarxnurksthrphyakrthrrmchatiinxnakht khrxbkhlumphunthi 5 tablkhxngxaephxwngnaekhiyw tablxudmthrphy tablwngnaekhiyw tablwnghmi tablithysamkhkhi aelatablraering aela 6 tablinxaephxpkthngchy tablphuhlwng tabltakhb tabltum tablsukheksm epnaehlngrwbrwmkhxmulekiywkbpccysingaewdlxminpaekhtrxn aelaepnsthanthisuksakhnkhwa wicyrabbniewsepnpadibaelngaelapaetngrng Mae Sa Kog Ma Biosphere Reserve cnghwdechiyngihm tngaet ph s 2520 khrxbkhlumphunthibangswnkhxngxuthyanaehngchati 3 aehng idaek xuthyanaehngchatidxysuethph puy xuthyanaehngchatixxbkhan aelaxuthyanaehngchatikhunkhan cnghwdechiyngihm khrxbkhlumphunthibangswnkhxngxaephxemuxng xaephxaemrim xaephxhangdng aelaxaephxsaeming prakxbdwy 2 phunthilumnahlk khux lumnaaemsaaelalumnahwykhxkma sungmibthbathsakhyinkarsuksaaelawicythangdanlumnathrrmchatiaelaxuthkwithya aelaepntnaebbkhxngkarcdkarlumna rwmthngepnaehlngthimikhwamhlakhlaythangchiwphaphthngchnidphnthuphuchaelaphnthustw phunthisngwnchiwmnthlpaskhwythak Hauy Tak Teak Biosphere Reserve cnghwdlapang tngaet ph s 2520 tngxyuthipasngwnaehngchatiaemngaw xaephxngaw cnghwdlapang epnpaimskthrrmchatithiepnaehlngphnthukrrmthidithisudaehnghnungkhxngolk nxkcaknn yngmikhwamhlakhlaythangwthnthrrmaelakhunkhainthanaaehlngobrankhdikxnprawtisastr xyangaehlngphaphekhiynsipratupha aelaaehlngphaphekhiynobrnabanhwyhk Ranong Biosphere Reserve cnghwdranxng tngaet ph s 2540 epnphunthisngwnchiwmnthlthimirabbniewsaebbpachayelnepncudedn khrxbkhlumphunthipachayelnkhxngxaephxemuxngranxngthimikhunkha prakxbdwypachayelndngedimthiimphankarthaimsungkhngehluximkiaehnginpraethsithy okngkangyksxayu 200 pi pachayelnranxngmikhwamsakhyinkarrksakhwamsmdulkhxngsphaphaewdlxm chayfngthaelepnaenwpxngknlmphayu aelaaehlngephaaphnthustwnananachnid epnbriewnthimikarsuksawicyekiywkbrabbniewswithyapachayelnmaepnewlanancnepnaebbxyangkhxngkarkhnkhwawicyihkbphunthixun phunthisngwnchiwmnthldxyechiyngdaw Doi Chiang Dao Biosphere Reserve cnghwdechiyngihm tngaet ph s 2564xangxingkhawdi dxyechiyngdaw epnphunthisngwnchiwmnthlaehngihmkhxngolkcakyuensokaehlngkhxmulxunphunthisngwnchiwmnthl sthaniwicysingaewdlxmsaaekrach sthaniwicysingaewdlxmsaaekrach phunthisngwnchiwmnthlaemsa khxkma phunthisngwnchiwmnthlranxng Country Report Kingdom of Thailand UNESCO