เนบิวลา (อังกฤษ: Nebula - มาจากภาษาละติน nebula (พหูพจน์ nebulae) หมายถึง "หมอก") เป็นกลุ่มเมฆหมอกของฝุ่น แก๊ส และพลาสมาในอวกาศ เดิมคำว่า "เนบิวลา" เป็นชื่อสามัญ ใช้เรียกวัตถุทางดาราศาสตร์ที่เป็นปื้นบนท้องฟ้าซึ่งรวมถึงดาราจักรที่อยู่ห่างไกลออกไปจากทางช้างเผือก (ตัวอย่างเช่น ในอดีตเคยเรียกดาราจักรแอนดรอเมดาว่าเนบิวลาแอนดรอเมดา)
ประเภทของเนบิวลา
เราอาจจำแนกเนบิวลาได้ตามลักษณะของการส่องสว่าง ดังนี้
เนบิวลาสว่าง
(Diffuse nebula) เป็นเนบิวลาที่มีลักษณะฟุ้ง มีแสงสว่างในตัวเอง แบ่งเป็น
เนบิวลาเปล่งแสง
(อังกฤษ: Emission nebula) เนบิวลาเรืองแสงเป็นเนบิวลาที่มีแสงสว่างในตัวเอง เกิดจากการเรืองแสงของอะตอมของไฮโดรเจนที่อยู่ในสถานะไอออน ในบริเวณ เนื่องจากได้รับความร้อนจากดาวฤกษ์ภายในเนบิวลา ซึ่งโดยทั่วไปแล้วก็คือดาวฤกษ์เกิดใหม่ที่เนบิวลานั้นสร้างขึ้นนั่นเอง การเรืองแสงนั้น เกิดขึ้นเนื่องจากอิเล็กตรอนอิสระกลับเข้าไปจับกับไอออนของไฮโดรเจน และคายพลังงานออกมาในช่วงคลื่นที่ต่างๆ โดยค่าความยาวคลื่น เป็นไปตามสมการ E=hc/λ เมื่อ E เป็นพลังงานที่อะตอมของไฮโดรเจนคายออกมา h เป็นค่าคงตัวของพลังค์ c เป็นความเร็วแสง และ λ เป็นความยาวคลื่น
เนื่องจากเนบิวลาเปล่งแสง จะเปล่งแสงในช่วงคลื่นที่เฉพาะตัวตามธาตุองค์ประกอบของเนบิวลา ทำให้มีสีต่างกัน และการวิเคราะห์สเปกตรัมของเนบิวลาชนิดนี้ จะพบว่าสเปกตรัมเป็นชนิดเส้นเปล่งแสง (Emission Lines) และสามารถวิเคราะห์ธาตุองค์ประกอบ หรือโมเลกุลที่เป็นส่วนประกอบของเนบิวลาได้อีกด้วย เนบิวลาชนิดนี้ ส่วนใหญ่จะมีสีแดงจากไฮโดรเจน และสีเขียวจากออกซิเจน บางครั้งอาจมีสีอื่นซึ่งเกิดจากอะตอม หรือโมเลกุลอื่น ๆ ตัวอย่างเนบิวลาเปล่งแสงได้แก่ เนบิวลาสว่างใหญ่ในกลุ่มดาวนายพราน (M42 Orion Nebula) เนบิวลาอเมริกาเหนือในกลุ่มดาวหงส์ (NGC7000 North America Nebula) เนบิวลาทะเลสาบในกลุ่มดาวคนยิงธนู (M8 Lagoon Nebula) เนบิวลากระดูกงูเรือ (Eta-Carinae Nebula) เป็นต้น
เนบิวลาสะท้อนแสง
เนบิวลาสะท้อนแสง (อังกฤษ: Reflection nebula) เนบิวลาสะท้อนแสงเป็นเนบิวลาที่มีแสงสว่างเช่นเดียวกับเนบิวลาเปล่งแสง แต่แสงจากเนบิวลาชนิดนี้นั้น เกิดจากการกระเจิงแสงจากดาวฤกษ์ใกล้เคียงที่ไม่ร้อนมากพอที่จะทำให้เนบิวลานั้นเปล่งแสง กระบวนการดังกล่าวทำให้เนบิวลาชนิดนี้มีสีฟ้า องค์ประกอบหลักของเนบิวลาชนิดนี้ที่ทำหน้าที่กระเจิงแสงจากดาวฤกษ์คือ (Interstellar dust) การกระเจิงแสงของฝุ่นระหว่างดาวเป็นกระบวนการเดียวกับการกระเจิงแสงของฝุ่นในบรรยากาศซึ่งทำให้ท้องฟ้ามีสีฟ้า ตัวอย่างเนบิวลาสะท้อนแสง เช่น เนบิวลาในกระจุกดาวลูกไก่บริเวณดาวเมโรเป เนบิวลาหัวแม่มด (Witch Head Nebula) เนบิวลา M78 ในกลุ่มดาวนายพราน เป็นต้น เนบิวลาชนิดนี้บางครั้งก็พบอยู่เป็นส่วนหนึ่งของเนบิวลาเปล่งแสง เช่น เนบิวลาสามแฉก (Trifid Nebula) ที่มีทั้งสีแดงจากไฮโดรเจน สีเขียวจากออกซิเจน และสีฟ้าจากการสะท้อนแสง เป็นต้น
เนบิวลาดาวเคราะห์
เนบิวลาดาวเคราะห์ (อังกฤษ: Planetary nebula) เนบิวลาดาวเคราะห์เป็นส่วนหนึ่งของวิวัฒนาการในช่วงสุดท้ายของดาวฤกษ์มวลน้อย และดาวฤกษ์มวลปานกลาง เมื่อมันเข้าสู่ช่วงสุดท้ายของชีวิต ไฮโดรเจนในแกนกลางหมดลง ส่งผลให้ปฏิกิริยาภายในแกนกลางยุติลงด้วย ทำให้ดาวฤกษ์เสียสมดุลระหว่างแรงดันออกจากความร้อนกับแรงโน้มถ่วง ทำให้แกนกลางของดาวยุบตัวลงเข้าหาศูนย์กลางเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของตัวมันเอง จนกระทั่งหยุดเนื่องจากแรงดันดีเจนเนอเรซีของอิเล็กตรอน กลายเป็นดาวแคระขาว เปลือกภายนอกและเนื้อสารของดาวจะหลุดออก และขยายตัวไปในอวกาศ เป็นเนบิวลาดาวเคราะห์ซึ่งไม่มีพลังงานอยู่ แต่มันสว่างขึ้นได้เนื่องจากได้รับพลังงานจากดาวแคระขาวที่อยู่ภายใน เมื่อเวลาผ่านไปดาวแคระขาวก็จะเย็นตัวลง และเนบิวลาดาวเคราะห์ก็จะขยายตัวไปเรื่อยๆ จนกระทั่งจางหายไปในอวกาศ
เนบิวลาดาวเคราะห์ไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องใดกับดาวเคราะห์ ชื่อนี้ได้มาจากลักษณะที่เป็นวงกลมขนาดเล็กคล้ายดาวเคราะห์เมื่อสังเกตจากกล้องโทรทรรศน์นั่นเอง ตัวอย่างของเนบิวลาชนิดนี้ได้แก่ เนบิวลาวงแหวน ในกลุ่มดาวพิณ (M57 Ring Nebula) (M27 Dumbbell Nebula) เนบิวลาตาแมว (Cat’s eye Nebula) (Helix Nebula) เป็นต้น
ซากซูเปอร์โนวา
ซากซูเปอร์โนวา (อังกฤษ: Supernova remnant) สำหรับดาวฤกษ์มวลมากนั้น จุดจบของดาวจะรุนแรงกว่าดาวฤกษ์มวลน้อยและมวลปานกลางเป็นอย่างมาก ดาวจะสามารถจุดปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชันของธาตุที่หนักกว่าไฮโดรเจนและฮีเลียมได้ จนกระทั่งเกิดขี้เถ้าเหล็กขึ้นในในกลางของแกนดาวเหล็กเป็นธาตุที่มีความพิเศษ เนื่องจากไม่ว่าอุณหภูมิจะสูงเท่าใด ก็จะไม่สามารถฟิวชันเหล็กให้เป็นธาตุอื่นได้อีก เมื่อความดันที่แกนสูงขึ้นเกินกว่าแรงดันดีเจนเนอเรซีของอิเล็กตรอนจะต้านไหว อิเล็กตรอนทั้งหมดจะถูกอัดรวมกับโปรตอนกลายเป็นนิวตรอน และอนุภาคนิวตริโน ทำให้อิเล็กตรอนในแกนกลางหายไปจนเกือบหมด แรงดันดีเจนเนอเรซีของอิเล็กตรอนที่ทำให้แกนกลางคงสภาพอยู่ได้นั้นก็หายไปด้วย ทำให้แรงโน้มถ่วงอัดแกนกลางลงเป็นดาวนิวตรอนในทันที เกิดคลื่นกระแทกพลังงานสูงมาก กระจายออกมาในทุกทิศทาง ปลดปล่อยพลังงานออกมามากกว่าดาราจักรทั้งดาราจักร สาดผิวดาวและเนื้อสารออกไปในอวกาศด้วยความเร็วสูงมาก แรงดันที่สูงมากนี้ทำให้เกิดธาตุหนักเช่นทองคำขึ้นได้ เรียกการระเบิดครั้งสุดท้ายของดาวนี้ว่า ซูเปอร์โนวา
ซากที่เหลืออยู่ของแกนกลางจะประกอบไปด้วยนิวตรอนทั้งดวง เรียกว่า ดาวนิวตรอน ซึ่งมีความหนาแน่นสูงมาก ดาวนิวตรอนทั่วไปมีขนาดราว 10-20 กิโลเมตร แต่มีมวลเท่ากับดวงอาทิตย์ทั้งดวง เนื้อสารของดาวนิวตรอน 1 ช้อนชา มีมวลถึง 120 ล้านตัน แกนกลางนี้เข้าสู่สมดุลใหม่ จากแรงดันดีเจนเนอเรซีของนิวตรอน แต่ในบางกรณีที่ดาวฤกษ์มีมวลสูงมาก คือมากกว่า 18 เท่าของมวลดวงอาทิตย์ เศษซากจากซูเปอร์โนวาจะตกกลับลงไปบนดาวนิวตรอน จนดาวนิวตรอนมีมวลเกินกว่า 3 เท่าของมวลดวงอาทิตย์ ซึ่งเกินขีดจำกัดของดาวนิวตรอน ทำให้ดาวนิวตรอนยุบตัวลงกลายเป็น หลุมดำ
สำหรับซากของผิวดาวและเนื้อสารของดาวฤกษ์ที่ถูกสาดออกมาเนื่องจากซูเปอร์โนวานั้น จะเหลือเป็นซากซูเปอร์โนวา ซึ่งเปรียบเสมือนอนุสาวรีย์ของดาวฤกษ์มวลมาก ตัวอย่างซากซูเปอร์โนวาที่สำคัญ ได้แก่ เนบิวลาปู (M1 Crab Nebula) ในกลุ่มดาววัว ซึ่งเป็นซากของซูเปอร์โนวาที่เกิดขึ้นหลายพันปีก่อน และถูกบันทึกไว้ในบันทึกของชาวจีน (Veil Nebula) ในกลุ่มดาวหงส์ ซากของซูเปอร์โนวาทีโค (SN1572 Tycho’s nova) ซากของซูเปอร์โนวาเคปเลอร์ (SN1640 Kepler’s nova) ซากของซูเปอร์โนวา SN1987A เป็นต้น
การศึกษาซากซูเปอร์โนวานั้น จะช่วยให้นักดาราศาสตร์สามารถคำนวณย้อนกลับเพื่อหาอายุของซากได้ ทำให้สามารถรู้เวลาที่เกิดซูเปอร์โนวาในอดีต จากการคำนวณความเร็วของคลื่นกระแทกได้อีกด้วย
เนบิวลามืด
เนบิวลามืด (อังกฤษ: Dark nebula) เนบิวลามืดมีองค์ประกอบหลักเป็นฝุ่นหนาเช่นเดียวกับเนบิวลาสะท้อนแสง แต่เนบิวลามืดนี้ไม่มีแหล่งกำเนิดแสงอยู่ภายในหรือโดยรอบ ทำให้ไม่มีแสงสว่าง เราจะสามารถสังเกตเห็นเนบิวลามืดได้เมื่อมีเนบิวลาสว่าง หรือดาวฤกษ์จำนวนมากเป็นฉากหลัง จะปรากฏเนบิวลามืดขึ้นเป็นเงามืดด้านหน้าดาวฤกษ์หรือเนบิวลาสว่างเหล่านั้น ตัวอย่างเนบิวลามืดที่มีฉากหลังเป็นเนบิวลาสว่าง เช่น อันโด่งดังในกลุ่มดาวนายพราน (Horse Head Nebula) เป็นต้น และตัวอย่างของเนบิวลามืดที่มีฉากหลังเป็นดาวฤกษ์จำนวนมาก เช่น (B72 Snake Nebula) เป็นต้น
ฟิสิกส์ดาราศาสตร์ของเนบิวลา
บริเวณเอช 2 เป็นแหล่งกำเนิดดาวฤกษ์ ก่อตัวขึ้นเมื่อเมฆโมเลกุลเริ่มยุบตัวลงภายใต้ความโน้มถ่วงของตนเอง มักมีสาเหตุจากการระเบิดของซูเปอร์โนวาใกล้เคียง การชนของเมฆและฝุ่นเหล่านั้น บางครั้งก็อาจก่อให้เกิดดาวฤกษ์นับร้อย ๆ ดวง ดาวที่เกิดใหม่นี้จะทำให้แก๊สโดยรอบแตกตัวเป็นไอออน เป็นผลให้เกิดเนบิวลาเปล่งแสงในเวลาต่อมา
เนบิวลาชนิดอื่น ๆ เกิดจากดาวฤกษ์ที่ตายแล้ว ซึ่งหมายถึงดาวที่มีพัฒนาการไปถึงขั้นของการเปลี่ยนแปลงไปสู่ดาวแคระขาว มีการเป่าชั้นผิวด้านนอกของดาวออกไปโดยรอบจนเกิดเป็นเนบิวลาดาวเคราะห์ สำหรับโนวาและซูเปอร์โนวานั้น สามารถก่อให้เกิดเนบิวลาได้เช่นกัน เรียกว่าซากโนวาและซากซูเปอร์โนวาตามลำดับ
ดูเพิ่ม
แหล่งข้อมูลอื่น
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
enbiwla xngkvs Nebula macakphasalatin nebula phhuphcn nebulae hmaythung hmxk epnklumemkhhmxkkhxngfun aeks aelaphlasmainxwkas edimkhawa enbiwla epnchuxsamy icheriykwtthuthangdarasastrthiepnpunbnthxngfasungrwmthungdarackrthixyuhangiklxxkipcakthangchangephuxk twxyangechn inxditekhyeriykdarackraexndrxemdawaenbiwlaaexndrxemda exncisi 604 epnenbiwlathixyuphayinaekhnkhxngdarackrexm 33 M33 inklumdawsamehliym xyuhangcakolk 2 7 lanpiaesng enbiwlaniepnbriewnkxtwkhxngdawvksdwngihmenbiwlanalikathray MyCn18 epnenbiwladawekhraahxayunxy xyuhangcakolkpraman 8 000 piaesng phaphnithaydwyklxngthayphaphthitidtngbnklxngothrthrrsnxwkashbebilkhxngxngkhkarnasapraephthkhxngenbiwlaeraxaccaaenkenbiwlaidtamlksnakhxngkarsxngswang dngni enbiwlaswang Diffuse nebula epnenbiwlathimilksnafung miaesngswangintwexng aebngepn enbiwlaeplngaesng xngkvs Emission nebula enbiwlaeruxngaesngepnenbiwlathimiaesngswangintwexng ekidcakkareruxngaesngkhxngxatxmkhxngihodrecnthixyuinsthanaixxxn inbriewn enuxngcakidrbkhwamrxncakdawvksphayinenbiwla sungodythwipaelwkkhuxdawvksekidihmthienbiwlannsrangkhunnnexng kareruxngaesngnn ekidkhunenuxngcakxielktrxnxisraklbekhaipcbkbixxxnkhxngihodrecn aelakhayphlngnganxxkmainchwngkhlunthitang odykhakhwamyawkhlun epniptamsmkar E hc l emux E epnphlngnganthixatxmkhxngihodrecnkhayxxkma h epnkhakhngtwkhxngphlngkh c epnkhwamerwaesng aela l epnkhwamyawkhlun enuxngcakenbiwlaeplngaesng caeplngaesnginchwngkhlunthiechphaatwtamthatuxngkhprakxbkhxngenbiwla thaihmisitangkn aelakarwiekhraahsepktrmkhxngenbiwlachnidni caphbwasepktrmepnchnidesneplngaesng Emission Lines aelasamarthwiekhraahthatuxngkhprakxb hruxomelkulthiepnswnprakxbkhxngenbiwlaidxikdwy enbiwlachnidni swnihycamisiaedngcakihodrecn aelasiekhiywcakxxksiecn bangkhrngxacmisixunsungekidcakxatxm hruxomelkulxun twxyangenbiwlaeplngaesngidaek enbiwlaswangihyinklumdawnayphran M42 Orion Nebula enbiwlaxemrikaehnuxinklumdawhngs NGC7000 North America Nebula enbiwlathaelsabinklumdawkhnyingthnu M8 Lagoon Nebula enbiwlakraduknguerux Eta Carinae Nebula epntn enbiwlasathxnaesng enbiwlasathxnaesng xngkvs Reflection nebula enbiwlasathxnaesngepnenbiwlathimiaesngswangechnediywkbenbiwlaeplngaesng aetaesngcakenbiwlachnidninn ekidcakkarkraecingaesngcakdawvksiklekhiyngthiimrxnmakphxthicathaihenbiwlanneplngaesng krabwnkardngklawthaihenbiwlachnidnimisifa xngkhprakxbhlkkhxngenbiwlachnidnithithahnathikraecingaesngcakdawvkskhux Interstellar dust karkraecingaesngkhxngfunrahwangdawepnkrabwnkarediywkbkarkraecingaesngkhxngfuninbrryakassungthaihthxngfamisifa twxyangenbiwlasathxnaesng echn enbiwlainkracukdawlukikbriewndawemorep enbiwlahwaemmd Witch Head Nebula enbiwla M78 inklumdawnayphran epntn enbiwlachnidnibangkhrngkphbxyuepnswnhnungkhxngenbiwlaeplngaesng echn enbiwlasamaechk Trifid Nebula thimithngsiaedngcakihodrecn siekhiywcakxxksiecn aelasifacakkarsathxnaesng epntn enbiwladawekhraah enbiwladawekhraah xngkvs Planetary nebula enbiwladawekhraahepnswnhnungkhxngwiwthnakarinchwngsudthaykhxngdawvksmwlnxy aeladawvksmwlpanklang emuxmnekhasuchwngsudthaykhxngchiwit ihodrecninaeknklanghmdlng sngphlihptikiriyaphayinaeknklangyutilngdwy thaihdawvksesiysmdulrahwangaerngdnxxkcakkhwamrxnkbaerngonmthwng thaihaeknklangkhxngdawyubtwlngekhahasunyklangenuxngcakaerngonmthwngkhxngtwmnexng cnkrathnghyudenuxngcakaerngdndiecnenxersikhxngxielktrxn klayepndawaekhrakhaw epluxkphaynxkaelaenuxsarkhxngdawcahludxxk aelakhyaytwipinxwkas epnenbiwladawekhraahsungimmiphlngnganxyu aetmnswangkhunidenuxngcakidrbphlngngancakdawaekhrakhawthixyuphayin emuxewlaphanipdawaekhrakhawkcaeyntwlng aelaenbiwladawekhraahkcakhyaytwiperuxy cnkrathngcanghayipinxwkas enbiwladawekhraahimidmiswnekiywkhxngidkbdawekhraah chuxniidmacaklksnathiepnwngklmkhnadelkkhlaydawekhraahemuxsngektcakklxngothrthrrsnnnexng twxyangkhxngenbiwlachnidniidaek enbiwlawngaehwn inklumdawphin M57 Ring Nebula M27 Dumbbell Nebula enbiwlataaemw Cat s eye Nebula Helix Nebula epntn saksuepxronwa saksuepxronwa xngkvs Supernova remnant sahrbdawvksmwlmaknn cudcbkhxngdawcarunaerngkwadawvksmwlnxyaelamwlpanklangepnxyangmak dawcasamarthcudptikiriyaniwekhliyrfiwchnkhxngthatuthihnkkwaihodrecnaelahieliymid cnkrathngekidkhiethaehlkkhunininklangkhxngaekndawehlkepnthatuthimikhwamphiess enuxngcakimwaxunhphumicasungethaid kcaimsamarthfiwchnehlkihepnthatuxunidxik emuxkhwamdnthiaeknsungkhunekinkwaaerngdndiecnenxersikhxngxielktrxncatanihw xielktrxnthnghmdcathukxdrwmkboprtxnklayepnniwtrxn aelaxnuphakhniwtrion thaihxielktrxninaeknklanghayipcnekuxbhmd aerngdndiecnenxersikhxngxielktrxnthithaihaeknklangkhngsphaphxyuidnnkhayipdwy thaihaerngonmthwngxdaeknklanglngepndawniwtrxninthnthi ekidkhlunkraaethkphlngngansungmak kracayxxkmainthukthisthang pldplxyphlngnganxxkmamakkwadarackrthngdarackr sadphiwdawaelaenuxsarxxkipinxwkasdwykhwamerwsungmak aerngdnthisungmaknithaihekidthatuhnkechnthxngkhakhunid eriykkarraebidkhrngsudthaykhxngdawniwa suepxronwa sakthiehluxxyukhxngaeknklangcaprakxbipdwyniwtrxnthngdwng eriykwa dawniwtrxn sungmikhwamhnaaennsungmak dawniwtrxnthwipmikhnadraw 10 20 kiolemtr aetmimwlethakbdwngxathitythngdwng enuxsarkhxngdawniwtrxn 1 chxncha mimwlthung 120 lantn aeknklangniekhasusmdulihm cakaerngdndiecnenxersikhxngniwtrxn aetinbangkrnithidawvksmimwlsungmak khuxmakkwa 18 ethakhxngmwldwngxathity esssakcaksuepxronwacatkklblngipbndawniwtrxn cndawniwtrxnmimwlekinkwa 3 ethakhxngmwldwngxathity sungekinkhidcakdkhxngdawniwtrxn thaihdawniwtrxnyubtwlngklayepn hlumda sahrbsakkhxngphiwdawaelaenuxsarkhxngdawvksthithuksadxxkmaenuxngcaksuepxronwann caehluxepnsaksuepxronwa sungepriybesmuxnxnusawriykhxngdawvksmwlmak twxyangsaksuepxronwathisakhy idaek enbiwlapu M1 Crab Nebula inklumdawww sungepnsakkhxngsuepxronwathiekidkhunhlayphnpikxn aelathukbnthukiwinbnthukkhxngchawcin Veil Nebula inklumdawhngs sakkhxngsuepxronwathiokh SN1572 Tycho s nova sakkhxngsuepxronwaekhpelxr SN1640 Kepler s nova sakkhxngsuepxronwa SN1987A epntn karsuksasaksuepxronwann cachwyihnkdarasastrsamarthkhanwnyxnklbephuxhaxayukhxngsakid thaihsamarthruewlathiekidsuepxronwainxdit cakkarkhanwnkhwamerwkhxngkhlunkraaethkidxikdwy enbiwlamud enbiwlamud xngkvs Dark nebula enbiwlamudmixngkhprakxbhlkepnfunhnaechnediywkbenbiwlasathxnaesng aetenbiwlamudniimmiaehlngkaenidaesngxyuphayinhruxodyrxb thaihimmiaesngswang eracasamarthsngektehnenbiwlamudidemuxmienbiwlaswang hruxdawvkscanwnmakepnchakhlng capraktenbiwlamudkhunepnengamuddanhnadawvkshruxenbiwlaswangehlann twxyangenbiwlamudthimichakhlngepnenbiwlaswang echn xnodngdnginklumdawnayphran Horse Head Nebula epntn aelatwxyangkhxngenbiwlamudthimichakhlngepndawvkscanwnmak echn B72 Snake Nebula epntnfisiksdarasastrkhxngenbiwlabriewnexch 2 epnaehlngkaeniddawvks kxtwkhunemuxemkhomelkulerimyubtwlngphayitkhwamonmthwngkhxngtnexng mkmisaehtucakkarraebidkhxngsuepxronwaiklekhiyng karchnkhxngemkhaelafunehlann bangkhrngkxackxihekiddawvksnbrxy dwng dawthiekidihmnicathaihaeksodyrxbaetktwepnixxxn epnphlihekidenbiwlaeplngaesnginewlatxma enbiwlachnidxun ekidcakdawvksthitayaelw sunghmaythungdawthimiphthnakaripthungkhnkhxngkarepliynaeplngipsudawaekhrakhaw mikarepachnphiwdannxkkhxngdawxxkipodyrxbcnekidepnenbiwladawekhraah sahrbonwaaelasuepxronwann samarthkxihekidenbiwlaidechnkn eriykwasakonwaaelasaksuepxronwatamladbduephimbriewnexch 2 emkhaemeclaeln wtthuthxngfakhxngemssieyraehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb enbiwla http fusedweb pppl gov