ในคณิตศาสตร์ สมบัติการเปลี่ยนหมู่ (อังกฤษ: associativity) เป็นสมบัติหนึ่งที่สามารถมีได้ของการดำเนินการทวิภาค ซึ่งนิพจน์ที่มีตัวดำเนินการเดียวกันตั้งแต่สองตัวขึ้นไป การดำเนินการสามารถกระทำได้โดยไม่สำคัญว่าลำดับของตัวถูกดำเนินการจะเป็นอย่างไร นั่นหมายความว่า การใส่วงเล็บเพื่อบังคับลำดับการคำนวณในนิพจน์ จะไม่ส่งผลต่อผลลัพธ์สุดท้าย ตัวอย่างเช่น
- (5 + 2) + 1 = 5 + (2 + 1) = 8
นิพจน์ข้างซ้ายจะบวก 5 กับ 2 ก่อนแล้วค่อยบวก 1 ส่วนนิพจน์ข้างขวาจะบวก 2 กับ 1 ก่อนแล้วค่อยบวก 5 ไม่ว่าลำดับของวงเล็บจะเป็นอย่างไร ผลบวกของนิพจน์ก็เท่ากับ 8 ไม่เปลี่ยนแปลง และเนื่องจากสมบัตินี้เป็นจริงในการบวกของจำนวนจริงใด ๆ เรากล่าวว่า การบวกของจำนวนจริงเป็นการดำเนินการที่ เปลี่ยนหมู่ได้ (associative)
ไม่ควรสับสนระหว่างสมบัติการเปลี่ยนหมู่กับสมบัติการสลับที่ สมบัติการสลับที่เป็นการเปลี่ยนลำดับของตัวถูกดำเนินการในนิพจน์ ในขณะที่สมบัติการเปลี่ยนหมู่ไม่ได้สลับตัวถูกดำเนินการเหล่านั้น เพียงแค่เปลี่ยนลำดับการคำนวณ เช่นตัวอย่างต่อไปนี้
- (5 + 2) + 1 = (2 + 5) + 1
ไม่ใช่ตัวอย่างของสมบัติการเปลี่ยนหมู่ เพราะว่า 2 กับ 5 สลับที่กัน
การดำเนินการเปลี่ยนหมู่ได้มีมากมายในคณิตศาสตร์ และด้วยข้อเท็จจริงที่ว่าส่วนใหญ่จำเป็นต้องมีการดำเนินการทวิภาคที่เปลี่ยนหมู่ได้เป็นส่วนประกอบ อย่างไรก็ตามการดำเนินการหลายอย่างที่สำคัญก็ เปลี่ยนหมู่ไม่ได้ หรือ ไม่เปลี่ยนหมู่ (non-associative) เช่นผลคูณไขว้ของเวกเตอร์วิคเตอร์ โรเนลเเมสซี
นิยาม
กำหนดการดำเนินการทวิภาค ∗ บนเซต S เราจะกล่าวว่าการดำเนินการนั้น เปลี่ยนหมู่ได้ ถ้าหาก
และเนื่องจากลำดับของการดำเนินการไม่มีความสำคัญ เราจึงอาจไม่จำเป็นต้องใส่วงเล็บ ดังนี้
อย่างไรก็ตาม สิ่งสำคัญที่จะต้องจดจำคือ การเปลี่ยนลำดับของการดำเนินการจะต้องไม่ทำให้ตัวถูกดำเนินการเปลี่ยนตำแหน่งไปภายในนิพจน์
กำหนด f : A×A → B เราจะกล่าวว่าฟังก์ชันนั้น เปลี่ยนหมู่ได้ ถ้าหาก
ตัวอย่าง
ตัวอย่างบางส่วนของการดำเนินการเปลี่ยนหมู่มีดังนี้
- การบวกและการคูณของจำนวนเชิงซ้อนและควอเทอร์เนียนก็สามารถเปลี่ยนหมู่ได้ สำหรับการบวกของออกโทเนียนนั้นเปลี่ยนหมู่ได้ แต่การคูณของออกโทเนียนไม่เปลี่ยนหมู่
- ฟังก์ชันตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อยก็เปลี่ยนหมู่ได้
- เนื่องจากคือฟังก์ชันที่สามารถนำเสนอได้ด้วยการคูณเมทริกซ์ ซึ่งเป็นการนำเสนอของการประกอบฟังก์ชัน ดังนั้นเราจึงสามารถสรุปได้ทันทีว่าการคูณเมทริกซ์สามารถเปลี่ยนหมู่ได้
- อินเตอร์เซกชันและยูเนียนของเซต สามารถเปลี่ยนหมู่ได้ดังนี้
- ถ้า M เป็นเซตเซตหนึ่ง และ S แทนเซตของฟังก์ชันทั้งหมดจาก M ไปยัง M แล้วการดำเนินการของบน S เปลี่ยนหมู่ได้
- ในกรณีทั่วไป กำหนดให้เซต M, N, P, Q และการจับคู่ h : M → N, g: N → P, f: P → Q, แล้ว
ดังนั้น การจับคู่จึงเป็นการดำเนินการเปลี่ยนหมู่ได้เสมอ
การดำเนินการไม่เปลี่ยนหมู่
กำหนดการดำเนินการทวิภาค ∗ บนเซต S เราจะกล่าวว่าการดำเนินการนั้น เปลี่ยนหมู่ไม่ได้ ถ้าหาก
การดำเนินการเช่นนั้น ลำดับของการคำนวณจึงมีความสำคัญ เช่นการลบ การหาร และการยกกำลัง
เครื่องหมายวงเล็บจึงถูกใช้เพื่อแสดงลำดับของการดำเนินการ เมื่อมีการดำเนินการเหล่านี้มากกว่าหนึ่งครั้งในนิพจน์ อย่างไรก็ตาม นักคณิตศาสตร์ได้ยอมรับลำดับความสำคัญของการดำเนินการที่ไม่เปลี่ยนหมู่หลายชนิด เป็นหลักการในการเขียนเพื่อหลีกเลี่ยงการใช้วงเล็บ แบ่งออกได้เป็นสองประเภท ได้แก่การดำเนินการที่จัดกลุ่มทางซ้าย
และการดำเนินการที่จัดกลุ่มทางขวา
ดูเพิ่ม
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
inkhnitsastr smbtikarepliynhmu xngkvs associativity epnsmbtihnungthisamarthmiidkhxngkardaeninkarthwiphakh sungniphcnthimitwdaeninkarediywkntngaetsxngtwkhunip kardaeninkarsamarthkrathaidodyimsakhywaladbkhxngtwthukdaeninkarcaepnxyangir nnhmaykhwamwa kariswngelbephuxbngkhbladbkarkhanwninniphcn caimsngphltxphllphthsudthay twxyangechn 5 2 1 5 2 1 8 dd niphcnkhangsaycabwk 5 kb 2 kxnaelwkhxybwk 1 swnniphcnkhangkhwacabwk 2 kb 1 kxnaelwkhxybwk 5 imwaladbkhxngwngelbcaepnxyangir phlbwkkhxngniphcnkethakb 8 imepliynaeplng aelaenuxngcaksmbtiniepncringinkarbwkkhxngcanwncringid eraklawwa karbwkkhxngcanwncringepnkardaeninkarthi epliynhmuid associative imkhwrsbsnrahwangsmbtikarepliynhmukbsmbtikarslbthi smbtikarslbthiepnkarepliynladbkhxngtwthukdaeninkarinniphcn inkhnathismbtikarepliynhmuimidslbtwthukdaeninkarehlann ephiyngaekhepliynladbkarkhanwn echntwxyangtxipni 5 2 1 2 5 1 dd imichtwxyangkhxngsmbtikarepliynhmu ephraawa 2 kb 5 slbthikn kardaeninkarepliynhmuidmimakmayinkhnitsastr aeladwykhxethccringthiwaswnihycaepntxngmikardaeninkarthwiphakhthiepliynhmuidepnswnprakxb xyangirktamkardaeninkarhlayxyangthisakhyk epliynhmuimid hrux imepliynhmu non associative echnphlkhunikhwkhxngewketxrwikhetxr orenleemssiniyamkahndkardaeninkarthwiphakh bnest S eracaklawwakardaeninkarnn epliynhmuid thahak x y z S x y z x y z displaystyle forall x y z in S x y z x y z dd aelaenuxngcakladbkhxngkardaeninkarimmikhwamsakhy eracungxacimcaepntxngiswngelb dngni x y z displaystyle x y z dd xyangirktam singsakhythicatxngcdcakhux karepliynladbkhxngkardaeninkarcatxngimthaihtwthukdaeninkarepliyntaaehnngipphayinniphcn kahnd f A A B eracaklawwafngkchnnn epliynhmuid thahak x y z A f f x y z f x f y z displaystyle forall x y z in A f f x y z f x f y z dd twxyangtwxyangbangswnkhxngkardaeninkarepliynhmumidngni inelkhkhnit karbwkaelakarkhunsamarthepliynhmuid x y z x y z x y z xy z x yz xyz x y z R displaystyle left begin matrix x y z x y z x y z quad x y z x y z x y z qquad qquad qquad quad end matrix right forall x y z in mathbb R dd karbwkaelakarkhunkhxngcanwnechingsxnaelakhwxethxreniynksamarthepliynhmuid sahrbkarbwkkhxngxxkotheniynnnepliynhmuid aetkarkhunkhxngxxkotheniynimepliynhmu fngkchntwharrwmmakaelatwkhunrwmnxykepliynhmuidgcd gcd x y z gcd x gcd y z gcd x y z lcm lcm x y z lcm x lcm y z lcm x y z x y z Z displaystyle left begin matrix operatorname gcd operatorname gcd x y z operatorname gcd x operatorname gcd y z operatorname gcd x y z quad operatorname lcm operatorname lcm x y z operatorname lcm x operatorname lcm y z operatorname lcm x y z quad end matrix right forall x y z in mathbb Z dd enuxngcakkhuxfngkchnthisamarthnaesnxiddwykarkhunemthriks sungepnkarnaesnxkhxngkarprakxbfngkchn dngnneracungsamarthsrupidthnthiwakarkhunemthrikssamarthepliynhmuid xinetxreskchnaelayueniynkhxngest samarthepliynhmuiddngni A B C A B C A B C A B C A B C A B C for all sets A B C displaystyle left begin matrix A cap B cap C A cap B cap C A cap B cap C quad A cup B cup C A cup B cup C A cup B cup C quad end matrix right mbox for all sets A B C dd tha M epnestesthnung aela S aethnestkhxngfngkchnthnghmdcak M ipyng M aelwkardaeninkarkhxngbn S epliynhmuid f g h f g h f g h f g h S displaystyle f circ g circ h f circ g circ h f circ g circ h qquad forall f g h in S dd inkrnithwip kahndihest M N P Q aelakarcbkhu h M N g N P f P Q aelw f g h f g h f g h displaystyle f circ g circ h f circ g circ h f circ g circ h dd dngnn karcbkhucungepnkardaeninkarepliynhmuidesmxkardaeninkarimepliynhmukahndkardaeninkarthwiphakh bnest S eracaklawwakardaeninkarnn epliynhmuimid thahak x y z S x y z x y z displaystyle exists x y z in S x y z neq x y z dd kardaeninkarechnnn ladbkhxngkarkhanwncungmikhwamsakhy echnkarlb karhar aelakarykkalng 5 3 2 5 3 2 displaystyle 5 3 2 neq 5 3 2 4 2 2 4 2 2 displaystyle 4 div 2 div 2 neq 4 div 2 div 2 2 12 21 2 displaystyle 2 1 2 neq 2 1 2 dd ekhruxnghmaywngelbcungthukichephuxaesdngladbkhxngkardaeninkar emuxmikardaeninkarehlanimakkwahnungkhrnginniphcn xyangirktam nkkhnitsastridyxmrbladbkhwamsakhykhxngkardaeninkarthiimepliynhmuhlaychnid epnhlkkarinkarekhiynephuxhlikeliyngkarichwngelb aebngxxkidepnsxngpraephth idaekkardaeninkarthicdklumthangsay x y z x y zw x y z w x y zetc w x y z S displaystyle left begin matrix x y z x y z qquad qquad quad w x y z w x y z quad mbox etc qquad qquad qquad qquad qquad qquad end matrix right forall w x y z in S dd aelakardaeninkarthicdklumthangkhwa x y z x y z w x y z w x y z etc w x y z S displaystyle left begin matrix x y z x y z qquad qquad quad w x y z w x y z quad mbox etc qquad qquad qquad qquad qquad qquad end matrix right forall w x y z in S dd duephimsmbtikarslbthi smbtikaraeckaecng