สารชูรส (อังกฤษ: flavour enhancers) หรือ ผงชูรส เป็นวัตถุเจือปนอาหารที่ใส่เพื่อเพิ่มรสชาติของอาหาร ในวัฒนธรรมตะวันตกรสชาติที่ห้าหรืออุมะมิ ไม่ได้รับการยอมรับมาเป็นเวลานาน กล่าวกันว่าผงชูรสไม่มีรสชาติของตัวเอง แต่กระตุ้นการทำงานของอุมะมิ และทำให้ผู้ทานผงชูรสรู้สึกถึงรสชาติอาหารที่ดีขึ้น
สารชูรสที่ใช้กันมานานได้แก่กรดกลูตามิกและเกลือของมัน ซึ่งเป็นกรดอะมิโนที่พบได้ในอาหารหลายชนิดในธรรมชาติ มีรายงานว่าการรับประทานสารชูรสในกลุ่มกรดกลูตามิกอาจก่อให้เกิดอาการภัตตาคารจีน (Chinese Restaurant Syndrome; CRS)ในผู้บริโภคบางกลุ่มได้ ซึ่งปัจจุบันยังเป็นที่ถกเถียงกันในทางการแพทย์ ทั้งนี้สารชูรสกลุ่มกรดกลูตามิกเป็นวัตถุเจือปนอาหารควบคุมในหลายประเทศ ผู้ผลิตอาหารสำเร็จรูปต้องระบุไว้บนฉลากให้ชัดเจนเพื่อเป็นข้อมูลให้กับผู้บริโภค
นอกจากกรดกลูตามิกแล้วกรดอะมิโนชนิดอื่นๆ เช่น ไกลซีนและลิวซีน ก็ทำหน้าที่เป็นสารชูรสได้ รวมไปถึงเกลือของนิวคลีโอไทด์ เช่น GMP และ IMP
สารชูรสในระบบ E-number
วัตถุเจือปนอาหารต่อไปนี้ใช้เป็นผงชูรส (เรียงตามลำดับ ซึ่งใช้ในEurope รวมถึงออสเตรเลียและนิวซีแลนด์)
- กรดกลูตามิกและเกลือของมัน
- E620 Glutamic acid
- E621 Monosodium glutamate หรือ MSG
- E622
- E623
- E624
- E625
- กรด Guanylic และเกลือของมัน
- E626
- E627 หรือ sodium guanylate
- E628
- E629
- กรด Inosinic และเกลือของมัน
- E630
- E631
- E632
- E633
- ของผสมระหว่าง guanylate และ inosinate
- E634
- E635
- Maltol และ ethyl maltol
- E636
- E637
- กรดอะมิโนและเกลือของมัน
อ้างอิง
- Chaudhari N, Landin AM, Roper SD (2000). "A metabotropic glutamate receptor variant functions as a taste receptor". Nature Neuroscience. 3 (2): 113–119. doi:10.1038/72053. PMID 10649565.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - Kwok RH M. Chinese restaurant syndrome. N Engl J Med 1968;278-96.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
sarchurs xngkvs flavour enhancers hrux phngchurs epnwtthuecuxpnxaharthiisephuxephimrschatikhxngxahar inwthnthrrmtawntkrschatithihahruxxumami imidrbkaryxmrbmaepnewlanan klawknwaphngchursimmirschatikhxngtwexng aetkratunkarthangankhxngxumami aelathaihphuthanphngchursrusukthungrschatixaharthidikhun sarchursthiichknmananidaekkrdklutamikaelaekluxkhxngmn sungepnkrdxamionthiphbidinxaharhlaychnidinthrrmchati miraynganwakarrbprathansarchursinklumkrdklutamikxackxihekidxakarphttakharcin Chinese Restaurant Syndrome CRS inphubriophkhbangklumid sungpccubnyngepnthithkethiyngkninthangkaraephthy thngnisarchursklumkrdklutamikepnwtthuecuxpnxaharkhwbkhuminhlaypraeths phuphlitxaharsaercruptxngrabuiwbnchlakihchdecnephuxepnkhxmulihkbphubriophkh nxkcakkrdklutamikaelwkrdxamionchnidxun echn iklsinaelaliwsin kthahnathiepnsarchursid rwmipthungekluxkhxngniwkhlioxithd echn GMP aela IMPsarchursinrabb E numberkrdklutamikepnkrdxamionthiphbidinthrrmchatiGMP epnniwkhlioxithdIMP epnniwkhlioxithdMalthol epnsarskdidcakepluxk wtthuecuxpnxahartxipniichepnphngchurs eriyngtamladb sungichinEurope rwmthungxxsetreliyaelaniwsiaelnd krdklutamikaelaekluxkhxngmn E620 Glutamic acid E621 Monosodium glutamate hrux MSG E622 E623 E624 E625 krd Guanylic aelaekluxkhxngmn E626 E627 hrux sodium guanylate E628 E629 krd Inosinic aelaekluxkhxngmn E630 E631 E632 E633 khxngphsmrahwang guanylate aela inosinate E634 E635 Maltol aela ethyl maltol E636 E637 krdxamionaelaekluxkhxngmn E640 Glycine aelaekluxosediymkhxngmn E641 LeucinexangxingChaudhari N Landin AM Roper SD 2000 A metabotropic glutamate receptor variant functions as a taste receptor Nature Neuroscience 3 2 113 119 doi 10 1038 72053 PMID 10649565 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk Kwok RH M Chinese restaurant syndrome N Engl J Med 1968 278 96