วาฬหัวทุย | |
---|---|
วาฬหัวทุย | |
ขนาดเมื่อเทียบกับมนุษย์ | |
สถานะการอนุรักษ์ | |
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ | |
อาณาจักร: | Animalia |
ไฟลัม: | Chordata |
ชั้น: | Mammalia |
อันดับ: | Artiodactyla |
อันดับฐาน: | Cetacea |
อนุอันดับ: | Odontoceti |
วงศ์: | |
สกุล: | Physeter Linnaeus, 1758 |
สปีชีส์: | P. macrocephalus |
ชื่อทวินาม | |
Physeter macrocephalus Linnaeus, 1758 | |
แผนที่แสดงการกระจายพันธุ์ (สีน้ำเงิน) | |
ชื่อพ้อง | |
|
วาฬหัวทุย หรือ วาฬสเปิร์ม (อังกฤษ: sperm whale;ชื่อวิทยาศาสตร์: Physeter macrocephalus) เป็นวาฬขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง จัดเป็นวาฬมีฟัน (Odontoceti) ชนิดที่ใหญ่ที่สุด
วาฬหัวทุยมีลักษณะเด่นคือ มีส่วนหัวใหญ่และยาวมากเกือบร้อยละ 40 ของลำตัว ลำตัวสีเทาดำผิวหนังเป็นรอยย่นตลอดลำตัว ส่วนหน้าผากตั้งฉากตรงขึ้นจากปลายปากบน และเป็นแนวหักลาดไปทางส่วนหลัง ท่อหายใจรูเดียว อยู่ส่วนบนเยื้องไปด้านซ้ายของหัวครีบหลัง มีลักษณะเป็นสันนูนขึ้นมาตั้งอยู่ค่อนไปทางท้ายลำตัว และมีสันเป็นลอน ๆ ไปจนเกือบถึงโคนหาง ครีบข้างค่อนข้างเล็กปลายมนเหมือนใบพาย ไม่มีครีบหลัง ขากรรไกรล่างแคบยาวและเล็กมากเมื่อเทียบกับส่วนหัว ฟันเป็นเขี้ยวจำนวน 16–30 คู่ บนขากรรไกรล่าง ขากรรไกรบนไม่มีฟัน แต่จะมีช่องสำหรับรองรับฟันล่างเวลาหุบปากเท่านั้น อย่างไรก็ตามอาจพบฟัน 10–16 คู่ ในกระดูกขากรรไกรบนของวาฬที่มีอายุมาก ๆ นอกจากนี้แล้วบริเวณรอบ ๆ ปากจะเป็นสีขาว ซึ่งเชื่อกันว่าในที่ ๆ น้ำลึกสีขาวนี้จะเรืองแสงในความมืด ใช้เป็นเครื่องล่อเหยื่อต่าง ๆ ของวาฬหัวทุย
วาฬหัวทุยตัวผู้มีขนาดโตเต็มวัยยาวประมาณ 15–18 เมตร วาฬหัวทุยตัวเมียจะยาวประมาณ 12–14 เมตร ส่วนลูกแรกเกิดยาว 3.5–4.5 เมตร แม่วาฬใช้เวลาตั้งท้องนาน 16–17 เดือน ลูกจะอาศัยอยู่กับแม่เป็นเวลาประมาณ 13 เดือนเศษ ๆ จึงแยกออกหากินอิสระ มีน้ำหนักประมาณ 28 ตัน
วาฬหัวทุยเป็นวาฬที่อาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง และเป็นวาฬชนิดที่ดำน้ำได้ลึกที่สุด มีรายงานว่าสามารถดำน้ำได้ลึกถึง 1,000 เมตร โดยใช้เวลาประมาณ 40 นาที มีรายงานจากการติดตามวาฬที่ติดเครื่องหมายด้วยระบบโซนาร์ พบว่าสามารถดำน้ำได้ลึกถึง 2,800–3,000 เมตร โดยใช้เวลากว่า 1 ชั่วโมง จากการสูดหายใจเพียงครั้งเดียวที่ผิวน้ำที่มีแรงกดดันเท่ากับที่มนุษย์หายใจ ซึ่งในระดับความลึกกว่า 1,000 เมตร แรงกดของอากาศมากกว่าที่ผิวน้ำ 100 เท่า บีบอัดปอดของวาฬให้เหลือเพียงร้อยละ 1 ของปริมาตรทั้งหมด แต่ขณะที่ยังเป็นวาฬวัยอ่อนอยู่จะยังไม่สามารถดำน้ำลึกได้เหมือนตัวที่โตเต็มวัย
นอกจากนี้ วาฬหัวทุยยังเป็นวาฬชนิดที่ชอบกินหมึกเป็นอาหารมากที่สุด โดยเฉพาะอย่างยิ่งหมึกมหึมา (Mesonychoteuthis hamiltoni) ซึ่งเป็นหมึกชนิดที่ใหญ่ที่สุดในโลก ที่มีความยาวได้ถึง 14 เมตร ในระดับความลึกระดับ 1,000 เมตร หรือ (Architeuthis dux) ที่มีขนาดรองลงมา โดยอาจยาวได้ถึง 12 เมตร โดยมีการพบซากจะงอยปากของหมึกในกระเพาะของวาฬหัวทุย วาฬบางตัวจะมีผิวหนังที่เป็นรอยแผลจากปุ่มดูดของหนวดหมึกปรากฏอยู่
วาฬหัวทุยเป็นวาฬที่พบได้ในทะเลและมหาสมุทรทั่วโลก ในพบรายงานเพียง 3 จังหวัด คือ พังงา, ภูเก็ต และสตูล และถูกจัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามกฎหมาย
วาฬหัวทุยนับเป็นวาฬอีกชนิดหนึ่งที่ถูกล่าจากมนุษย์มาตั้งแต่สมัยโบราณ ด้วยการนำเขี้ยวและฟันมาเป็นทำเครื่องประดับ ไขมันในอุตสาหกรรมต่าง ๆ เนื้อสำหรับรับประทาน นอกจากนี้แล้วอาเจียนหรือมูลของวาฬหัวทุยยังมีลักษณะแข็งเหมือนอำพัน และมีกลิ่นหอมเป็นลักษณะพิเศษ เป็นของหายาก ราคาแพง ใช้เป็นส่วนสำคัญในการผลิตหัวน้ำหอมและยาไทยได้ด้วย เรียกว่า "อำพันขี้ปลา" หรือ "ขี้ปลาวาฬ" และที่ส่วนหัวยังมีสารพิเศษคล้ายไขมันหรือขี้ผึ้ง เรียกว่า "" ซึ่งใช้ในการผลิตโลชันและเวชภัณฑ์ชนิดต่าง ๆ อันเป็นที่มาของชื่อสามัญ วาฬหัวทุยได้รับการอ้างอิงถึงในวรรณกรรมที่มีชื่อเสียงระดับโลก คือ "โมบิดิก" ของเฮอร์มัน เมลวิลล์ ใน ค.ศ. 1855 ที่เป็นเรื่องราวของการล่าวาฬหัวทุยเผือกตัวหนึ่งที่มีนิสัยดุร้าย ชื่อ โมบิดิก หรือในวรรณกรรมเยาวชนเรื่อง "พินอคคิโอ" ที่ตอนท้ายเรื่องพินอคคิโอผจญภัยเข้าไปอยู่ในท้องของวาฬ ซึ่งก็คือ วาฬหัวทุย เป็นต้น
ในปัจจุบัน มีผลการศึกษาทางวิทยาศาสตร์พบว่า วาฬหัวทุยรวมถึงวาฬชนิดอื่น ๆ มีขนาดลำตัวที่เล็กลงจากอดีต บ่งบอกว่าเป็นสัตว์ที่อยู่ในสถานะใกล้สูญพันธุ์ โดยเฉพาะวาฬหัวทุยนั้นใน ค.ศ. 1985 ขนาดเล็กกว่าเดิมที่เคยวัดไว้เมื่อ ค.ศ. 1905 ประมาณ 4 เมตร
รูปภาพ
- รูปวาดการล่าวาฬหัวทุยในอดีต
- ซากวาฬหัวทุยเกยตื้นบนชายหาด
- เขี้ยววาฬหัวทุยที่ผ่านการแกะสลักแล้ว
อ้างอิง
- จาก IUCN
- "Physeter". .
- "วาฬ." ใน ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556, หน้า 1412.
- ปลาวาฬหัวทุย
- . ไทยพีบีเอส. 16 June 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-07-22. สืบค้นเมื่อ 16 June 2014.
- . ช่อง 7. 5 January 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-22. สืบค้นเมื่อ 5 January 2015.
- "อัมพันจากทะเล ขี้ปลาวาฬ กก.ละหมื่นบาท". ไทยรัฐ.
- "โมบี้ ดิ๊ก วาฬเสปิร์มหัวทู่ - ปุ๊กเขียน". โอเคเนชั่น.[]
- สัตว์ป่าคุ้มครอง
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-11-08. สืบค้นเมื่อ 2012-12-07.
- "10 วาฬใกล้สูญพันธุ์ที่สุดในโลก". เด็กดีดอตคอม.
- หน้า 17 สัตว์เลี้ยง, พิพิธภัณฑ์ลอนดอนจัดแสดงตัวอ่อนวาฬหลังค่อม โดย ทีมข่าวต่างประเทศ. คมชัดลึกปีที่ 16 ฉบับที่ 5734: วันอาทิตย์ที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2560
แหล่งข้อมูลอื่น
ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ Physeter macrocephalus ที่วิกิสปีชีส์
- รูปและข้อมูลเพิ่มเติม (อังกฤษ)
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
walhwthuywalhwthuykhnademuxethiybkbmnusysthanakarxnurks IUCN 3 1 karcaaenkchnthangwithyasastrxanackr Animaliaiflm Chordatachn Mammaliaxndb Artiodactylaxndbthan Cetaceaxnuxndb Odontocetiwngs skul Physeter Linnaeus 1758spichis P macrocephaluschuxthwinamPhyseter macrocephalus Linnaeus 1758aephnthiaesdngkarkracayphnthu sinaengin chuxphxngPhyseter catodon Linnaeus 1758 Physeter australasianus 1822 Physeter australis Gray 1846 walhwthuy hrux walsepirm xngkvs sperm whale chuxwithyasastr Physeter macrocephalus epnwalkhnadihychnidhnung cdepnwalmifn Odontoceti chnidthiihythisud walhwthuymilksnaednkhux miswnhwihyaelayawmakekuxbrxyla 40 khxnglatw latwsiethadaphiwhnngepnrxyyntlxdlatw swnhnaphaktngchaktrngkhuncakplaypakbn aelaepnaenwhkladipthangswnhlng thxhayicruediyw xyuswnbneyuxngipdansaykhxnghwkhribhlng milksnaepnsnnunkhunmatngxyukhxnipthangthaylatw aelamisnepnlxn ipcnekuxbthungokhnhang khribkhangkhxnkhangelkplaymnehmuxnibphay immikhribhlng khakrrikrlangaekhbyawaelaelkmakemuxethiybkbswnhw fnepnekhiywcanwn 16 30 khu bnkhakrrikrlang khakrrikrbnimmifn aetcamichxngsahrbrxngrbfnlangewlahubpakethann xyangirktamxacphbfn 10 16 khu inkradukkhakrrikrbnkhxngwalthimixayumak nxkcakniaelwbriewnrxb pakcaepnsikhaw sungechuxknwainthi naluksikhawnicaeruxngaesnginkhwammud ichepnekhruxnglxehyuxtang khxngwalhwthuy walhwthuytwphumikhnadotetmwyyawpraman 15 18 emtr walhwthuytwemiycayawpraman 12 14 emtr swnlukaerkekidyaw 3 5 4 5 emtr aemwalichewlatngthxngnan 16 17 eduxn lukcaxasyxyukbaemepnewlapraman 13 eduxness cungaeykxxkhakinxisra minahnkpraman 28 tn walhwthuyepnwalthixasyxyurwmknepnfung aelaepnwalchnidthidanaidlukthisud miraynganwasamarthdanaidlukthung 1 000 emtr odyichewlapraman 40 nathi mirayngancakkartidtamwalthitidekhruxnghmaydwyrabbosnar phbwasamarthdanaidlukthung 2 800 3 000 emtr odyichewlakwa 1 chwomng cakkarsudhayicephiyngkhrngediywthiphiwnathimiaerngkddnethakbthimnusyhayic sunginradbkhwamlukkwa 1 000 emtr aerngkdkhxngxakasmakkwathiphiwna 100 etha bibxdpxdkhxngwalihehluxephiyngrxyla 1 khxngprimatrthnghmd aetkhnathiyngepnwalwyxxnxyucayngimsamarthdanalukidehmuxntwthiotetmwy nxkcakni walhwthuyyngepnwalchnidthichxbkinhmukepnxaharmakthisud odyechphaaxyangyinghmukmhuma Mesonychoteuthis hamiltoni sungepnhmukchnidthiihythisudinolk thimikhwamyawidthung 14 emtr inradbkhwamlukradb 1 000 emtr hrux Architeuthis dux thimikhnadrxnglngma odyxacyawidthung 12 emtr odymikarphbsakcangxypakkhxnghmukinkraephaakhxngwalhwthuy walbangtwcamiphiwhnngthiepnrxyaephlcakpumdudkhxnghnwdhmukpraktxyu rxyaephlepnbnphiwhnngwalhwthuycakpumdudkhxnghmukmhuma walhwthuyepnwalthiphbidinthaelaelamhasmuthrthwolk inphbraynganephiyng 3 cnghwd khux phngnga phuekt aelastul aelathukcdepnstwpakhumkhrxngtamkdhmay walhwthuynbepnwalxikchnidhnungthithuklacakmnusymatngaetsmyobran dwykarnaekhiywaelafnmaepnthaekhruxngpradb ikhmninxutsahkrrmtang enuxsahrbrbprathan nxkcakniaelwxaeciynhruxmulkhxngwalhwthuyyngmilksnaaekhngehmuxnxaphn aelamiklinhxmepnlksnaphiess epnkhxnghayak rakhaaephng ichepnswnsakhyinkarphlithwnahxmaelayaithyiddwy eriykwa xaphnkhipla hrux khiplawal aelathiswnhwyngmisarphiesskhlayikhmnhruxkhiphung eriykwa sungichinkarphlitolchnaelaewchphnthchnidtang xnepnthimakhxngchuxsamy walhwthuyidrbkarxangxingthunginwrrnkrrmthimichuxesiyngradbolk khux ombidik khxngehxrmn emlwill in kh s 1855 thiepneruxngrawkhxngkarlawalhwthuyephuxktwhnungthiminisyduray chux ombidik hruxinwrrnkrrmeyawchneruxng phinxkhkhiox thitxnthayeruxngphinxkhkhioxphcyphyekhaipxyuinthxngkhxngwal sungkkhux walhwthuy epntn inpccubn miphlkarsuksathangwithyasastrphbwa walhwthuyrwmthungwalchnidxun mikhnadlatwthielklngcakxdit bngbxkwaepnstwthixyuinsthanaiklsuyphnthu odyechphaawalhwthuynnin kh s 1985 khnadelkkwaedimthiekhywdiwemux kh s 1905 praman 4 emtrrupphaphrupwadkarlawalhwthuyinxdit sakwalhwthuyekytunbnchayhad ekhiywwalhwthuythiphankaraekaslkaelwxangxingcakIUCN Physeter wal in rachbnthitysthan phcnanukrm chbbrachbnthitysthan ph s 2554 echlimphraekiyrtiphrabathsmedcphraecaxyuhw enuxnginoxkasphrarachphithimhamngkhlechlimphrachnmphrrsa 7 rxb 5 thnwakhm 2554 krungethph rachbnthitysthan 2556 hna 1412 plawalhwthuy ithyphibiexs 16 June 2014 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2014 07 22 subkhnemux 16 June 2014 chxng 7 5 January 2015 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2016 03 22 subkhnemux 5 January 2015 xmphncakthael khiplawal kk lahmunbath ithyrth ombi dik walespirmhwthu pukekhiyn oxekhenchn lingkesiy stwpakhumkhrxng khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2012 11 08 subkhnemux 2012 12 07 10 waliklsuyphnthuthisudinolk edkdidxtkhxm hna 17 stweliyng phiphithphnthlxndxncdaesdngtwxxnwalhlngkhxm ody thimkhawtangpraeths khmchdlukpithi 16 chbbthi 5734 wnxathitythi 2 krkdakhm ph s 2560aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb walhwthuy khxmulthiekiywkhxngkb Physeter macrocephalus thiwikispichis rupaelakhxmulephimetim xngkvs