ภาษาเขมรสมัยกลาง หรือ ภาษาเขมรสมัยหลังพระนคร เป็นชื่อที่ใช้เรียกภาษาเขมรในช่วงระหว่างคริสตศตวรรษที่ 14 ถึงคริสตศตวรรษที่ 18 ซึ่งเอาไว้แบ่งคั่นระหว่างยุคของและภาษาเขมรสมัยใหม่ พัฒนาการและการสื่อสารของภาษาเขมรสมัยกลางเกิดขึ้นพร้อม ๆ กับการล่มสลายของอาณาจักรพระนคร ร่วมสมัยกับการขยายอิทธิพลของอาณาจักรอยุธยา ยุคดังกล่าวถูกเรียกว่ายุคหลังพระนคร ภาษาเขมรสมัยกลางเป็นช่วงที่มีการเปลี่ยนแปลงทางด้านสัทวิทยาของตัวภาษาไปจากเดิมอย่างมาก โดยได้วิวัฒนาการไปเป็นภาษาเขมรสมัยใหม่ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1777 ในรัชสมัยของนักองค์เอง พระราชบิดาของนักองด้วง เป็นต้นมา
ภาษาเขมรสมัยกลาง | |
---|---|
รูปตัวอย่าง ศิลาจารึก เขียนเป็น ภาษาเขมรสมัยกลาง | |
ภูมิภาค | ประเทศกัมพูชา บางส่วนใน ประเทศไทย ประเทศลาว และ ประเทศเวียดนาม |
ยุค | พัฒนาไปเป็น ภาษาเขมร, ภาษาเขมรเหนือ ภาษาเขมรตะวันตก และ ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 |
ตระกูลภาษา | ออสโตรเอเชียติก
|
รูปแบบก่อนหน้า |
|
รหัสภาษา | |
ISO 639-3 | xhm |
ชาวเขมรได้หยิบยืมตระกูลอักษรพราหมีมาใช้เขียนภาษาของตน ตั้งแต่ภาษาเขมรเก่า ในคริสต์ศตวรรษที่ 6–7 การเปลี่ยนแปลงของภาษาเขมรสมัยกลางต่างก็ได้ทิ้งร่องรอยที่เป็นลายลักษณ์อักษรเหลือไว้เป็นจำนวนมาก ทําให้ภาษาเขมรสมัยกลางได้รับการสืบสร้างและถูกนำมาศึกษาใหม่อีกครั้ง ในยุคดังกล่าวตัวภาษามีพัฒนาการเปลี่ยนแปลงหน่วยเสียงต่าง ๆ ในกลุ่มฐานเสียงพยัญชนะหยุด ซึ่งมีความแตกต่างไปจากภาษาเขมรเก่า ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของระบบสระเพื่อชดเชยความแตกต่างในวิธีการสะกดตามมา โดยสระที่ตามหลังกลุ่มฐานเสียงพยัญชนะระเบิด โฆษะ โดยส่วนใหญ่จะไม่มีการเปลี่ยนแปลงของหน่วยเสียงสระไปจากเดิมมากนัก ขณะที่สระชุดเดียวกันซึ่งตามหลังด้วยกลุ่มฐานเสียงพยัญชนะระเบิด อโฆษะ ก็ได้เกิดกระบวนการเลื่อนสระไปเป็นหน่วยเสียงที่แตกต่างกันไปอย่างเป็นระบบ แน่นอนว่าการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวครอบคลุมทั้งสระเดี่ยวและสระประสม นอกจากนี้การสูญเสียหน่วยเสียง /r/ ในตัวสะกด "រ" และการควบรวมหน่วยเสียง /s/ ไปเป็น /h/ ในตัวสะกด "ស" ดังที่ปรากฎภาษาเขมรสมัยใหม่ ทั้งหมดล้วนเกิดขึ้นในยุคของภาษาสมัยเขมรกลางทั้งสิ้น
ภาษาเขมรสมัยกลางมีหลักฐานชั้นต้นปรากฏอยู่ในรูปแบบของเอกสารหรือจารึกอยู่เป็นจำนวนมาก ในปัจจุบันภาษาเขมรสมัยกลางได้พัฒนาไปเป็นภาษาสมัยใหม่ถึงสามภาษา ได้แก่ ภาษาเขมรเหนือ ภาษาเขมรตะวันตก สำเนียงถิ่นต่าง ๆ ในภาษาเขมรกลาง รวมถึงภาษาเขมรสำเนียงมาตรฐานและภาษาเขมรกรอม
ความเป็นมา
"ภาษาเขมรเก่า" เป็นชื่อที่ใช้เรียกภาษาเขมรในยุคก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 14 ที่สืบทอดมาจากสามอาณาจักรที่สืบต่อกันมาในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่ อาณาจักรฟูนานอาณาจักรเจนละ และอาณาจักรเขมร (พระนคร) เมื่ออาณาจักรดังกล่าวสามารถขยายอำนาจการปกครองเข้าสู่พื้นที่ส่วนใหญ่ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งแต่ทิศตะวันตกสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขงไปจนถึงทะเลอันดามัน และจากทางตอนเหนือของอ่าวไทยจรดไปจนถึงประเทศจีน ภาษาเขมรเก่าของชาวเขมรก็ได้กลายเป็นภาษาหลักและกลายเป็นภาษาราชการที่มีอิทธิพลครอบคลุมทั่วทั้งจักรวรรดิ แต่หลังจากที่อาณาจักรอยุธยาของชาวสยามได้เข้ามายึดเมืองพระนครในคริสตศตวรรษที่ 14 จักรวรรดิเขมรก็สูญเสียสิทธิทั้งในเชิงอำนาจและอิทธิพลลงอย่างต่อเนื่อง เช่นดินแดนทางตอนเหนือของทิวเขาพนมดงรักได้ตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของอาณาจักรล้านช้าง ขณะที่ดินแดนทางตะวันตกและทางตะวันตกเฉียงเหนือก็ได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรอยุธยา ส่วนดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขงก็ถูกผนวกกลายเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรเวียดนาม ศูนย์กลางทางวัฒนธรรมของชาวเขมรถูกถอยร่นไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้และในที่สุดก็ถูกลดทอนลงกลายเป็นวัฒนธรรมกันชนคั่นกลางระหว่างอาณาจักรรอบข้างที่ทรงอำนาจอย่างสยามและเวียดนาม ซึ่งมหาอำนาจทั้งสองต่างก็ต้องการที่จะแผ่อิทธิพลขยายอำนาจของตนเข้ามาปกครองอาณาจักรของชาวเขมรในฐานะรัฐบริวาร
ภายใต้บริบทดังกล่าวนี้เอง การล่มสลายของจักรวรรดิเขมรได้ส่งผลให้ภาษาเขมรเก่าเกิดพัฒนาการขึ้นอย่างรวดเร็วจนกลายเป็นภาษาเขมรกลาง สำเนียงถิ่นต่าง ๆ ทั้งหมดในภาษาเขมรสมัยใหม่ล้วนแต่เป็นผลลัพธ์จาก "การแตกแยกทางภาษาในแต่ละชุมชน" ที่เกิดขึ้นในภาษาเขมรสมัยกลางโดยตรงวิธีการเปรียบเทียบทางภาษาคือการใช้ภาษาเขมรสมัยใหม่ควบคู่ไปกับจารึกหรืองานเขียนของภาษาเขมรสมัยกลาง วิธีการดังกล่าวทำให้นักภาษาศาสตร์สามารถที่จะวิจัยและสืบย้อนถึงร่องรอยและคุณลักษณะที่สำคัญของภาษาเขมรสมัยกลางได้ อย่างไรก็ตามเนื่องจากไม่มีหลักฐานที่มาจากภาษาเขมรสมัยเก่าโดยตรงหลงเหลืออยู่มากนัก ส่งผลให้นักภาษาศาสตร์จำเป็นที่จะต้องอาศัยการวิเคราะห์จารึกภาษาเขมรสมัยกลางผ่านระบบการเขียนของภาษาเขมรสมัยใหม่ เพื่อที่จะภาษาเขมรเก่าขึ้นใหม่เป็นการเฉพาะ แม้ว่ากระบวนการดังกล่าวสามารถที่จะทำให้นักภาษาศาสตร์สามารถทำความเข้าใจเกี่ยวกับอิทธิพลและความสำคัญของภาษาเขมรสมัยกลางได้มากขึ้น แต่ก็กระทบกับกระบวนการสืบย้อนและประดิษฐ์ขึ้นใหม่อยู่พอสมควร
ภาษาเขมรสมัยกลางช่วงต้น
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ภาษาเขมรสมัยกลางช่วงปลาย
ภาษาเขมรสมัยกลางช่วงปลายเป็นช่วงที่มีหลักฐานชั้นต้นปรากฏอยู่ในรูปแบบของเอกสารหรือจารึกมากที่สุด นอกจากจารึกแล้ว ยังมีต้นฉบับจากหลาย ๆ สถานที่หรือหลาย ๆ สาขา ที่ปรากฎในรูปแบบ พงศาวดาร วรรณกรรม บทความทางจริยธรรม และ คู่มือปฏิบัติงาน และในช่วงเวลาดังกล่าวนี้เอง ที่กลุ่มฐานเสียงพยัญชนะอโฆษะได้ลดความก้องของหน่วยเสียงลงมา พร้อม ๆ กับหน่วยเสียงสระต่าง ๆ ที่เกิดการเปลี่ยนแปลงแตกต่างกันไปอย่างเป็นระบบ
สัทวิทยา
ภาษาเขมรสมัยกลางซึ่งเป็นชื่อที่ใช้เรียกภาษาเขมรในช่วงเวลากึ่งกลางระหว่างยุคของและภาษาเขมรสมัยใหม่ ภาษาเขมรสมัยกลางถือว่าเป็นภาษาที่มีสัทวิทยาค่อนข้างใกล้เคียงกับภาษาเขมรสมัยใหม่เป็นอย่างมาก ๆ ทั้งในด้านของหน่วยเสียงพยัญชนะและสระ
เสียงพยัญชนะ
เสียงสระ
สั้น | ยาว | สั้น | ยาว | สั้น | ยาว | |
---|---|---|---|---|---|---|
i | iː | ɨ | ɨː | u | uː | |
(e) | eː | ə | əː | (o) | oː | |
(ɛ) | ɛː | |||||
a | aː | ɔ | ɔː |
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
เชิงอรรถ
- Jenner (1976), p. 693.
- Jenner (1976), p. 694.
- Vickery (1992), p. 240.
- Vickery (2003), p. 125.
- Keat (2004).
- Coedès (1968), pp. 236–237.
- Sidwell (2009), p. 107.
- Wayland & Jongman (2002), p. 101.
- Headley (1998), p. 21.
บรรณานุกรม
- Coedès, George (1968). Walter F. Vella (บ.ก.). The Indianized States of Southeast Asia. trans.Susan Brown Cowing. University of Hawaii Press. ISBN .
- (1990). A History of the Khmer Language. Cornell University Library, Ithaca, NY: Unpublished manuscript.
- Headley, Robert K (1998). "Cham evidence for Khmer sound changes" (PDF). Papers in Southeast Asian Linguistics. 15: 21–29. สืบค้นเมื่อ 9 January 2016.
- Jacob, Judith M (1968). Introduction to Cambodian. London: Oxford University Press. ISBN .
- Jacob, Judith M (1976). "An Examination of the Vowels and final Consonants in Correspondences between pre-Angkor and modern Khmer" (PDF). Pacific Linguistics. 42 (19): 19–38. สืบค้นเมื่อ 3 January 2016.
- Lewitz, Saveros (1967). "La toponymie khmère". Bulletin de l'École Française d'Extrême-Orient (ภาษาฝรั่งเศส). 53 (2): 375–451. doi:10.3406/befeo.1967.5052.
- Jenner, Philip N (1974). "The Development of the Registers in Standard Khmer" (PDF). Canberra: PL. 31: 47–60. สืบค้นเมื่อ 6 January 2016.
- Jenner, Philip N (1975). "The final liquids of middle Khmer". STUF - Language Typology and Universals. 28 (1–6): 599–609. doi:10.1524/stuf.1975.28.16.599. S2CID 131639485.
- Jenner, Philip N (1976). The Relative Dating of Some Khmer CPĀ'PA*. Oceanic Linguistics Special Publications. University of Hawai'i Press. pp. 693–710. JSTOR 20019179.
- Keat, Gin Ooi, บ.ก. (2004). Southeast Asia: A Historical Encyclopedia, from Angkor Wat to East Timor, Volume 1 (illustrated ed.). ABC-CLIO. ISBN . สืบค้นเมื่อ 31 January 2016.
- (2009). . 76. Lincom Europa. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-03-24. สืบค้นเมื่อ 3 January 2016.
{{}}
: Cite journal ต้องการ|journal=
((help)) - Vickery, Michael (1992). "Loan words and devoicing in Khmer" (PDF). Mon Khmer Studies. 18: 240–250. สืบค้นเมื่อ 12 January 2016.
- (2003). "Funan reviewed: Deconstructing the ancients". Bulletin de l'École Française d'Extrême-Orient. 90 (1): 101–143. doi:10.3406/befeo.2003.3609.
- Wayland, Ratree; Jongman, Allard (2001). "Chanthaburi Khmer vowels: phonetic and phonemic analyses" (PDF). Mon-Khmer Studies. 31: 65–82. สืบค้นเมื่อ 14 January 2016.
- Wayland, Ratree; Jongman, Allard (2002). "Registrogenesis in Khmer: A Phonetic Account". Mon-Khmer Studies. 32: 101–114. สืบค้นเมื่อ 3 January 2016.
อ่านเพิ่ม
- Bauer, Christian (1989). "Recovering extracted infixes in Middle Khmer" (PDF). Mon-Khmer Studies. 15 (155–164).
- Jacob, Judith M (1965). "Notes on the numerals and numeral coefficients in Old, Middle and Modern Khmer" (PDF). Lingua. 15: 143–162. doi:10.1016/0024-3841(65)90011-2.
- Jacob, Judith M (1976). Affixation in Middle Khmer with Old and Modern Comparisons (PDF). Oceanic Linguistics Special Publications. pp. 591–623.
- Jenner, Philip N (1974). "The value of 'au' and 'ai' in Middle Khmer" (PDF). Southeast Asian Linguistic Studies. 1: 157–173.
- Jenner, Philip N (1977). "The value of i, ī, u and ū in Middle Khmer" (PDF). Mon-Khmer Studies. 5: 101–133.
- . 2012. Khmer Cʔ-lusters.
- Wayland, Ratree; Jongman, Allard (2003). "Acoustic correlates of breathy and clear vowels: the case of Khmer". Journal of Phonetics. 31 (2): 181–201. 10.1.1.576.8853. doi:10.1016/s0095-4470(02)00086-4.
แหล่งข้อมูลอื่น
- Dictionary of Old Khmer (SEAlang)
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
phasaekhmrsmyklang hrux phasaekhmrsmyhlngphrankhr epnchuxthiicheriykphasaekhmrinchwngrahwangkhriststwrrsthi 14 thungkhriststwrrsthi 18 sungexaiwaebngkhnrahwangyukhkhxngaelaphasaekhmrsmyihm phthnakaraelakarsuxsarkhxngphasaekhmrsmyklangekidkhunphrxm kbkarlmslaykhxngxanackrphrankhr rwmsmykbkarkhyayxiththiphlkhxngxanackrxyuthya yukhdngklawthukeriykwayukhhlngphrankhr phasaekhmrsmyklangepnchwngthimikarepliynaeplngthangdansthwithyakhxngtwphasaipcakedimxyangmak odyidwiwthnakaripepnphasaekhmrsmyihm tngaetpi kh s 1777 inrchsmykhxngnkxngkhexng phrarachbidakhxngnkxngdwng epntnmaphasaekhmrsmyklangruptwxyang silacaruk ekhiynepn phasaekhmrsmyklangphumiphakhpraethskmphucha bangswnin praethsithy praethslaw aela praethsewiydnamyukhphthnaipepn phasaekhmr phasaekhmrehnux phasaekhmrtawntk aela inkhriststwrrsthi 18trakulphasaxxsotrexechiytik phasaekhmrsmyklangrupaebbkxnhnaphasaekhmrsmyklangrhsphasaISO 639 3xhmbthkhwamnimisylksnsthxksrsakl hakrabbkhxngkhunimrxngrbkaraesdngphlthithuktxng khunxacehnprsni klxng hruxsylksnxyangxunaethnthixkkhrayuniokhd chawekhmridhyibyumtrakulxksrphrahmimaichekhiynphasakhxngtn tngaetphasaekhmreka inkhriststwrrsthi 6 7 karepliynaeplngkhxngphasaekhmrsmyklangtangkidthingrxngrxythiepnlaylksnxksrehluxiwepncanwnmak thaihphasaekhmrsmyklangidrbkarsubsrangaelathuknamasuksaihmxikkhrng inyukhdngklawtwphasamiphthnakarepliynaeplnghnwyesiyngtang inklumthanesiyngphyychnahyud sungmikhwamaetktangipcakphasaekhmreka sngphlihekidkarepliynaeplngkhxngrabbsraephuxchdechykhwamaetktanginwithikarsakdtamma odysrathitamhlngklumthanesiyngphyychnaraebid okhsa odyswnihycaimmikarepliynaeplngkhxnghnwyesiyngsraipcakedimmaknk khnathisrachudediywknsungtamhlngdwyklumthanesiyngphyychnaraebid xokhsa kidekidkrabwnkareluxnsraipepnhnwyesiyngthiaetktangknipxyangepnrabb aennxnwakarepliynaeplngdngklawkhrxbkhlumthngsraediywaelasraprasm nxkcaknikarsuyesiyhnwyesiyng r intwsakd រ aelakarkhwbrwmhnwyesiyng s ipepn h intwsakd ស dngthiprakdphasaekhmrsmyihm thnghmdlwnekidkhuninyukhkhxngphasasmyekhmrklangthngsin phasaekhmrsmyklangmihlkthanchntnpraktxyuinrupaebbkhxngexksarhruxcarukxyuepncanwnmak inpccubnphasaekhmrsmyklangidphthnaipepnphasasmyihmthungsamphasa idaek phasaekhmrehnux phasaekhmrtawntk saeniyngthintang inphasaekhmrklang rwmthungphasaekhmrsaeniyngmatrthanaelaphasaekhmrkrxmkhwamepnma phasaekhmreka epnchuxthiicheriykphasaekhmrinyukhkxnkhriststwrrsthi 14 thisubthxdmacaksamxanackrthisubtxknmainphumiphakhexechiytawnxxkechiyngit idaek xanackrfunanxanackrecnla aelaxanackrekhmr phrankhr emuxxanackrdngklawsamarthkhyayxanackarpkkhrxngekhasuphunthiswnihykhxngexechiytawnxxkechiyngit tngaetthistawntksamehliympakaemnaokhngipcnthungthaelxndamn aelacakthangtxnehnuxkhxngxawithycrdipcnthungpraethscin phasaekhmrekakhxngchawekhmrkidklayepnphasahlkaelaklayepnphasarachkarthimixiththiphlkhrxbkhlumthwthngckrwrrdi aethlngcakthixanackrxyuthyakhxngchawsyamidekhamayudemuxngphrankhrinkhriststwrrsthi 14 ckrwrrdiekhmrksuyesiysiththithnginechingxanacaelaxiththiphllngxyangtxenuxng echndinaednthangtxnehnuxkhxngthiwekhaphnmdngrkidtkxyuphayitxiththiphlkhxngxanackrlanchang khnathidinaednthangtawntkaelathangtawntkechiyngehnuxkidklayepnswnhnungkhxngxanackrxyuthya swndindxnsamehliympakaemnaokhngkthukphnwkklayepnswnhnungkhxngxanackrewiydnam sunyklangthangwthnthrrmkhxngchawekhmrthukthxyrnipthangthistawnxxkechiyngitaelainthisudkthukldthxnlngklayepnwthnthrrmknchnkhnklangrahwangxanackrrxbkhangthithrngxanacxyangsyamaelaewiydnam sungmhaxanacthngsxngtangktxngkarthicaaephxiththiphlkhyayxanackhxngtnekhamapkkhrxngxanackrkhxngchawekhmrinthanarthbriwar phayitbribthdngklawniexng karlmslaykhxngckrwrrdiekhmridsngphlihphasaekhmrekaekidphthnakarkhunxyangrwderwcnklayepnphasaekhmrklang saeniyngthintang thnghmdinphasaekhmrsmyihmlwnaetepnphllphthcak karaetkaeykthangphasainaetlachumchn thiekidkhuninphasaekhmrsmyklangodytrngwithikarepriybethiybthangphasakhuxkarichphasaekhmrsmyihmkhwbkhuipkbcarukhruxnganekhiynkhxngphasaekhmrsmyklang withikardngklawthaihnkphasasastrsamarththicawicyaelasubyxnthungrxngrxyaelakhunlksnathisakhykhxngphasaekhmrsmyklangid xyangirktamenuxngcakimmihlkthanthimacakphasaekhmrsmyekaodytrnghlngehluxxyumaknk sngphlihnkphasasastrcaepnthicatxngxasykarwiekhraahcarukphasaekhmrsmyklangphanrabbkarekhiynkhxngphasaekhmrsmyihm ephuxthicaphasaekhmrekakhunihmepnkarechphaa aemwakrabwnkardngklawsamarththicathaihnkphasasastrsamarththakhwamekhaicekiywkbxiththiphlaelakhwamsakhykhxngphasaekhmrsmyklangidmakkhun aetkkrathbkbkrabwnkarsubyxnaelapradisthkhunihmxyuphxsmkhwr phasaekhmrsmyklangchwngtn swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidphasaekhmrsmyklangchwngplay phasaekhmrsmyklangchwngplayepnchwngthimihlkthanchntnpraktxyuinrupaebbkhxngexksarhruxcarukmakthisud nxkcakcarukaelw yngmitnchbbcakhlay sthanthihruxhlay sakha thiprakdinrupaebb phngsawdar wrrnkrrm bthkhwamthangcriythrrm aela khumuxptibtingan aelainchwngewladngklawniexng thiklumthanesiyngphyychnaxokhsaidldkhwamkxngkhxnghnwyesiynglngma phrxm kbhnwyesiyngsratang thiekidkarepliynaeplngaetktangknipxyangepnrabbsthwithyaphasaekhmrsmyklangsungepnchuxthiicheriykphasaekhmrinchwngewlakungklangrahwangyukhkhxngaelaphasaekhmrsmyihm phasaekhmrsmyklangthuxwaepnphasathimisthwithyakhxnkhangiklekhiyngkbphasaekhmrsmyihmepnxyangmak thngindankhxnghnwyesiyngphyychnaaelasra esiyngphyychna hyud pʰ tʰ cʰ kʰimkxng p t c k ʔkxng b d ɡnasik kxng m n ɲ ŋimkxng s hkxng l j wkxng resiyngsra sn yaw sn yaw sn yawi iː ɨ ɨː u uː e eː e eː o oː ɛ ɛːa aː ɔ ɔːswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidduephimpraethskmphucha prawtisastrkmphucha phasaekhmr xksrekhmrxangxingechingxrrth Jenner 1976 p 693 Jenner 1976 p 694 Vickery 1992 p 240 Vickery 2003 p 125 Keat 2004 Coedes 1968 pp 236 237 Sidwell 2009 p 107 Wayland amp Jongman 2002 p 101 Headley 1998 p 21 brrnanukrm Coedes George 1968 Walter F Vella b k The Indianized States of Southeast Asia trans Susan Brown Cowing University of Hawaii Press ISBN 978 0 8248 0368 1 1990 A History of the Khmer Language Cornell University Library Ithaca NY Unpublished manuscript Headley Robert K 1998 Cham evidence for Khmer sound changes PDF Papers in Southeast Asian Linguistics 15 21 29 subkhnemux 9 January 2016 Jacob Judith M 1968 Introduction to Cambodian London Oxford University Press ISBN 978 0197135563 Jacob Judith M 1976 An Examination of the Vowels and final Consonants in Correspondences between pre Angkor and modern Khmer PDF Pacific Linguistics 42 19 19 38 subkhnemux 3 January 2016 Lewitz Saveros 1967 La toponymie khmere Bulletin de l Ecole Francaise d Extreme Orient phasafrngess 53 2 375 451 doi 10 3406 befeo 1967 5052 Jenner Philip N 1974 The Development of the Registers in Standard Khmer PDF Canberra PL 31 47 60 subkhnemux 6 January 2016 Jenner Philip N 1975 The final liquids of middle Khmer STUF Language Typology and Universals 28 1 6 599 609 doi 10 1524 stuf 1975 28 16 599 S2CID 131639485 Jenner Philip N 1976 The Relative Dating of Some Khmer CPA PA Oceanic Linguistics Special Publications University of Hawai i Press pp 693 710 JSTOR 20019179 Keat Gin Ooi b k 2004 Southeast Asia A Historical Encyclopedia from Angkor Wat to East Timor Volume 1 illustrated ed ABC CLIO ISBN 978 1576077702 subkhnemux 31 January 2016 2009 76 Lincom Europa khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2019 03 24 subkhnemux 3 January 2016 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a Cite journal txngkar journal help Vickery Michael 1992 Loan words and devoicing in Khmer PDF Mon Khmer Studies 18 240 250 subkhnemux 12 January 2016 2003 Funan reviewed Deconstructing the ancients Bulletin de l Ecole Francaise d Extreme Orient 90 1 101 143 doi 10 3406 befeo 2003 3609 Wayland Ratree Jongman Allard 2001 Chanthaburi Khmer vowels phonetic and phonemic analyses PDF Mon Khmer Studies 31 65 82 subkhnemux 14 January 2016 Wayland Ratree Jongman Allard 2002 Registrogenesis in Khmer A Phonetic Account Mon Khmer Studies 32 101 114 subkhnemux 3 January 2016 xanephimBauer Christian 1989 Recovering extracted infixes in Middle Khmer PDF Mon Khmer Studies 15 155 164 Jacob Judith M 1965 Notes on the numerals and numeral coefficients in Old Middle and Modern Khmer PDF Lingua 15 143 162 doi 10 1016 0024 3841 65 90011 2 Jacob Judith M 1976 Affixation in Middle Khmer with Old and Modern Comparisons PDF Oceanic Linguistics Special Publications pp 591 623 Jenner Philip N 1974 The value of au and ai in Middle Khmer PDF Southeast Asian Linguistic Studies 1 157 173 Jenner Philip N 1977 The value of i i u and u in Middle Khmer PDF Mon Khmer Studies 5 101 133 2012 Khmer Cʔ lusters Wayland Ratree Jongman Allard 2003 Acoustic correlates of breathy and clear vowels the case of Khmer Journal of Phonetics 31 2 181 201 10 1 1 576 8853 doi 10 1016 s0095 4470 02 00086 4 aehlngkhxmulxunDictionary of Old Khmer SEAlang bthkhwamphasaniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk