ภาษาเขมรถิ่นไทย บ้างเรียก ภาษาเขมรเหนือ หรือ ภาษาเขมรสุรินทร์ เป็นภาษาย่อยของภาษาเขมร พูดโดยชาวไทยเชื้อสายเขมรในประเทศไทยที่อยู่ในจังหวัดสุรินทร์ บุรีรัมย์ นครราชสีมา ศรีสะเกษ อุบลราชธานี และร้อยเอ็ด รวมทั้งที่อพยพไปสู่ประเทศกัมพูชา โดยจังหวัดสุรินทร์มีผู้พูดภาษาเขมรถิ่นไทยมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 60 ของประชากรทั้งหมดในจังหวัด หรือประมาณ 8 แสนคน
ภาษาเขมรถิ่นไทย | |
---|---|
ภาษาเขมรเหนือ, ภาษาเขมรสุรินทร์ | |
พซา คแมร | |
ออกเสียง | [pʰᵊsaː. kʰᵊmɛːr] |
ประเทศที่มีการพูด | ไทย, กัมพูชา |
ภูมิภาค | จังหวัดสุรินทร์, จังหวัดศรีสะเกษ, จังหวัดบุรีรัมย์ |
ชาติพันธุ์ | ชาวไทยเชื้อสายเขมร |
จำนวนผู้พูด | 1.4 ล้านคน ซึ่งคนพูดเพียงภาษาเดียวมีไม่มาก (2006) |
ตระกูลภาษา | ออสโตรเอเชียติก
|
ระบบการเขียน | อักษรไทย (ส่วนใหญ่เป็นภาษาพูด) |
สถานภาพทางการ | |
ภาษาชนกลุ่มน้อยที่รับรองใน | ไทย |
ราชบัณฑิตยสภา | |
รหัสภาษา | |
ISO 639-3 | kxm |
ภาษาเขมรถิ่นไทยต่างจากภาษาเขมรสำเนียงพนมเปญซึ่งเป็นสำเนียงมาตรฐาน ในด้านจำนวนและความต่างของหน่วยเสียงสระ การใช้พยัญชนะ รากศัพท์ และไวยากรณ์ ทำให้แยกสำเนียงเขมรถิ่นไทยออกจากสำเนียงอื่น ๆ ได้ง่าย ผู้พูดภาษาเขมรถิ่นไทยจะเข้าใจภาษาเขมรทุกสำเนียง แต่ผู้พูดสำเนียงพนมเปญจะมีปัญหาในการทำความเข้าใจภาษาเขมรถิ่นไทย ทำให้นักภาษาศาสตร์บางคนแยกภาษาเขมรถิ่นไทยออกเป็นภาษาใหม่ต่างหากจากภาษาเขมร โดยถือเป็นภาษาใกล้เคียงกัน
สถานะ
ผู้พูดภาษาเขมรถิ่นไทยส่วนใหญ่สามารถพูดได้สองภาษา ทั้งภาษาไทยในฐานะภาษาทางการศึกษาและสื่อสารมวลชนภาษาเดียว และภาษาเขมรในเขตหมู่บ้านและบ้านของตน ในอดีต ภาษานี้เคยถูกห้ามใช้ (เช่นห้ามพูดภาษาเขมรถิ่นไทยในห้องเรียน) เพื่อส่งเสริมความชำนาญในภาษาประจำชาติ นั่นทำให้มีผู้พูดภาษาเขมรถิ่นไทยไม่กี่คน (ประมาณ 1,000 คน) ที่สามารถอ่านหรือเขียนภาษาเขมรได้
ประชากร
จังหวัด | ร้อยละของจำนวนผู้พูดภาษาเขมรใน พ.ศ. 2533 | ร้อยละของจำนวนผู้พูดภาษาเขมรใน พ.ศ. 2543 |
---|---|---|
บุรีรัมย์ | ไม่ปรากฏข้อมูล | 27.6% |
จันทบุรี | 0.6% | 1.6% |
มหาสารคาม | 0.2% | 0.3% |
ร้อยเอ็ด | 0.4% | 0.5% |
สระแก้ว | ไม่ปรากฏข้อมูล | 1.9% |
ศรีสะเกษ | 30.2% | 26.2% |
สุรินทร์ | 63.4% | 47.2% |
ตราด | 0.4% | 2.1% |
อุบลราชธานี | 0.8% | 0.3% |
สัทวิทยา
พยัญชนะ
ลักษณะการออกเสียง | ตำแหน่งเกิดเสียง | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
เสียงนาสิก | m | n | ɲ | ŋ | ||||
เสียงหยุด | ก้อง | b | d | |||||
ไม่ก้อง | ไม่พ่นลม | p | t | c | k | ʔ | ||
พ่นลม | pʰ | tʰ | cʰ | kʰ | ||||
f | s | h | ||||||
r | ||||||||
l | ||||||||
w | j |
- หน่วยเสียงที่เป็นได้ทั้งและมี 14 หน่วยเสียง ได้แก่ /m/, /n/, /ɲ/, /ŋ/, /p/, /t/, /c/, /k/, /ʔ/, /h/, /r/, /l/, /w/ และ /j/
- หน่วยเสียง /k/ ในตำแหน่งท้ายพยางค์มีหน่วยเสียงย่อย 2 เสียง คือ [k] และ [ʔ] เช่น /tɨk/ 'น้ำ' อาจออกเสียงเป็น [tɨk] หรือ [tɨʔ]
- หน่วยเสียง /c/ และ /cʰ/ ในบางตำรากล่าวว่าเป็นหน่วยเสียง /t͡ɕ/ และ /t͡ɕʰ/
- หน่วยเสียง /f/ เป็นหน่วยเสียงที่ยืมมาจากภาษาไทยมาตรฐาน
- กลุ่มพยัญชนะที่มีตัวแรกเป็นเสียงนาสิกและตัวถัดมาเป็นพยัญชนะที่เกิดจากฐานเดียวกัน พยัญชนะตัวแรกนั้นอาจกลายเป็นพยัญชนะท้ายของ /ʔa/ หรืออาจกลายเป็นพยางค์นาสิก /m̩/, /n̩/, /ɲ̍/, /ŋ̍/
สระ
สระเดี่ยว
ระดับลิ้น | ตำแหน่งลิ้น | ||
---|---|---|---|
หน้า | กลาง | หลัง | |
สูง | i, iː | ɨ, ɨː | u, uː |
กึ่งสูง | ɪ, ɪː | ɤ, ɤː | ʊ, ʊː |
กลาง | e, eː | ə, əː | o, oː |
กึ่งต่ำ | ɛ, ɛː | ʌ, ʌː | ɔ, ɔː |
ต่ำ | a, aː | ɒ, ɒː |
สระประสม
หน่วยเสียงสระประสมภาษาเขมรถิ่นไทยมี 6 หน่วยเสียง ได้แก่ /iə/, /iːə/, /ɨə/, /ɨːə/, /uə/ และ /uːə/ โดยหน่วยเสียง /ɨːə/ จะปรากฏเฉพาะในคำยืมภาษาไทย เช่น /kɨːək/ 'รองเท้า'
ไวยากรณ์
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ลำดับคำในภาษาเขมรถิ่นไทยมักจะเป็นแบบประธาน–กริยา–กรรม ประกอบด้วยคำเดี่ยวเป็นหลัก แต่อาจจะมีสลับกันบ้างเป็นแบบประธาน–กรรม–กริยาและแบบกรรม–กริยา
ระบบการเขียน
นักภาษาศาสตร์ได้คิดค้นระบบการเขียนภาษาเขมรถิ่นไทยด้วยตัวอักษรไทยหลายระบบ โดยมีทั้งระบบของมหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ท้ายที่สุดมีระบบราชบัณฑิตยสถาน ซึ่งดัดแปลงจากระบบก่อน ๆ เป็นมาตรฐานโดยปริยาย
ตัวเขียนภาษาเขมรถิ่นไทยอักษรไทยตามที่คณะกรรมการจัดทำระบบเขียนภาษาท้องถิ่นของกลุ่มชาติพันธุ์ด้วยอักษรไทย ราชบัณฑิตยสถาน (ปัจจุบันคือสำนักงานราชบัณฑิตยสภา) ได้กำหนดไว้ มีดังนี้
|
|
|
- ภาษาเขมรถิ่นไทยไม่มีหน่วยเสียงวรรณยุกต์ ในการเขียนเป็นอักษรไทยจึงเลือกใช้พยัญชนะไทยที่เป็นอักษรกลางและอักษรต่ำเท่านั้น ไม่ใช้อักษรสูงเพราะจะมีเสียงวรรณยุกต์จัตวาเข้ามาเกี่ยวข้อง
- หน่วยเสียง /t/ และ /p/ มีรูปพยัญชนะต้นและพยัญชนะท้ายแตกต่างกันดังที่แสดงในตาราง โดยการใช้พยัญชนะเสียงก้องมาแทนพยัญชนะท้ายเสียงไม่ก้องนั้นนำแบบอย่างมาจากภาษาไทย
- หน่วยเสียง /ʔ/ เมื่อเป็นพยัญชนะท้ายจะไม่มีรูปเขียน แต่ให้แสดงด้วยสระเสียงสั้นที่ไม่มีตัวสะกด (สระยาวที่ลงท้ายด้วยเสียงนี้ไม่ได้กำหนดไว้ในมาตรฐาน อาจใช้ อ์ แทน)
- คำบางคำที่มีพยัญชนะต้น 2 ตัวเรียงกัน บางครั้งอาจออกเสียงสระแทรกกลาง (แสดงด้วย /ᵊ/ หรือ /a/) และบางครั้งอาจออกเสียงคล้ายพยัญชนะควบ ให้เขียนตามแบบคำที่มีพยัญชนะต้นควบ เช่น ซดํา, ซอ็อฺบ, รเต็ฮ
- เสียงสระที่ไม่มีในภาษาไทยจะเขียนแทนด้วยรูปสระไทยที่ออกเสียงใกล้เคียงกันและใช้เครื่องหมายพินทุ (ฺ) กำกับ เพื่อแสดงเสียงที่ต่างออกไป หากเป็นรูปสระที่ไม่มี อ ประกอบ ให้ใส่พินทุกำกับใต้พยัญชนะต้น เช่น เบฺิก หากเป็นรูปสระที่มี อ ประกอบ ให้ใส่พินทุกำกับใต้ อ เช่น ซอฺ ยกเว้นสระ –ือ ให้ใส่พินทุกำกับใต้พยัญชนะต้น เช่น ลฺือ เพราะ อ ในกรณีนี้ไม่ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของรูปสระอย่างแท้จริง
- รูปสระที่ซ้อนกันหลายตัวตามแนวดิ่ง ในการพิมพ์ทางคอมพิวเตอร์ให้พิมพ์จากล่างขึ้นบน เช่น สระ /ʌ/ ที่มีพยัญชนะท้าย กดพยัญชนะต้น กดพินทุ ตามด้วย –ิ แล้วตามด้วยไม้ไต่คู้
อ้างอิง
- William J. Frawley, บ.ก. (2003). International Encyclopedia of Linguistics. Vol. 1 (2nd ed.). Oxford University Press. p. 488.
- ภาษาเขมรถิ่นไทย ที่ Ethnologue (18th ed., 2015) (ต้องสมัครสมาชิก)
- องค์ บรรจุน. (2553). สยาม หลากเผ่าหลายพันธุ์. กรุงเทพฯ: มติชน, หน้า 63.
- Thomas, David. 1990. "On the 'language' status of Northern Khmer." JLC 9.1:98–106
- Vail, Peter (2007). "Thailand's Khmer as 'invisible minority': Language, ethnicity and cultural politics in north-eastern Thailand". Asian Ethnicity. 8 (2): 111–130. doi:10.1080/14631360701406247. S2CID 144401165.
- ภาษาเขมรถิ่นไทย ที่ Ethnologue (22nd ed., 2019)
- "burirum.xls" (PDF). สืบค้นเมื่อ 2017-03-08.
- http://web.nso.go.th/pop2000/finalrep/chanburifn.pdf
- "mahakam.xls" (PDF). สืบค้นเมื่อ 2017-03-08.
- http://web.nso.go.th/pop2000/finalrep/roietfn.pdf
- (PDF) http://web.nso.go.th/pop2000/finalrep/sakaeofn.pdf. สืบค้นเมื่อ 2017-03-08.
{{}}
:|title=
ไม่มีหรือว่างเปล่า ((help)) - (PDF) http://web.nso.go.th/pop2000/finalrep/srisaketfn.pdf. สืบค้นเมื่อ 2017-03-08.
{{}}
:|title=
ไม่มีหรือว่างเปล่า ((help)) - (PDF) . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2012-02-15. สืบค้นเมื่อ 2017-03-08.
{{}}
:|title=
ไม่มีหรือว่างเปล่า ((help)) - http://web.nso.go.th/pop2000/finalrep/tratfn.pdf
- (PDF) http://web.nso.go.th/pop2000/finalrep/ubonfn.pdf. สืบค้นเมื่อ 2017-03-08.
{{}}
:|title=
ไม่มีหรือว่างเปล่า ((help)) - ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). คู่มือระบบเขียนภาษาเขมรถิ่นไทยอักษรไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน, หน้า 41.
- ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). คู่มือระบบเขียนภาษาเขมรถิ่นไทยอักษรไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน, หน้า 45.
- http://www.royin.go.th/?printing=คู่มือระบบเขียนภาษาเขม-2
อ่านเพิ่ม
- Thanan Čhanthrupant, and Chātchāi Phromčhakkarin. Photčhanānukrom Khamen (Surin)-Thai-Angkrit = Khmer (Surin)-Thai-English Dictionary. [Bangkok, Thailand]: Indigenous Languages of Thailand Research project, Chulalongkorn University Language Institute, 1978.
- Suwilai Prēmsīrat, and Sōphanā Sīčhampā. Kānphatthanā rabop kānkhīan Phāsā Khamēn Thin Thai Khrōngkān Phatthanā Phāsā Phư̄nbān phư̄a ʻAnurak Sinlapawatthanatham Phư̄nbān læ Phalit Sư̄ Tāng Tāng = Formulating Thai-based northern Khmer orthography : for the recording and preservation of local culture and for the producing of educational materials. [Bangkok]: Sathāban Wičhai Phāsā læ Watthanatham phư̄a Phatthanā Chonnabot, Mahāwitthayālai Mahidon, 1990. ISBN
แหล่งข้อมูลอื่น
- Thailand’s Khmer as 'Invisible Minority': Language, Ethnicity and Cultural Politics in North-Eastern Thailand
- The Cambodian Language in Thailand
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
phasaekhmrthinithy bangeriyk phasaekhmrehnux hrux phasaekhmrsurinthr epnphasayxykhxngphasaekhmr phudodychawithyechuxsayekhmrinpraethsithythixyuincnghwdsurinthr burirmy nkhrrachsima srisaeks xublrachthani aelarxyexd rwmthngthixphyphipsupraethskmphucha odycnghwdsurinthrmiphuphudphasaekhmrthinithymakthisud khidepnrxyla 60 khxngprachakrthnghmdincnghwd hruxpraman 8 aesnkhnphasaekhmrthinithyphasaekhmrehnux phasaekhmrsurinthrphsa khaemrxxkesiyng pʰᵊsaː kʰᵊmɛːr praethsthimikarphudithy kmphuchaphumiphakhcnghwdsurinthr cnghwdsrisaeks cnghwdburirmychatiphnthuchawithyechuxsayekhmrcanwnphuphud1 4 lankhn sungkhnphudephiyngphasaediywmiimmak 2006 trakulphasaxxsotrexechiytik ekhmrphasaekhmrthinithyrabbkarekhiynxksrithy swnihyepnphasaphud sthanphaphthangkarphasachnklumnxythirbrxngin ithyrachbnthityspharhsphasaISO 639 3kxm phasaekhmrthinithytangcakphasaekhmrsaeniyngphnmepysungepnsaeniyngmatrthan indancanwnaelakhwamtangkhxnghnwyesiyngsra karichphyychna raksphth aelaiwyakrn thaihaeyksaeniyngekhmrthinithyxxkcaksaeniyngxun idngay phuphudphasaekhmrthinithycaekhaicphasaekhmrthuksaeniyng aetphuphudsaeniyngphnmepycamipyhainkarthakhwamekhaicphasaekhmrthinithy thaihnkphasasastrbangkhnaeykphasaekhmrthinithyxxkepnphasaihmtanghakcakphasaekhmr odythuxepnphasaiklekhiyngknsthanaphuphudphasaekhmrthinithyswnihysamarthphudidsxngphasa thngphasaithyinthanaphasathangkarsuksaaelasuxsarmwlchnphasaediyw aelaphasaekhmrinekhthmubanaelabankhxngtn inxdit phasaniekhythukhamich echnhamphudphasaekhmrthinithyinhxngeriyn ephuxsngesrimkhwamchanayinphasapracachati nnthaihmiphuphudphasaekhmrthinithyimkikhn praman 1 000 khn thisamarthxanhruxekhiynphasaekhmridprachakrrxylakhxngprachakrthiphudphasaekhmrincnghwdkhxngpraethsithy cnghwd rxylakhxngcanwnphuphudphasaekhmrin ph s 2533 rxylakhxngcanwnphuphudphasaekhmrin ph s 2543burirmy impraktkhxmul 27 6 cnthburi 0 6 1 6 mhasarkham 0 2 0 3 rxyexd 0 4 0 5 sraaekw impraktkhxmul 1 9 srisaeks 30 2 26 2 surinthr 63 4 47 2 trad 0 4 2 1 xublrachthani 0 8 0 3 sthwithyaphyychna hnwyesiyngphyychnaphasaekhmrthinithy lksnakarxxkesiyng taaehnngekidesiyngesiyngnasik m n ɲ ŋesiynghyud kxng b dimkxng imphnlm p t c k ʔphnlm pʰ tʰ cʰ kʰf s hrlw j hnwyesiyngthiepnidthngaelami 14 hnwyesiyng idaek m n ɲ ŋ p t c k ʔ h r l w aela j hnwyesiyng k intaaehnngthayphyangkhmihnwyesiyngyxy 2 esiyng khux k aela ʔ echn tɨk na xacxxkesiyngepn tɨk hrux tɨʔ hnwyesiyng c aela cʰ inbangtaraklawwaepnhnwyesiyng t ɕ aela t ɕʰ hnwyesiyng f epnhnwyesiyngthiyummacakphasaithymatrthan klumphyychnathimitwaerkepnesiyngnasikaelatwthdmaepnphyychnathiekidcakthanediywkn phyychnatwaerknnxacklayepnphyychnathaykhxng ʔa hruxxacklayepnphyangkhnasik m n ɲ ŋ sra sraediyw hnwyesiyngsraediywphasaekhmrthinithy radblin taaehnnglinhna klang hlngsung i iː ɨ ɨː u uːkungsung ɪ ɪː ɤ ɤː ʊ ʊːklang e eː e eː o oːkungta ɛ ɛː ʌ ʌː ɔ ɔːta a aː ɒ ɒː sraprasm hnwyesiyngsraprasmphasaekhmrthinithymi 6 hnwyesiyng idaek ie iːe ɨe ɨːe ue aela uːe odyhnwyesiyng ɨːe capraktechphaainkhayumphasaithy echn kɨːek rxngetha iwyakrnswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniid ladbkhainphasaekhmrthinithymkcaepnaebbprathan kriya krrm prakxbdwykhaediywepnhlk aetxaccamislbknbangepnaebbprathan krrm kriyaaelaaebbkrrm kriyarabbkarekhiynnkphasasastridkhidkhnrabbkarekhiynphasaekhmrthinithydwytwxksrithyhlayrabb odymithngrabbkhxngmhawithyalymhidl mhawithyalyechiyngihm thaythisudmirabbrachbnthitysthan sungddaeplngcakrabbkxn epnmatrthanodypriyay twekhiynphasaekhmrthinithyxksrithytamthikhnakrrmkarcdtharabbekhiynphasathxngthinkhxngklumchatiphnthudwyxksrithy rachbnthitysthan pccubnkhuxsanknganrachbnthityspha idkahndiw midngni phyychna xksrithy esiyng twxyangkha khwamhmayk k k u wwcruk hmukh kʰ kh kangekngng ŋ thing phraxathitychnng hmxc c ecc klwykorc smch cʰ echx ims s aesh may ɲ eyiyd yatiphl iy fnd d odng maphraw t emuxepnphyychnathay t id xikt t emuxepnphyychnatn etiy epdth tʰ thx ng thungn n en ik etacer in makb b bay khawsuk p emuxepnphyychnathay ohb rbprathanp p emuxepnphyychnatn pwh nguph pʰ ephx a dumf f iffa iffam m emuxn ikkmm hyingsawy j eyiya ykskhen iy hmxnr r reth ekwiynskwr klxngl l l uk phrasngkhkbal hww w ewuxd wd nam elw kradumx ʔ emuxepnphyychnatn xaw esuxh h hiy xungxangcaerh snimimmirup ʔ emuxepnphyychnathay ba hk sra xksrithy esiyng twxyangkha khwamhmay a a emuximmiphyychnathay aelaxyuinkhahlayphyangkh hruxemuxmiphyychnathayepn ʔ paperih ethayngdngmaka makxkbk a emuxmiphyychnathay thiimich ʔ m j w xngky khiehlk a aː xnsay kratay i i tiy sux i iː pir sxng i ɪ p iy etm i ɪː m iw aemw u ɨ pruk echa ux ɨː spux maefuxng u ɤ r uy ckcn ux ɤː emuximmiphyychnathay kp ux craekh u ɤː emuxmiphyychnathay kaphl ung pun u u mun kxn siw u uː pu xa na chay u ʊ y ub klangkhun u ʊː s unkr u swnkhrwe a e emuxmiphyychnathayepn ʔ eta tie e emuxmiphyychnathayxun xaeml ekluxe eː chewng sayae a ɛ emuxmiphyychnathayepn ʔ raera snuksnanae ɛ emuxmiphyychnathayxun taery plaae ɛː aekh phracnthro a o emuxmiphyychnathayepn ʔ opa ekraa ekhruxngti o o emuxmiphyychnathayepn h lolh bwmepngo a ldrup o emuxmiphyychnathayxun khly khluyo oː ocl ekha sra xksrithy esiyng twxyangkha khwamhmaye aa ɔ emuxmiphyychnathayepn ʔ seraa hmuban x ɔ emuxmiphyychnathayxun khnxr khnun x ɔː brx khiehre aa ɒ emuxmiphyychnathayepn ʔ et aaaek tukaek x ɒ emuxmiphyychnathayxun trx b maekhux x ɒː snlx aeknge xa e emuxmiphyychnathayepn ʔ lepxa ba bx e i e emuxmiphyychnathayxun esim khunekhye x eː emuximmiphyychnathay echx ime i eː emuxmiphyychnathay ekhiy ehne x a ʌ emuxmiphyychnathayepn ʔ xelx a aetngome i ʌ emuxmiphyychnathayxun ser iw khawepluxke x ʌː emuximmiphyychnathay kelx ephuxneklxe i ʌː emuxmiphyychnathay eh ir bine iya ie emuxmiphyychnathayepn ʔ theliya tke iy ie emuxmiphyychnathayxun eriyng aelnge iy iːe leliyy lalaye ux ɨe emuxd pake ux ɨːe saepuxr mahad wa ue emuxmiphyychnathayepn ʔ tiykwa khangkhk w ue emuxmiphyychnathayxun pakrwh phicarna w uːe emuximmiphyychnathay pnrw takhrx w uːe emuxmiphyychnathay pwng ikh a am xncra sbi aj id muxe a aw tewa kaehwaphasaekhmrthinithyimmihnwyesiyngwrrnyukt inkarekhiynepnxksrithycungeluxkichphyychnaithythiepnxksrklangaelaxksrtaethann imichxksrsungephraacamiesiyngwrrnyuktctwaekhamaekiywkhxng hnwyesiyng t aela p mirupphyychnatnaelaphyychnathayaetktangkndngthiaesdngintarang odykarichphyychnaesiyngkxngmaaethnphyychnathayesiyngimkxngnnnaaebbxyangmacakphasaithy hnwyesiyng ʔ emuxepnphyychnathaycaimmirupekhiyn aetihaesdngdwysraesiyngsnthiimmitwsakd srayawthilngthaydwyesiyngniimidkahndiwinmatrthan xacich x aethn khabangkhathimiphyychnatn 2 tweriyngkn bangkhrngxacxxkesiyngsraaethrkklang aesdngdwy ᵊ hrux a aelabangkhrngxacxxkesiyngkhlayphyychnakhwb ihekhiyntamaebbkhathimiphyychnatnkhwb echn sda sxx b reth esiyngsrathiimmiinphasaithycaekhiynaethndwyrupsraithythixxkesiyngiklekhiyngknaelaichekhruxnghmayphinthu kakb ephuxaesdngesiyngthitangxxkip hakepnrupsrathiimmi x prakxb ihisphinthukakbitphyychnatn echn eb ik hakepnrupsrathimi x prakxb ihisphinthukakbit x echn sx ykewnsra ux ihisphinthukakbitphyychnatn echn l ux ephraa x inkrniniimthuxwaepnswnhnungkhxngrupsraxyangaethcring rupsrathisxnknhlaytwtamaenwding inkarphimphthangkhxmphiwetxrihphimphcaklangkhunbn echn sra ʌ thimiphyychnathay kdphyychnatn kdphinthu tamdwy i aelwtamdwyimitkhuxangxingWilliam J Frawley b k 2003 International Encyclopedia of Linguistics Vol 1 2nd ed Oxford University Press p 488 phasaekhmrthinithy thi Ethnologue 18th ed 2015 txngsmkhrsmachik xngkh brrcun 2553 syam hlakephahlayphnthu krungethph mtichn hna 63 Thomas David 1990 On the language status of Northern Khmer JLC 9 1 98 106 Vail Peter 2007 Thailand s Khmer as invisible minority Language ethnicity and cultural politics in north eastern Thailand Asian Ethnicity 8 2 111 130 doi 10 1080 14631360701406247 S2CID 144401165 phasaekhmrthinithy thi Ethnologue 22nd ed 2019 burirum xls PDF subkhnemux 2017 03 08 http web nso go th pop2000 finalrep chanburifn pdf mahakam xls PDF subkhnemux 2017 03 08 http web nso go th pop2000 finalrep roietfn pdf PDF http web nso go th pop2000 finalrep sakaeofn pdf subkhnemux 2017 03 08 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a title immihruxwangepla help PDF http web nso go th pop2000 finalrep srisaketfn pdf subkhnemux 2017 03 08 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a title immihruxwangepla help PDF khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2012 02 15 subkhnemux 2017 03 08 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a title immihruxwangepla help http web nso go th pop2000 finalrep tratfn pdf PDF http web nso go th pop2000 finalrep ubonfn pdf subkhnemux 2017 03 08 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a title immihruxwangepla help rachbnthitysthan 2556 khumuxrabbekhiynphasaekhmrthinithyxksrithy chbbrachbnthitysthan krungethph rachbnthitysthan hna 41 rachbnthitysthan 2556 khumuxrabbekhiynphasaekhmrthinithyxksrithy chbbrachbnthitysthan krungethph rachbnthitysthan hna 45 http www royin go th printing khumuxrabbekhiynphasaekhm 2xanephimThanan Chanthrupant and Chatchai Phromchakkarin Photchananukrom Khamen Surin Thai Angkrit Khmer Surin Thai English Dictionary Bangkok Thailand Indigenous Languages of Thailand Research project Chulalongkorn University Language Institute 1978 Suwilai Premsirat and Sōphana Sichampa Kanphatthana rabop kankhian Phasa Khamen Thin Thai Khrōngkan Phatthana Phasa Phư nban phư a ʻAnurak Sinlapawatthanatham Phư nban lae Phalit Sư Tang Tang Formulating Thai based northern Khmer orthography for the recording and preservation of local culture and for the producing of educational materials Bangkok Sathaban Wichai Phasa lae Watthanatham phư a Phatthana Chonnabot Mahawitthayalai Mahidon 1990 ISBN 9745868302aehlngkhxmulxunThailand s Khmer as Invisible Minority Language Ethnicity and Cultural Politics in North Eastern Thailand The Cambodian Language in Thailand