คอเลสติแลน (อังกฤษ: Colestilan, ชื่อการค้า BindRen) เป็นยาที่ออกฤทธิ์เป็น (phosphate binder) และยังจัดเป็นยาลดระดับไขมันในกระแสเลือดกลุ่มไบล์แอซิดซีเควสแตรนต์ (bile acid sequestrant) อีกด้วย
ข้อมูลทางคลินิก | |
---|---|
ชื่อทางการค้า | BindRen |
/ | International Drug Names |
ระดับความเสี่ยงต่อทารกในครรภ์ |
|
ช่องทางการรับยา | การรับประทาน |
รหัส ATC |
|
กฏหมาย | |
สถานะตามกฏหมาย |
|
ข้อมูลเภสัชจลนศาสตร์ | |
ชีวประสิทธิผล | ไม่ถูกดูดซึม |
ไม่ถูกดูดซึม | |
การเปลี่ยนแปลงยา | ไม่ถูกดูดซึม |
ครึ่งชีวิตทางชีวภาพ | ไม่ถูกดูดซึม |
การขับออก | อุจจาระ |
ตัวบ่งชี้ | |
| |
เลขทะเบียน CAS |
|
(PubChem) CID |
|
ChemSpider |
|
| |
| |
ข้อมูลทางกายภาพและเคมี | |
สูตร | (C4H5ClN2)m(C3H6O)n |
7 (verify) | |
การใช้ประโยชน์ทางคลินิก
คอเลสติแลนถูกใช้เป็นยาสำหรับรักษา (Hyperphosphataemia) ในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่จำเป็นต้องแยกสารผ่านเยื่อ (dialysis) ซึ่งรวมไปถึงผู้ป่วยที่ต้องชำระเลือดผ่านเยื่อบุช่องท้อง (peritoneal dialysis) จากการศึกษาทางคลินิกพบว่าคอเลสติแลนทำให้ระดับฟอสเฟตในกระแสเลือดลดลงได้อย่างมีนัยสำคัญ โดยการรับประทานคอเลสติแลนในขนาด 11.5 กรัม และ 13.1 กรัมต่อวัน สามารถลดระดับฟอสเฟตในกระแสเลือดลงได้ 0.36 และ 0.50 มิลลิโมลต่อลิตร ตามลำดับ นอกจากนี้ ผลของคอเลสติแลนทำให้ปริมาณกรดน้ำดีในร่างกายลดลง กระตุ้นการสังเคราะห์กรดน้ำดีทดแทนที่ตับ โดยการดึงเอาคอเลสเตอรอลในกระแสเลือดและตับมาสร้างเป็นกรดน้ำดีทำให้ลดการสะสม ไขมันในตับและคอเลสเตอรอลในกระแสเลือด จึงมีการนำเอาคอเลสติแลนมาใช้เพื่อลดระดับไขมันในเลือดด้วย แต่ยังคงอยู่ในขอบเขตที่จำกัด
รูปแบบเภสัชภัณฑ์
คอเลสติแลน มีจำหน่ายในชื่อการค้า BindRen เป็นยาเม็ดเคลือบขนาด 1 กรัม/เม็ด สีขาว รูปไข่ ยาว 20.2 มิลลิเมตร ส่วนกว้างที่สุด 10.7 มิลลิเมตร พร้อมกับมีตัวอักษร “BINDREN” สีชมพูพิมพ์อยู่ด้านหนึ่งของเม็ดยา
ขนาดยา
ขนาดของคอเลสติแลนที่แนะนำต่อวัน คือ 6-9 กรัมต่อวัน โดยแบ่งให้วันละ 2-3 ครั้ง หลังอาหารทันที (ทั้งผู้ที่ยังไม่เคยได้รับยาจับฟอสเฟตหรือผู้ที่เปลี่ยนยาจับฟอสเฟตชนิดอื่นมาเป็นคอเลสติแลน) ทั้งนี้ ควรติดตามระดับฟอสเฟตในกระแสเลือดเป็นระยะระหว่างการใช้คอเลสติแลน ในกรณีที่ระดับฟอสเฟตในกระแสเลือดยังไม่ถึงเป้าหมาย สามารถเพิ่มขนาดยาได้สูงสุดไม่เกิน 3 กรัมต่อวัน ในช่วงระยะห่าง 2-3 สัปดาห์ โดยขนาดของคอเลสติแลนสูงสุดที่มีการใช้ในการศึกษาทางคลินิกคือ 15 กรัมต่อวัน
การใช้ยาในกลุ่มประชากรพิเศษ
การใช้คอเลสติพอลในกลุ่มประชากรพิเศษส่วนใหญ่แล้วยังมีข้อมูลอยู่อย่างจำกัดหรือยังขาดข้อมูลถึงประสิทธิภาพและความปลอดภัยในผู้ป่วยกลุ่มดังกล่าว ดังรายละเอียดต่อไปนี้:
- ความปลอดภัยของการใช้คอเลสติแลนในผู้ที่มีอายุมากกว่า 75 ปีขึ้น ยังมีข้อมูลจำกัด
- ไม่มีข้อมูลเกี่ยวกับประสิทธิภาพและความปลอดภัยในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 1-4
- การศึกษาทางคลินิกที่ผ่านมาจะคัดผู้ป่วยที่มีภาวะการทำงานของตับบกพร่องร้ายแรงออกจากการศึกษา ทำให้ขาดข้อมูลเกี่ยวกับความปลอดภัยของคอเลสติแลนในผู้ป่วยกลุ่มดังกล่าว ดังนั้น จึงไม่แนะนำให้ใช้คอเลสติแลนในผู้ป่วยที่มีภาวะการทำงานของตับบกพร่องรุนแรง
- ยังไม่มีการศึกษาถึงประสิทธิภาพและความปลอดภัยของคอเลสติแลนในผู้ป่วยที่มีอายุน้อยกว่า 18 ปี
ข้อห้ามใช้
ห้ามใช้คอเลสติแลนในผู้ป่วยที่มีการอุดกั้นของทางเดินอาหารและผู้ที่แพ้ยานี้
ข้อควรระวัง
ปัจจุบันยังไม่มีการศึกษาประสิทธิภาพและความปลอดภัยของคอเลสติแลนในกลุ่มผู้ป่วยต่อไปนี้ จึงควรระมัดระวังการใช้คอเลสติแลนในกลุ่มผู้ป่วยกลุ่มดังกล่าว:
- ผู้ที่มีภาวะกลืนอาหารลำบาก (Dysphagia) หรือมีปัญหาอื่นๆเกี่ยวกับการกลืน
- ผู้ที่มีความผิดปกติอย่างรุนแรงของระบบทางเดินอาหาร เช่น ท้องผูกรุนแรง และ/หรือเรื้อรัง, ลำไส้อุดตัน (intestinal stenosis), ถุงผนังลำไส้อักเสบ (intestinal diverticulum), ลำไส้ใหญ่ส่วนปลายอักเสบ (sigmoid colitis), แผลในทางเดินอาหาร (gastrointestinal ulcers), หรือเพิ่งได้รับการผ่าตัดทางเดินอาหาร
- ผู้ป่วยท่อน้ำดีอุดกั้น (Biliary obstruction)
- ผู้ที่มีภาวะการทำงานของตับบกพร่องอย่างรุนแรง
- ผู้ป่วยโรคลมชัก
- ผู้ที่มีประวัติเกิดเยื่อบุช่องท้องอักเสบ (peritonitis) จากการล้างไตทางหน้าท้อง
- ผู้ที่มีระดับโปรตีนอัลบูมินในกระแสเลือดต่ำกว่า 30 กรัมต่อลิตร
อย่างไรก็ตาม ไม่แนะนำให้ใช้คอเลสติแลนในผู้ป่วยดังข้างต้น
อันตรกิริยาระหว่างยา
คอเลสติแลนสามารถยับยั้งการถูกดูดซึมของยาอื่นได้ รวมไปถึงวิตามินที่ละลายในไขมัน (เอ, ดี, อี, และเค) และโฟเลท (Folate) ด้วย ทำให้ระดับยาอื่นในกระแสเลือดลดลง จนเกิดปัญหาในการรักษาได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งยาที่มีช่วงการรักษาแคบหรือยาที่ใช้รักษาความเจ็บป่วยที่ร้ายแรง อย่างเช่น ยารักษาโรคมะเร็ง ยากันชัก เป็นต้น ดังนั้นจึงควรรับประทานยาอื่นก่อนคอเลสติแลนอย่างน้อย 1 ชั่วโมง หรือหลังรับประทานคอเลสติแลนอย่างน้อย 3 ชั่วโมง
อาการไม่พึงประสงค์
อาการข้างเคียงที่อาจเกิดจากคอเลสติแลน ได้แก่ อาการข้างเคียงเกี่ยวกับระบบทางเดินอาหาร เช่น ท้องผูก คลื่นไส้ อาเจียน ร่างกายขาดวิตามินและแคลเซียม รวมไปถึงการขาดวิตามินเค ซึ่งอาจทำให้เกิดภาวะเลือดออกในทางเดินอาหารได้ ในรายที่ท้องผูกรุนแรงหรือเรื้อรังอาจกลายเป็นริดสีดวงทวารได้
โครงสร้างทางเคมีและกลไกการออกฤทธิ์
คอเลสติแลนเป็นยาที่เกิดจากการเกิดพันธะกันระหว่างพอลิเมอร์ 2 ชนิด (Cross-linked copolymer) คือ 2-เมทิลิมิดาโซล (2-methylimidazole) และอิพิคลอโรไฮดริน (Epichlorohydrin) (ดังภาพ) โดยคอเลสติแลนออกฤทธิ์เป็นเรซินแลกเปลี่ยนไอออน (Ionn exchanger resin) ซึ่งมีความสัมพันธ์กับระดับฟอสเฟต, กรดน้ำดี, และยูเรค (Urate) ในร่างกาย โดยคอเลสติพอลจะจับกับสารทั้ง 3 ชนิดดังข้างต้นในทางเดินอาหาร เป็นผลให้สารเหล่านั้นไม่ถูกดูดซึมกลับ (enterohepatic circulation) ทั้งนี้คอเลสติแลนนั้นไม่สามารถถูกดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือด และจะถูกขับออกจากร่างกายในรูปแบบของสารประกอบเชิงซ้อนที่จับอยู่กับไอออนเป้าหมายทั้ง 3 ชนิดดังข้างต้น
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- A. Klement (11 November 2013). "Dialysepflichtig – weniger Phosphat mit BindRen". Österreichische Apothekerzeitung (ภาษาเยอรมัน) (23/2013): 28f.
- Lacy FC, Armstrong LL, Goldman PM, Lance LL, editors. Drug Information Handbook with international trade name index. 18th edition, New Tork, Lexi-Comp®, 2014, p. 585-588,
- Locatelli, F; Dimkovic, N; Spasovski, G (2013). "Evaluation of colestilan in chronic kidney disease dialysis patients with hyperphosphataemia and dyslipidaemia: a randomized, placebo-controlled, multiple fixed-dose trial" (PDF). Nephrol. Dial. Transplant. 28 (7): 1874–88. doi:10.1093/ndt/gft064. PMC 1.
- Handelsman, Y. (2011). "Role of Bile Acid Sequestrants in the Treatment of Type 2 Diabetes". Diabetes Care. 34: S244–S250. doi:10.2337/dc11-s237. PMID 21525463.
- Houten, SM; Watanabe, M; Auwerx, J (2006). "Endocrine functions of bile acids" (PDF). The EMBO Journal. 25: 1419–25. doi:10.1038/sj.emboj.7601049. PMC 1440314.
- Haberfeld, H, บ.ก. (2013). Austria-Codex (ภาษาเยอรมัน). Vienna: Österreichischer Apothekerverlag.
- MIMS (December 1, 2013). "BindRen: new phosphate binder". MIMS.co.uk. สืบค้นเมื่อ December 13, 2014.
- European Commission (2013). "BindRen, INN-Colestilan" (PDF). European Commission. สืบค้นเมื่อ December 13, 2014.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
khxelstiaeln xngkvs Colestilan chuxkarkha BindRen epnyathixxkvththiepn phosphate binder aelayngcdepnyaldradbikhmninkraaeseluxdklumiblaexsidsiekhwsaetrnt bile acid sequestrant xikdwykhxelstiaelnkhxmulthangkhlinikchuxthangkarkhaBindRen International Drug NamesradbkhwamesiyngtxtharkinkhrrphBchxngthangkarrbyakarrbprathanrhs ATCV03AE06 WHO kthmaysthanatamkthmayIn general Prescription only khxmulephschclnsastrchiwprasiththiphlimthukdudsumimthukdudsumkarepliynaeplngyaimthukdudsumkhrungchiwitthangchiwphaphimthukdudsumkarkhbxxkxuccaratwbngchichuxtamrabb IUPAC 2 chloromethyl oxirane 2 methyl 1H imidazole copolymerelkhthaebiyn CAS95522 45 5 YPubChem CID65840ChemSpidernoneD01934 YCHEMBL2103800 Nkhxmulthangkayphaphaelaekhmisutr C4H5ClN2 m C3H6O n 7 Y verify saranukrmephschkrrmkarichpraoychnthangkhlinikkhxelstiaelnthukichepnyasahrbrksa Hyperphosphataemia inphupwyorkhiteruxrngthicaepntxngaeyksarphaneyux dialysis sungrwmipthungphupwythitxngcharaeluxdphaneyuxbuchxngthxng peritoneal dialysis cakkarsuksathangkhlinikphbwakhxelstiaelnthaihradbfxseftinkraaeseluxdldlngidxyangminysakhy odykarrbprathankhxelstiaelninkhnad 11 5 krm aela 13 1 krmtxwn samarthldradbfxseftinkraaeseluxdlngid 0 36 aela 0 50 milliomltxlitr tamladb nxkcakni phlkhxngkhxelstiaelnthaihprimankrdnadiinrangkayldlng kratunkarsngekhraahkrdnadithdaethnthitb odykardungexakhxelsetxrxlinkraaeseluxdaelatbmasrangepnkrdnadithaihldkarsasm ikhmnintbaelakhxelsetxrxlinkraaeseluxd cungmikarnaexakhxelstiaelnmaichephuxldradbikhmnineluxddwy aetyngkhngxyuinkhxbekhtthicakdrupaebbephschphnthkhxelstiaeln micahnayinchuxkarkha BindRen epnyaemdekhluxbkhnad 1 krm emd sikhaw rupikh yaw 20 2 milliemtr swnkwangthisud 10 7 milliemtr phrxmkbmitwxksr BINDREN sichmphuphimphxyudanhnungkhxngemdyakhnadyakhnadkhxngkhxelstiaelnthiaenanatxwn khux 6 9 krmtxwn odyaebngihwnla 2 3 khrng hlngxaharthnthi thngphuthiyngimekhyidrbyacbfxsefthruxphuthiepliynyacbfxseftchnidxunmaepnkhxelstiaeln thngni khwrtidtamradbfxseftinkraaeseluxdepnrayarahwangkarichkhxelstiaeln inkrnithiradbfxseftinkraaeseluxdyngimthungepahmay samarthephimkhnadyaidsungsudimekin 3 krmtxwn inchwngrayahang 2 3 spdah odykhnadkhxngkhxelstiaelnsungsudthimikarichinkarsuksathangkhlinikkhux 15 krmtxwnkarichyainklumprachakrphiesskarichkhxelstiphxlinklumprachakrphiessswnihyaelwyngmikhxmulxyuxyangcakdhruxyngkhadkhxmulthungprasiththiphaphaelakhwamplxdphyinphupwyklumdngklaw dngraylaexiydtxipni khwamplxdphykhxngkarichkhxelstiaelninphuthimixayumakkwa 75 pikhun yngmikhxmulcakd immikhxmulekiywkbprasiththiphaphaelakhwamplxdphyinphupwyorkhiteruxrngrayathi 1 4 karsuksathangkhlinikthiphanmacakhdphupwythimiphawakarthangankhxngtbbkphrxngrayaerngxxkcakkarsuksa thaihkhadkhxmulekiywkbkhwamplxdphykhxngkhxelstiaelninphupwyklumdngklaw dngnn cungimaenanaihichkhxelstiaelninphupwythimiphawakarthangankhxngtbbkphrxngrunaerng yngimmikarsuksathungprasiththiphaphaelakhwamplxdphykhxngkhxelstiaelninphupwythimixayunxykwa 18 pikhxhamichhamichkhxelstiaelninphupwythimikarxudknkhxngthangedinxaharaelaphuthiaephyanikhxkhwrrawngpccubnyngimmikarsuksaprasiththiphaphaelakhwamplxdphykhxngkhxelstiaelninklumphupwytxipni cungkhwrramdrawngkarichkhxelstiaelninklumphupwyklumdngklaw phuthimiphawaklunxaharlabak Dysphagia hruxmipyhaxunekiywkbkarklun phuthimikhwamphidpktixyangrunaerngkhxngrabbthangedinxahar echn thxngphukrunaerng aela hruxeruxrng laisxudtn intestinal stenosis thungphnnglaisxkesb intestinal diverticulum laisihyswnplayxkesb sigmoid colitis aephlinthangedinxahar gastrointestinal ulcers hruxephingidrbkarphatdthangedinxahar phupwythxnadixudkn Biliary obstruction phuthimiphawakarthangankhxngtbbkphrxngxyangrunaerng phupwyorkhlmchk phuthimiprawtiekideyuxbuchxngthxngxkesb peritonitis cakkarlangitthanghnathxng phuthimiradboprtinxlbumininkraaeseluxdtakwa 30 krmtxlitr xyangirktam imaenanaihichkhxelstiaelninphupwydngkhangtnxntrkiriyarahwangyakhxelstiaelnsamarthybyngkarthukdudsumkhxngyaxunid rwmipthungwitaminthilalayinikhmn ex di xi aelaekh aelaofelth Folate dwy thaihradbyaxuninkraaeseluxdldlng cnekidpyhainkarrksaid odyechphaaxyangyingyathimichwngkarrksaaekhbhruxyathiichrksakhwamecbpwythirayaerng xyangechn yarksaorkhmaerng yaknchk epntn dngnncungkhwrrbprathanyaxunkxnkhxelstiaelnxyangnxy 1 chwomng hruxhlngrbprathankhxelstiaelnxyangnxy 3 chwomngxakarimphungprasngkhxakarkhangekhiyngthixacekidcakkhxelstiaeln idaek xakarkhangekhiyngekiywkbrabbthangedinxahar echn thxngphuk khlunis xaeciyn rangkaykhadwitaminaelaaekhlesiym rwmipthungkarkhadwitaminekh sungxacthaihekidphawaeluxdxxkinthangedinxaharid inraythithxngphukrunaernghruxeruxrngxacklayepnridsidwngthwaridokhrngsrangthangekhmiaelaklikkarxxkvththi2 methyl 1H imidazole say aela epichlorohydrin khwa khxelstiaelnepnyathiekidcakkarekidphnthaknrahwangphxliemxr 2 chnid Cross linked copolymer khux 2 emthilimidaosl 2 methylimidazole aelaxiphikhlxorihdrin Epichlorohydrin dngphaph odykhxelstiaelnxxkvththiepnersinaelkepliynixxxn Ionn exchanger resin sungmikhwamsmphnthkbradbfxseft krdnadi aelayuerkh Urate inrangkay odykhxelstiphxlcacbkbsarthng 3 chniddngkhangtninthangedinxahar epnphlihsarehlannimthukdudsumklb enterohepatic circulation thngnikhxelstiaelnnnimsamarththukdudsumekhasukraaeseluxd aelacathukkhbxxkcakrangkayinrupaebbkhxngsarprakxbechingsxnthicbxyukbixxxnepahmaythng 3 chniddngkhangtnduephimkhxelsitramin khxelstiphxl khxelksaethrn khxelsesewaelmxangxingA Klement 11 November 2013 Dialysepflichtig weniger Phosphat mit BindRen Osterreichische Apothekerzeitung phasaeyxrmn 23 2013 28f Lacy FC Armstrong LL Goldman PM Lance LL editors Drug Information Handbook with international trade name index 18th edition New Tork Lexi Comp 2014 p 585 588 ISBN 978 1 59195 255 8 Locatelli F Dimkovic N Spasovski G 2013 Evaluation of colestilan in chronic kidney disease dialysis patients with hyperphosphataemia and dyslipidaemia a randomized placebo controlled multiple fixed dose trial PDF Nephrol Dial Transplant 28 7 1874 88 doi 10 1093 ndt gft064 PMC 1 Handelsman Y 2011 Role of Bile Acid Sequestrants in the Treatment of Type 2 Diabetes Diabetes Care 34 S244 S250 doi 10 2337 dc11 s237 PMID 21525463 Houten SM Watanabe M Auwerx J 2006 Endocrine functions of bile acids PDF The EMBO Journal 25 1419 25 doi 10 1038 sj emboj 7601049 PMC 1440314 Haberfeld H b k 2013 Austria Codex phasaeyxrmn Vienna Osterreichischer Apothekerverlag MIMS December 1 2013 BindRen new phosphate binder MIMS co uk subkhnemux December 13 2014 European Commission 2013 BindRen INN Colestilan PDF European Commission subkhnemux December 13 2014