ออร์บิทัลเชิงโมเลกุล (อังกฤษ: Molecular Orbitals; MO) เป็นฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ที่อธิบายพฤติกรรมคล้ายคลื่นของอิเล็กตรอนในโมเลกุลโดยฟังก์ชันนี้มีความสำคัญในการคำนวณสมบัติทางเคมีและสมบัติทางกายภาพ อาทิ ความน่าจะเป็นที่จะพบอิเล็กตรอนในบริเวณต่างๆรอบโมเลกุล คำว่า "ออร์บิทัลเชิงโมเลกุล" ถูกนำใช้ครั้งแรกโดย โรเบิร์ต มัลลิเกน (Robert S. Mulliken) ในปี ค.ศ. 1932
ภาพรวมของออร์บิทัลเชิงโมเลกุล
ออร์บิทัลเชิงโมเลกุลสามารถใช้แสดงบริเวณในโมเลกุลที่สามารถพบอิเล็กตรอน ออร์บิทัลเชิงโมเลกุลได้จากการรวมกันของออร์บิทัลเชิงอะตอมที่ให้รายละเอียดเกี่ยวกับอิเล็กตรอนรอบๆอะตอม ออร์บิทัลเชิงโมเลกุลสามารถระบุโครงแบบอิเล็กตรอนของโมเลกุลตำแหน่งการกระจายตัวและพลังงานของอิเล็กตรอนในโมเลกุล โดยออร์บิทัลเชิงโมเลกุลได้จากการรวมกันเชิงเส้นตรงของออร์บิทัลเชิงอะตอม (LCAO) ในทฤษฎีออร์บิทัลเชิงโมเลกุล (molecular orbital theory)
การเกิดออร์บิทัลเชิงโมเลกุล
ออร์บิทัลเชิงโมเลกุลเกิดจากอันตรกิริยาระหว่างออร์บิทัลเชิงอะตอมที่มีสมมาตรที่เข้ากันได้ (ได้จากการพิจารณาตามทฤษฎีพอยท์กรุ๊ป) โดยจำนวนออร์บิทัลเชิงโมเลกุลจะต้องเท่ากับจำนวนออร์บิทัลเชิงอะตอมที่มารวมกันสำหรับโมเลกุลอะตอมคู่ใดๆแล้ว ออร์บิทัลเชิงโมเลกุลแสดงได้ดังฟังก์ชันคลื่นดังต่อไปนี้
เมื่อ และ แทนฟังก์ชันคลื่นของโมเลกุลสำหรับออร์บิทัลเชิงโมเลกุลแบบสร้างพันธะและออร์บิทัลเชิงโมเลกุลแบบต้านพันธะตามลำดับ และ คือ ฟังก์ชันคลื่นของอะตอม ส่วน ca และ cb คือสัมประสิทธิ์
ชนิดของออร์บิทัลเชิงโมเลกุล
ออร์บิทัลเชิงโมเลกุลสามารถแบ่งออกเป็น 3 ชนิด ดังนี้
ออร์บิทัลเชิงโมเลกุลแบบสร้างพันธะ (bonding molecular orbitals)
- อันตรกิริยาระหว่างออร์บิทัลเชิงอะตอมเป็นอันตรกิริยาแบบเสริมกัน (constructive (in-phase) interactions)
- พลังงานของออร์บิทัลเชิงโมเลกุลแบบสร้างพันธะจะต่ำกว่าพลังงานของออร์บิทัลเชิงอะตอมที่มารวมกัน
ออร์บิทัลเชิงโมเลกุลต้านสร้างพันธะ (antibonding molecular orbitals)
- อันตรกิริยาระหว่างออร์บิทัลเชิงอะตอมเป็นอันตรกิริยาแบบหักล้างกัน (destructive (out-of-phase) interactions) โดยมีระนาบบัพ (nodal plane) ที่ฟังก์ชันคลื่นของออร์บิทัลเชิงโมเลกุลต้านสร้างพันธะเป็นศูนย์ระหว่างอะตอมที่เกิดอันตรกิริยากัน
- พลังงานของออร์บิทัลเชิงโมเลกุลแบบต้านพันธะจะสูงกว่าพลังงานของออร์บิทัลเชิงอะตอมที่มารวมกัน
ออร์บิทัลเชิงโมเลกุลไม่สร้างพันธะ (nonbonding molecular orbitals)
- ออร์บิทัลเชิงโมเลกุลไม่สร้างพันธะเป็นผลของการไม่มีอันตรกิริยาระหว่างออร์บิทัลเชิงอะตอมเนื่องจากไม่มีออร์บิทัลที่มีสมมาตรเข้ากันได้
- พลังงานของออร์บิทัลเชิงโมเลกุลไม่สร้างพันธะจะเท่ากับพลังงานของออร์บิทัลเชิงอะตอม
การบอกชื่อของออร์บิทัลเชิงโมเลกุลตามสมมาตร
เราสามารถจำแนกชนิดของอันตรกิริยาระหว่างออร์บิทัลเชิงอะตอมตามสมบัติทางสมมาตร โดยการบอกชื่อออร์บิทัลเชิงโมเลกุลเป็น σ (ซิกมา), π (ไพ), δ (เดลตา), φ (ฟี), γ (แกมมา) เป็นต้น ซึ่งสอดคล้องกับสมมาตรของออร์บิทัลเชิงอะตอม s, p, d, f และ g ตามลำดับ จำนวนระนาบบัพ ของ ออร์บิทัลเชิงโมเลกุลแบบ σ, π, δ, ... จะเท่ากับ 0, 1, 2, ... ตามลำดับ
สมมาตรแบบ σ
ออร์บิทัลเชิงโมเลกุลที่มีสมมาตรแบบ σ เกิดจากอันตรกิริยาระหว่าง s-ออร์บิทัล จำนวน 2 ออร์บิทัล หรือ pz จำนวน 2 ออร์บิทัลตามแนวแกนระหว่างนิวเคลียส โดยการหมุนรอบแกนไม่ทำให้เปลี่ยนเฟส และ σ* ออร์บิทัล หรือ ออร์บิทัลเชิงโมเลกุลแบบต้านพันธะ σ ก็ไม่เปลี่ยนเฟสเมื่อมีการหมุนรอบแกนเช่นกัน
สมมาตรแบบ π
ออร์บิทัลเชิงโมเลกุลที่มีสมมาตรแบบ π เกิดจากอันตรกิริยาระหว่าง px จำนวน 2 ออร์บิทัล หรือ py จำนวน 2 ออร์บิทัล ออร์บิทัลเชิงโมเลกุลที่มีสมมาตรแบบ π จะไม่สมมาตรเมื่อเมื่อมีการหมุนรอบแกนระหว่างนิวเคลียสเนื่องจากจะทำให้มรการเปลี่ยนเฟสขึ้น ออร์บิทัลเชิงโมเลกุลแบบต้านพันธะ π* ก็ไม่เปลี่ยนเฟสเมื่อมีการหมุนรอบแกนเช่นกัน
สมมาตรแบบ δ
ออร์บิทัลเชิงโมเลกุลที่มีสมมาตรแบบ δ เกิดจากอันตรกิริยาระหว่าง dxy จำนวน 2 ออร์บิทัล หรือ dx2-y2 จำนวน 2 ออร์บิทัล เนื่องจากออร์บิทัลเชิงโมเลกุลชนิดนี้เกิดขึ้นโดยออร์บิทัลเชิงโมเลกุลแบบ d ที่มีพลังงานต่ำ จึงพบได้ในสารประกอบเชิงซ้อนของโลหะแทรนซิชัน เช่น พันธะระหว่าง Rh-Rh ในไอออนลบเชิงซ้อน [Re2Cl8]2−
สมมาตรแบบ φ
นักเคมีเชิงทฤษฎีได้คำนวณพันธะที่มีสมมาตรแบบ φ และในปี ค.ศ.2005 ได้มีการรายงานสารประกอบที่มีพันธะแบบ φ ในโมเลกุล U2
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- Mulliken, Robert S. (July 1932). Electronic Structures of Polyatomic Molecules and Valence. II. General Considerations. Physical Review 41 (1): 49–71.
- R. S. Mulliken, The assignment of quantum numbers for electrons in molecules, Physical Review, vol. 32, pages 186–222 (1928).
- Catherine E. Housecroft, Alan G, Sharpe, Inorganic Chemistry, Pearson Prentice Hall; 2nd Edition, 2005, p. 29-33.
- Michael Munowitz, Principles of Chemistry, Norton & Company, 2000, p. 229-233.
- F. A. Cotton (1965), Metal-Metal Bonding in [Re2X8]2− Ions and Other Metal Atom Clusters , Inorganic Chemistry, 4 (3), 334–336.
- Gagliardi, Laura; Roos, Björn O. (2005). Quantum chemical calculations show that the uranium molecule U2 has a quintuple bond. Nature 433: 848–851.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
xxrbithlechingomelkul xngkvs Molecular Orbitals MO epnfngkchnthangkhnitsastrthixthibayphvtikrrmkhlaykhlunkhxngxielktrxninomelkulodyfngkchnnimikhwamsakhyinkarkhanwnsmbtithangekhmiaelasmbtithangkayphaph xathi khwamnacaepnthicaphbxielktrxninbriewntangrxbomelkul khawa xxrbithlechingomelkul thuknaichkhrngaerkody orebirt mlliekn Robert S Mulliken inpi kh s 1932phaphrwmkhxngxxrbithlechingomelkulxxrbithlechingomelkulsamarthichaesdngbriewninomelkulthisamarthphbxielktrxn xxrbithlechingomelkulidcakkarrwmknkhxngxxrbithlechingxatxmthiihraylaexiydekiywkbxielktrxnrxbxatxm xxrbithlechingomelkulsamarthrabuokhrngaebbxielktrxnkhxngomelkultaaehnngkarkracaytwaelaphlngngankhxngxielktrxninomelkul odyxxrbithlechingomelkulidcakkarrwmknechingesntrngkhxngxxrbithlechingxatxm LCAO inthvsdixxrbithlechingomelkul molecular orbital theory karekidxxrbithlechingomelkulxxrbithlechingomelkulekidcakxntrkiriyarahwangxxrbithlechingxatxmthimismmatrthiekhaknid idcakkarphicarnatamthvsdiphxythkrup odycanwnxxrbithlechingomelkulcatxngethakbcanwnxxrbithlechingxatxmthimarwmknsahrbomelkulxatxmkhuidaelw xxrbithlechingomelkulaesdngiddngfngkchnkhlundngtxipni PS capsa cbpsb displaystyle Psi c a psi a c b psi b PS capsa cbpsb displaystyle Psi c a psi a c b psi b emux PS displaystyle Psi aela PS displaystyle Psi aethnfngkchnkhlunkhxngomelkulsahrbxxrbithlechingomelkulaebbsrangphnthaaelaxxrbithlechingomelkulaebbtanphnthatamladb psa displaystyle psi a aela psb displaystyle psi b khux fngkchnkhlunkhxngxatxm swn ca aela cb khuxsmprasiththichnidkhxngxxrbithlechingomelkulxxrbithlechingomelkulsamarthaebngxxkepn 3 chnid dngni xxrbithlechingomelkulaebbsrangphntha bonding molecular orbitals xntrkiriyarahwangxxrbithlechingxatxmepnxntrkiriyaaebbesrimkn constructive in phase interactions phlngngankhxngxxrbithlechingomelkulaebbsrangphnthacatakwaphlngngankhxngxxrbithlechingxatxmthimarwmknxxrbithlechingomelkultansrangphntha antibonding molecular orbitals xntrkiriyarahwangxxrbithlechingxatxmepnxntrkiriyaaebbhklangkn destructive out of phase interactions odymiranabbph nodal plane thifngkchnkhlunkhxngxxrbithlechingomelkultansrangphnthaepnsunyrahwangxatxmthiekidxntrkiriyakn phlngngankhxngxxrbithlechingomelkulaebbtanphnthacasungkwaphlngngankhxngxxrbithlechingxatxmthimarwmknxxrbithlechingomelkulimsrangphntha nonbonding molecular orbitals xxrbithlechingomelkulimsrangphnthaepnphlkhxngkarimmixntrkiriyarahwangxxrbithlechingxatxmenuxngcakimmixxrbithlthimismmatrekhaknid phlngngankhxngxxrbithlechingomelkulimsrangphnthacaethakbphlngngankhxngxxrbithlechingxatxmkarbxkchuxkhxngxxrbithlechingomelkultamsmmatrerasamarthcaaenkchnidkhxngxntrkiriyarahwangxxrbithlechingxatxmtamsmbtithangsmmatr odykarbxkchuxxxrbithlechingomelkulepn s sikma p iph d edlta f fi g aekmma epntn sungsxdkhlxngkbsmmatrkhxngxxrbithlechingxatxm s p d f aela g tamladb canwnranabbph khxng xxrbithlechingomelkulaebb s p d caethakb 0 1 2 tamladb smmatraebb s xxrbithlechingomelkulthimismmatraebb s ekidcakxntrkiriyarahwang s xxrbithl canwn 2 xxrbithl hrux pz canwn 2 xxrbithltamaenwaeknrahwangniwekhliys odykarhmunrxbaeknimthaihepliynefs aela s xxrbithl hrux xxrbithlechingomelkulaebbtanphntha s kimepliynefsemuxmikarhmunrxbaeknechnkn smmatraebb p xxrbithlechingomelkulthimismmatraebb p ekidcakxntrkiriyarahwang px canwn 2 xxrbithl hrux py canwn 2 xxrbithl xxrbithlechingomelkulthimismmatraebb p caimsmmatremuxemuxmikarhmunrxbaeknrahwangniwekhliysenuxngcakcathaihmrkarepliynefskhun xxrbithlechingomelkulaebbtanphntha p kimepliynefsemuxmikarhmunrxbaeknechnkn kareriyngtwkhxng p xxrbithlephuxekidepnphntha psmmatraebb d xxrbithlechingomelkulthimismmatraebb d ekidcakxntrkiriyarahwang dxy canwn 2 xxrbithl hrux dx2 y2 canwn 2 xxrbithl enuxngcakxxrbithlechingomelkulchnidniekidkhunodyxxrbithlechingomelkulaebb d thimiphlngnganta cungphbidinsarprakxbechingsxnkhxngolhaaethrnsichn echn phntharahwang Rh Rh inixxxnlbechingsxn Re2Cl8 2 kareriyngtwkhxng d xxrbithlephuxekidepnphntha dsmmatraebb f nkekhmiechingthvsdiidkhanwnphnthathimismmatraebb f aelainpi kh s 2005 idmikarrayngansarprakxbthimiphnthaaebb f inomelkul U2 kareriyngtwkhxng f xxrbithlephuxekidepnphntha fduephimewelns ewelnsxielktrxn sarprakxbokhxxrdienchn thvsdixxrbithlechingomelkul karrwmknechingesntrngkhxngxxrbithlechingxatxmxangxingMulliken Robert S July 1932 Electronic Structures of Polyatomic Molecules and Valence II General Considerations Physical Review 41 1 49 71 R S Mulliken The assignment of quantum numbers for electrons in molecules Physical Review vol 32 pages 186 222 1928 Catherine E Housecroft Alan G Sharpe Inorganic Chemistry Pearson Prentice Hall 2nd Edition 2005 p 29 33 Michael Munowitz Principles of Chemistry Norton amp Company 2000 p 229 233 F A Cotton 1965 Metal Metal Bonding in Re2X8 2 Ions and Other Metal Atom Clusters Inorganic Chemistry 4 3 334 336 Gagliardi Laura Roos Bjorn O 2005 Quantum chemical calculations show that the uranium molecule U2 has a quintuple bond Nature 433 848 851