บทความนี้ไม่มีจาก |
เลอกอร์บูซีเย (ฝรั่งเศส: Le Corbusier) เป็นนามแฝงของ ชาร์ล-เอดัวร์ ฌานแร-กรี (Charles-Édouard Jeanneret-Gris) สถาปนิก นักผังเมือง มัณฑนากร จิตรกร และนักเขียน เกิดเป็นชาวสวิสในภูมิภาคที่ใช้ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาทางการ แต่แปลงสัญชาติเป็นชาวฝรั่งเศสเมื่ออายุ 43 ปี เกิดที่เมืองโช-เดอ-ฟง (Chaux-de-Fonds) ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม ค.ศ. 1887 และเสียชีวิตที่เมืองร็อกบรูน-กัป-มาร์แต็ง (Roquebrune-Cap-Martin) เมื่อวันที่ 27 สิงหาคม ค.ศ. 1965
เลอกอร์บูซีเย | |
---|---|
เลอกอร์บูซีเย ในปี ค.ศ. 1964 | |
เกิด | ชาร์ล-เอดัวร์ ฌานแร-กรี 6 ตุลาคม ค.ศ. 1887 โช-เดอ-ฟง, สวิตเซอร์แลนด์ |
เสียชีวิต | สิงหาคม 27, 1965 รอกเกอบรุน-กัป-มาร์ตัง, ฝรั่งเศส | (77 ปี)
สัญชาติ | สวิส, ฝรั่งเศส |
รางวัล | AIA Gold Medal (1961) |
ผลงานสำคัญ | วิลลาซาวอย, พอยซี วิลลาลาโรเช, ปารีส น็อทร์ดามดูว์โอ, รงช็อง |
ลายมือชื่อ | |
เขาเป็นหนึ่งในผู้นำร่องของแนวคิดสถาปัตยกรรมสมัยใหม่อันประกอบด้วยสถาปนิกสำคัญ เช่น ลูทวิช มีส ฟัน แดร์ โรเออ, วัลเทอร์ โกรพีอุส, อัลวาร์ อาลโต, แฟรงก์ ลอยด์ ไรต์ และเตโอ ฟัน ดุสบืร์ค (Theo van Doesburg)
ทั้งนี้เลอกอร์บูซีเยยังได้สร้างสรรค์ผลงานด้านการผังเมือง และการออกแบบไว้อีกด้วย เขามีชื่อเสียงในการสร้าง (unité d'habitation, housing unit ) โดยแนวคิดนี้เขาเริ่มคิดค้นในช่วงปี ค.ศ. 1920 เพื่อนำไปสู่การสร้างทฤษฎีของ (logement collectif, collective lodging)
ประวัติ
เลอกอร์บูซีเย (1887-1965) เกิดเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม ค.ศ. 1887 ที่เมืองโช-เดอ-ฟงซึ่งเป็นเมืองเล็ก ๆ ในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ซึ่งที่นั่นเป็นศูนย์กลางของการทำนาฬิกา พ่อเป็นคนสลักและลงยาหน้าปัดนาฬิกา ส่วนแม่เป็นครูสอนเปียโน
พออายุได้ 13 ปี เขาออกจากกิจการของครอบครัวออกเที่ยวไปในยุโรปและเมดิเตอร์เรเนียน ไปอยู่ปารีสและได้ทำงานกับ ต่อจากนั้น ไปอยู่เยอรมันไปเป็นผู้ช่วยเบเริน และกลับมาเป็นครูที่โรงเรียนโช-เดอ-ฟง เขาได้ไปทำงานเป็นจิตรกรที่ปารีส และได้ทำงานด้านผังเมือง ได้สร้างเมืองใหม่จัณฑีครห์ (Chandigarh) ซึ่งเป็นเมืองหลวงของรัฐปัญจาบ ประเทศอินเดีย
ในปี 1913 ไปอยู่ปารีส ซึ่งในขณะนั้นเป็นศูนย์กลางของศิลปะบาศกนิยม (cubism) และลัทธิเหนือจริง (surrealism) ต่อมาในปี 1930 ได้โอนสัญชาติมาเป็นสัญชาติฝรั่งเศส และเขาได้เสียชีวิตขณะว่ายน้ำเมื่อวันที่ 27 สิงหาคม ค.ศ. 1965
แนวความคิดในการออกแบบ
ตัวเขาไปสร้างศิลปะแบบ (purism) โดยยึดถือความคิดเกี่ยวกับรูปทรงอย่างเดียว พร้อมกับคำพูดของเขาที่ว่า “a house is a machine for living in“ หมายความว่า บ้านพักอาศัยควรสนองประโยชน์ใช้สอยอย่างแท้จริง กอร์บูซีเยมองเห็นว่า บ้านนั้นเป็นผลิตผลของผู้บริโภคเหมือนกับรถยนต์ ซึ่งผลิตชิ้นส่วนออกมาจากโรงงานและด้วยการผลิตทางอุตสาหกรรมนี้ บ้านก็ควรมีชิ้นส่วนที่ผลิตออกมาจากโรงงาน (แล้วเลื่อนออกมาตามสายพานเหมือนชิ้นส่วนของรถยนต์) และด้วยหลักการนี้ก็เข้าครอบงำสถาปนิกตั้งแต่นั้นมา ความจริงแล้วกอร์บูซีเยได้แรงบันดาลใจจากภาพจำลองของเครื่องจักรและอาศัยสิ่งเหล่านี้ไปสร้างสรรค์กระบวนแบบใหม่ ๆ ซึ่งไม่มีการเกี่ยวข้องกับสถาปัตยกรรมแบบดั้งเดิม บ้านของเขาก็ดูคล้าย ๆ เครื่องจักร แต่ละส่วนแสดงออกอย่างชัดแจ้งเหมือนชิ้นส่วนของเครื่องจักร ปล่องระบายอากาศบนหลังคาก็ดูคล้ายปล่องเรือกลไฟ บ้านที่รู้จักกันดีก็คือ วีลาซาวัว (Villa Savoye) นอกกรุงปารีส ซึ่งถูกเปรียบเทียบกับเฮลิคอปเตอร์ที่ตั้งอยู่บนภูมิทัศน์ที่เกี่ยวเนื่องกับคติทางคลาสสิกและยุคเครื่องจักรกล กอร์บูซีเยเป็นผู้สนับสนุนความคิดแบบอนาคตนิยม โดยการแสดงออกให้เห็นสังคมใหม่แทนที่จะให้สถาปัตยกรรมเป็นผู้กำหนดโลกใหม่ เขากลับมีความต้องการที่จะออกแบบสังคมใหม่ด้วยจินตนาการของเขาเอง
กอร์บูซีเยได้เปลี่ยนกระบวนแบบของเขา หลังสงครามเขาก็ทิ้งความตั้งใจที่ชอบผลิตผลของเครื่องจักรที่มีผิวพื้นที่เรียบลื่นและหันไปชอบกระบวนแบบใหม่ซึ่งเขาเรียกว่า brutalism คือความหยาบของผิววัสดุ เมื่อเป็นเช่นนี้จะเห็นว่ากอร์บูซีเยมักทำโครงสร้างแบบ “คอนกรีตเปลือย“ และเขาเห็นว่าอาคารนั้นไม่เหมาะกับคนแต่ควรทำให้คนเหมาะกับอาคารจึงกำหนดสัดส่วนของอาคารให้เหมาะสมแทน
ด้วยแรงบันดาลใจและความคิดสร้างสรรค์ในยุค modern movement เขาได้ออกแบบโบสถ์ที่รงชอง ถือเป็นงานชั้นโบว์แดงของเขา มีลักษณะเล่น ลูกเล่นแบบ plastic quality ของดินเหนียว ใช้รูปทรงที่แรงแทนสัญลักษณ์ทางศาสนา งานนี้มีลักษณะเห็นถึงพลังและมีความเป็นตัวเองได้อย่างมีเอกลักษณ์
กอร์บูซีเยได้สร้างสรรค์ศิลปะหลายแขนง เป็น โดยทุกเช้าจะเล่นน้ำทะเลให้คลื่นสัดสาดตัวแล้วจะขึ้นมาทำงานประติมากรรมเสร็จแล้วก็จะเรี่มงานสถาปัตยกรรม เป็นนักผังเมืองมีความคิดกว้างไกลจากยุคที่ตนมีชีวิตอยู่ ว่าควรจัดระบบ จัดโซนของการใช้เมืองอย่างไรจึงจะได้ผล เขาถือความงามเป็นสิ่งสัจจะ เป็นสิ่งที่ดีและหาได้ยาก จะได้มาก็ต้องผ่านการเลือกเฟ้นเท่านั้น
ลักษณะสถาปัตยกรรม 5 ประการ
ในสิ่งตีพิมพ์ เลอกอร์บูซีเยได้เสนอความคิดที่สำคัญตั้งแต่สมัยแรก ๆ คือ ลักษณะสถาปัตยกรรม 5 ประการ
- ยกพื้นสูงด้วยเสาใต้ถุนอาคาร (piloti) เพื่อป้องกันความชื้น สร้างที่ว่าใต้ถุนสำหรับจอดรถและใช้งานอื่น ๆ
- จัดแผนผังพื้นที่ใช้สอยอิสระ (free plan) เพราะใช้เสา-คานของโครงสร้างคอนกรีต
- ผนังด้านนอกที่ออกแบบอย่างอิสระ (free facade) ใช้เสารับน้ำหนักแทนผนังอาคารและวางเสริมนอกสุดให้ลึกเข้ามา
- สวนหลังคา (roof garden) ทำหน้าที่เป็นระเบียง-สวน-ดาดฟ้าเนื่องจากเป็นหลังคาดาด
- ช่องเจาะหน้าต่างยาว (ribbon window) เพื่อรับแสงมากขึ้น
งานนิพนธ์สำคัญ
- Vers une Architecture (Towards a New Architecture)
- Urbanisme (The City of Tomorrow)
- L'Art decoratif daujourd'hui
- La Peinture Moderne
- le moduler
อ้างอิง
- le corbusier 2007-12-20 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
ดูเพิ่ม
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir bthkhwamnixangxingkhristskrach khristthswrrs khriststwrrs sungepnsarasakhykhxngenuxha elxkxrbusiey frngess Le Corbusier epnnamaefngkhxng charl exdwr chanaer kri Charles Edouard Jeanneret Gris sthapnik nkphngemuxng mnthnakr citrkr aelankekhiyn ekidepnchawswisinphumiphakhthiichphasafrngessepnphasathangkar aetaeplngsychatiepnchawfrngessemuxxayu 43 pi ekidthiemuxngoch edx fng Chaux de Fonds praethsswitesxraelnd emuxwnthi 6 tulakhm kh s 1887 aelaesiychiwitthiemuxngrxkbrun kp maraetng Roquebrune Cap Martin emuxwnthi 27 singhakhm kh s 1965elxkxrbusieyelxkxrbusiey inpi kh s 1964ekidcharl exdwr chanaer kri 6 tulakhm kh s 1887 1887 10 06 och edx fng switesxraelndesiychiwitsinghakhm 27 1965 1965 08 27 77 pi rxkekxbrun kp martng frngesssychatiswis frngessrangwlAIA Gold Medal 1961 phlngansakhywillasawxy phxysi willalaorech paris nxthrdamduwox rngchxnglaymuxchux ekhaepnhnunginphunarxngkhxngaenwkhidsthaptykrrmsmyihmxnprakxbdwysthapniksakhy echn luthwich mis fn aedr orexx wlethxr okrphixus xlwar xalot aefrngk lxyd irt aelaetox fn dusburkh Theo van Doesburg thngnielxkxrbusieyyngidsrangsrrkhphlngandankarphngemuxng aelakarxxkaebbiwxikdwy ekhamichuxesiynginkarsrang unite d habitation housing unit odyaenwkhidniekhaerimkhidkhninchwngpi kh s 1920 ephuxnaipsukarsrangthvsdikhxng logement collectif collective lodging prawtielxkxrbusiey 1887 1965 ekidemuxwnthi 6 tulakhm kh s 1887 thiemuxngoch edx fngsungepnemuxngelk inpraethsswitesxraelnd sungthinnepnsunyklangkhxngkarthanalika phxepnkhnslkaelalngyahnapdnalika swnaemepnkhrusxnepiyon phxxayuid 13 pi ekhaxxkcakkickarkhxngkhrxbkhrwxxkethiywipinyuorpaelaemdietxrereniyn ipxyuparisaelaidthangankb txcaknn ipxyueyxrmnipepnphuchwyeberin aelaklbmaepnkhruthiorngeriynoch edx fng ekhaidipthanganepncitrkrthiparis aelaidthangandanphngemuxng idsrangemuxngihmcnthikhrh Chandigarh sungepnemuxnghlwngkhxngrthpycab praethsxinediy inpi 1913 ipxyuparis sunginkhnannepnsunyklangkhxngsilpabaskniym cubism aelalththiehnuxcring surrealism txmainpi 1930 idoxnsychatimaepnsychatifrngess aelaekhaidesiychiwitkhnawaynaemuxwnthi 27 singhakhm kh s 1965aenwkhwamkhidinkarxxkaebbtwekhaipsrangsilpaaebb purism odyyudthuxkhwamkhidekiywkbrupthrngxyangediyw phrxmkbkhaphudkhxngekhathiwa a house is a machine for living in hmaykhwamwa banphkxasykhwrsnxngpraoychnichsxyxyangaethcring kxrbusieymxngehnwa bannnepnphlitphlkhxngphubriophkhehmuxnkbrthynt sungphlitchinswnxxkmacakorngnganaeladwykarphlitthangxutsahkrrmni bankkhwrmichinswnthiphlitxxkmacakorngngan aelweluxnxxkmatamsayphanehmuxnchinswnkhxngrthynt aeladwyhlkkarnikekhakhrxbngasthapniktngaetnnma khwamcringaelwkxrbusieyidaerngbndaliccakphaphcalxngkhxngekhruxngckraelaxasysingehlaniipsrangsrrkhkrabwnaebbihm sungimmikarekiywkhxngkbsthaptykrrmaebbdngedim bankhxngekhakdukhlay ekhruxngckr aetlaswnaesdngxxkxyangchdaecngehmuxnchinswnkhxngekhruxngckr plxngrabayxakasbnhlngkhakdukhlayplxngeruxklif banthiruckkndikkhux wilasaww Villa Savoye nxkkrungparis sungthukepriybethiybkbehlikhxpetxrthitngxyubnphumithsnthiekiywenuxngkbkhtithangkhlassikaelayukhekhruxngckrkl kxrbusieyepnphusnbsnunkhwamkhidaebbxnakhtniym odykaraesdngxxkihehnsngkhmihmaethnthicaihsthaptykrrmepnphukahndolkihm ekhaklbmikhwamtxngkarthicaxxkaebbsngkhmihmdwycintnakarkhxngekhaexng kxrbusieyidepliynkrabwnaebbkhxngekha hlngsngkhramekhakthingkhwamtngicthichxbphlitphlkhxngekhruxngckrthimiphiwphunthieriyblunaelahnipchxbkrabwnaebbihmsungekhaeriykwa brutalism khuxkhwamhyabkhxngphiwwsdu emuxepnechnnicaehnwakxrbusieymkthaokhrngsrangaebb khxnkritepluxy aelaekhaehnwaxakharnnimehmaakbkhnaetkhwrthaihkhnehmaakbxakharcungkahndsdswnkhxngxakharihehmaasmaethn dwyaerngbndalicaelakhwamkhidsrangsrrkhinyukh modern movement ekhaidxxkaebbobsththirngchxng thuxepnnganchnobwaedngkhxngekha milksnaeln lukelnaebb plastic quality khxngdinehniyw ichrupthrngthiaerngaethnsylksnthangsasna ngannimilksnaehnthungphlngaelamikhwamepntwexngidxyangmiexklksn kxrbusieyidsrangsrrkhsilpahlayaekhnng epn odythukechacaelnnathaelihkhlunsdsadtwaelwcakhunmathanganpratimakrrmesrcaelwkcaerimngansthaptykrrm epnnkphngemuxngmikhwamkhidkwangiklcakyukhthitnmichiwitxyu wakhwrcdrabb cdosnkhxngkarichemuxngxyangircungcaidphl ekhathuxkhwamngamepnsingscca epnsingthidiaelahaidyak caidmaktxngphankareluxkefnethann lksnasthaptykrrm 5 prakar insingtiphimph elxkxrbusieyidesnxkhwamkhidthisakhytngaetsmyaerk khux lksnasthaptykrrm 5 prakar ykphunsungdwyesaitthunxakhar piloti ephuxpxngknkhwamchun srangthiwaitthunsahrbcxdrthaelaichnganxun cdaephnphngphunthiichsxyxisra free plan ephraaichesa khankhxngokhrngsrangkhxnkrit phnngdannxkthixxkaebbxyangxisra free facade ichesarbnahnkaethnphnngxakharaelawangesrimnxksudihlukekhama swnhlngkha roof garden thahnathiepnraebiyng swn dadfaenuxngcakepnhlngkhadad chxngecaahnatangyaw ribbon window ephuxrbaesngmakkhunnganniphnthsakhyVers une Architecture Towards a New Architecture Urbanisme The City of Tomorrow L Art decoratif daujourd hui La Peinture Moderne le modulerxangxingwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb elxkxrbusiey le corbusier 2007 12 20 thi ewyaebkaemchchinduephimngansthaptykrrmkhxngelxkxrbusieythiidkhunthaebiynepnmrdkolk