ลัทธิเหนือจริง หรือ เซอร์เรียลลิซึม (อังกฤษ: Surrealism) เป็น “ลัทธิ” หรือ “” ทางวรรณศิลป์และทัศนศิลป์ที่เกิดขึ้นในฝรั่งเศสช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (Andre Breton) เข้าร่วมเป็นสมาชิกกลุ่มดาดา (Dadaism) ที่มีเป้าหมายใช้ความก้าวร้าวรุนแรงเพื่อต่อต้านสงคราม ต่อต้านค่านิยมของชนชั้นกลางทุกชนิดรวมทั้งคริสต์ศาสนา ต้องการทำลายขนบประเพณีที่ชนชั้นกลางสะสมไว้รวมทั้งศิลปวรรณคดีด้วย หลังจากร่วมทำกิจกรรมกับกลุ่มดาดาอยู่ระยะหนึ่ง เบรอตงกับเพื่อนก็แยกตัวออกมาตั้งกลุ่มใหม่ คือ กลุ่มเซอร์เรียลลิซึม ซึ่งยังรับเอาความก้าวร้าวมุ่งทำลายค่านิยมของชนชั้นกลางของดาดามาเป็นฐานแต่มุ่งสร้างค่านิยมใหม่
เอกลักษณ์ของเซอร์เรียลลิซึม
เอกลักษณ์ของศิลปะเซอร์เรียลลิซึมก็คือการใช้สิ่งที่เรียกว่า ความบังเอิญ (Chance) มาเป็นส่วนหนึ่งในการนำเสนอผลงานโดยเฉพาะการหยิบเอาสิ่งของสองอย่างหรือมากกว่านั้นซึ่งไม่มีความเกี่ยวข้องกันมาวางไว้ด้วยกัน เหมือนเป็นการพบกันโดยบังเอิญที่ก่อให้เกิดความหมาย แม้แต่ละอย่างจะไม่มีความเกี่ยวเนื่องกันเลย แต่เมื่อมาอยู่ร่วมกันในพื้นที่เดียวกัน ก็ย่อมจะกระตุ้นให้ผู้ชมเกิดจินตนาการและความรู้สึกถึงเอกภาพแบบใหม่ ซึ่งไม่ขึ้นกับเหตุผลหรือตรรกะใด ๆ ในโลกกายภาพ รูปแบบผลงานศิลปะจะใช้วิธีการนำเอาสิ่งที่เป็นสภาวะปกติวิสัยตั้งแต่ 2 สิ่งที่ดูเข้ากันไม่ได้มาจัดร่วมประกอบกัน และแต่งเติมผสมผสานให้ดูเป็นสิ่งเดียวกันอย่างกลมกลืน รวมถึงการเชื่อมโยงความรู้สึกสัมผัสและประสบการณ์ทางการเห็นให้สอดคล้องกับความคิด เชื่อมโยงให้เป็นเรื่องใหม่
จุดเริ่มต้นของเซอร์เรียลลิซึม
ก่อตั้งขึ้นในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 ในปี พ.ศ. 2459 ซึ่งพัฒนาต่อเนื่องมาจากกลุ่มดาดา โดยในปี พ.ศ. 2465 สมาชิกในกลุ่มดาดาได้แยกตัวออกไปและรวมกันใหม่อีกครั้งที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส จากการแถลงการณ์อย่างเป็นทางการเป็นลายลักษณ์อักษรชื่อว่า () โดยเบรอตง ได้รับการเผยแพร่เมื่อปี พ.ศ. 2467 โดยนับเอาจากการรวมตัวกันของบรรดาผู้จัดทำวรรณกรรมที่พวกเซอร์เรียลลิสต์เป็นกองบรรณาธิการ ซึ่งตอนนั้นวารสารฉบับนี้ยังคงเป็นส่วนหนึ่งของดาดาในฝรั่งเศสอันเป็นทัศนะเดียวกับที่ ได้เสนอไว้ในบทความ ซึ่งเนื้อหาสำคัญในแถลงการณ์ คือ การขบถต่อค่านิยมของชนชั้นกลางตลอดจนขนบและกฎเกณฑ์ทุกชนิดเพื่อให้ได้มาซึ่งเสรีภาพในการแสดงออกซึ่ง “ตัวตนภายใน” หรือ “ความคิดบริสุทธิ์” หรือ “จิตไร้สำนึก” ที่ถูกเก็บกดไว้ต้องการแสวงหรือบรรลุถึงความจริงสูงสุดอันเกิดจากการผสานรวมของความฝันกับความจริงแห่งโลกภายนอก กล่าวคือ ต้องการแสดงออกซึ่งความรู้สึกนึกคิดภายในออกมาอย่างเสรีในทุกรูปแบบ โดยปราศจากการควบคุมใด ๆ ทั้งสิ้น
อ็องเดร เบรอตง เป็นผู้ริเริ่มเผยแพร่แนวคิดของกลุ่มเซอร์เรียลลิซึม เขาเคยเป็นนักเรียนแพทย์ในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ซึ่งทำให้ได้มีโอกาสศึกษาแนวคิดของซิกมันด์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud) ที่เซอร์เรียลลิซึมต่างเห็นว่า ทฤษฎีเกี่ยวกับจิตไร้สำนึกของฟรอยด์มีความสำคัญยิ่งต่อชีวิตและการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมของมนุษย์ เบรอตงและพรรคพวกได้นำเอาวิธีการเชื่อมโยงเสรี (Free association) ของฟรอยด์มาประยุกต์ใช้กับศิลปะ โดยให้ศิลปินวาดรูปหรือเขียนสิ่งที่ลอยเข้ามาในความคิดโดยไม่ต้องสนใจเหตุผลตรรกะใด ๆ งานศิลปะของเซอร์เรียลลิซึมจึงเป็นทั้งเนื้อหาและสัญลักษณ์ต่าง ๆ ที่ผุดบังเกิดจากจิตไร้สำนึก (หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ เป็นการสร้างสรรค์จากโลกภายในของศิลปินและโลกที่อยู่เหนือกฎเกณฑ์ของโลกกายภาพ)
สิ่งที่ทำให้เซอร์เรียลลิซึมแตกต่างจากกลุ่มที่ไม่นิยมเหตุผลจิตสำนึกอย่างดาดา
(Louis Aragon) หนึ่งในแกนนำคนสำคัญเสนอว่า แนวคิดและวาทกรรมของเซอร์เรียลลิซึมนั้นเป็นผลผลิตที่เกิดจากเวลา ความแตกต่างในแง่นี้คือ เซอร์เรียลลิซึมเป็นกลุ่มที่เริ่มต้นระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2 เรียกว่าเป็นขบวนการเคลื่อนไหวทางปรัชญาศิลปะ ที่แทรกตัวขึ้นมาท่ามกลางความวุ่นวายหายนะของอารยธรรม และเซอร์เรียลลิซึมต่อต้านความจริงที่เรารับมาจากการไตร่ตรองขนบคิดหาเหตุผล จนถึงองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ หรือปรัชญาแนวปฏิฐานนิยมด้วยว่า ความจริงเหล่านี้เป็นเพียงความจริงชั้นสองซึ่งไม่สลักสำคัญ หรือไม่อาจเปลี่ยนแปลงและแก้ไขปัญหาใหญ่ ๆ ของมนุษยชาติ พวกเซอร์เรียลลิซึมจึงมองว่าสงครามที่พรากชีวิตคนนับล้านภายในระยะเวลาไม่กี่ปีเป็นผลมาจากระบบคิดหรือจิตสำนึกที่เป็นใหญ่เหนือมนุษย์ ดังนั้นหนทางเดียวที่จะหลีกเลี่ยงมิให้เกิดสงครามซ้ำรอย ก็จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องสำรวจหาเส้นทางใหม่ (ที่ดาดาได้เริ่มไว้) ซึ่งพวกเซอร์เรียลลิซึมพบว่ามันอยู่ในห้วงความฝัน หรือดำรงอยู่ในนิยามที่จิตสำนึกและเหตุผลของเราหลับใหล
ศิลปินคนสำคัญในกลุ่มเซอร์เรียลลิซึม
- (Giorgio de Chirico) (พ.ศ. 2431-2521) จิตรกรชาวอิตาลีที่พวกเซอร์เรียลลิซึมชื่นชมและยกย่องผลงานของเขา ในช่วงแรกที่เสนอทัศนียภาพหรือบรรยากาศของความเร้นลับ เหงา เศร้า และมีวัตถุที่มีความหมายบ่งชี้นัยทางเพศแต่เมื่อคิริโกเปลี่ยนแนวทางการวาดภาพ พวกเซอร์เรียลลิซึมผิดหวังมาก ไม่ยอมรับให้เข้ากลุ่ม แต่กระนั้นเบรอตงก็ยกย่องนวนิยายของคิริโก เรื่อง พ.ศ. 2472 ว่าสะท้อนถึงการผจญภัยทางจิตในลักษณะซับซ้อนเข้าใจยากแต่จริงใจ และเป็นต้นแบบของนวนิยายเรื่อง ของเบรอตง
- (René Crevel) (พ.ศ. 2443-2478) นักเขียน-กวีชาวฝรั่งเศส เป็นเซอร์เรียลลิซึมในยุคแรกซึ่งแยกตัวออกไปจากกลุ่มเพราะเบรอตงมองว่า “” ของเขาอาจบิดเบือนและทำลายเจตนาของกลุ่ม เครอแว็ลเข้าร่วมกับเซอร์เรียลลิซึมอีกครั้งในตอนที่เขาสมัครเข้าเป็นสมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์ฝรั่งเศส เขาเป็นคนหนึ่งที่หาทางไกล่เกลี่ยและพยายามทำทุกวิถีทางที่จะให้เบรอตงและกลุ่มเซอร์เรียลลิซึมแสดงสุนทรพจน์ในที่ประชุม เมื่อไม่สำเร็จ เขาเสียใจมากประกอบกับความเจ็บป่วยจึงตัดสินใจฆ่าตัวตายด้วยการรมแก๊ส
- ซัลบาดอร์ ดาลี (Salvador Dalí) (พ.ศ. 2447-2532) จิตรกรชาวฝรั่งเศส เข้าร่วมกลุ่มเซอร์เรียลลิซึมในปี พ.ศ. 2472 และกลายเป็นสมาชิกที่มีบทบาทสำคัญในกลุ่ม ในช่วงพ.ศ. 2473 ดาลีกระตุ้นให้กลุ่มเน้นความสัมพันธ์กับโลกภายนอกโดยปรับให้เข้ากับแรงปรารถนาหรือจินตนาการของศิลปิน ทำให้เกิดการเชื่อมโยงระหว่างงานศิลปะกับชีวิตระหว่างผลงานกับพฤติกรรมผู้สร้าง ดาลีสนใจพัฒนาการทางวิทยาศาสตร์โดยเฉพาะแขนงจิตวิเคราะห์และชีววิทยา และได้นำมาประยุกต์ในภาพวาดของเขา เขาชอบเล่นกับ ความขัดแย้ง ทั้งในผลงานและในพฤติกรรมของตนเองเพื่อยั่วยุและเรียกร้องความสนใจ แต่การกระทำเช่นนี้บางครั้งก่อให้เกิดความไม่พอใจแก่กลุ่มและเบรอตง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการแสดงความชื่นชมต่ออดอล์ฟ ฮิตเลอร์ (Adolf Hitler) ในปี พ.ศ. 2477 ความไม่พอใจนี้ทวีขึ้นเรื่อย ๆ และถึงขั้นแตกหัก ในปี พ.ศ. 2483 เบรอตงไม่ยอมให้ดาลีอยู่ในกลุ่ม กล่าวหาว่าเขาแสวงหาความสำเร็จทางการค้ามากเกินไป ทั้งยังสร้างผลงานในระยะหลังที่ “เลียนแบบตัวเอง” เมื่อมีการแสดงนิทรรศการเซอร์เรียลิซึมนานาชาติที่นิวยอร์กในปี พ.ศ. 2485 เบรอตงไม่อนุญาตให้ดาลีนำผลงานของเขามาแสดงด้วยเพราะถือว่าเขาไม่มีคุณสมบัติที่จะเป็นสมาชิกของกลุ่ม
- ฌูอัน มิโร (Joan Miró) (พ.ศ. 2436-2526) จิตรกรประติมากรชาวสเปน เขาสามารถเสนอความฝันความคิดซ้ำย้ำภายในตัวออกมาอย่างฉับพลัน และเป็นอัตโนมัติในภาพวาดสีน้ำมันของเขาได้ นอกจากนี้ยังสามารถก้าวข้ามเขตแดนของจิตรกรรม ด้วยการทำ คอลลาจประติมากรรม วัตถุ ในระหว่างที่เกิดสงครามกลางเมืองสเปนและสงครามโลกครั้งที่ 2 เขาวาดภาพสัตว์ประหลาดที่ก้าวร้าวน่ากลัว และภาพชุด “ผู้หญิง” ที่ถูกแปรสภาพ รวมทั้งภาพชุด “Las Constellations” ด้วย ภาพชุดหลังนี้กลุ่มสนับสนุนให้จัดแสดงที่นิวยอร์กในปี พ.ศ. 2485 และต่อมาเบรอตงเขียนบทกวีร้อยแก้ว โดยใช้ชื่อเดียวกัน ภาพจิตรกรรมและบทกวีชุดนี้พิมพ์เผยแพร่ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2501
- คาร์ล ยุง (Carl Jung) (พ.ศ. 2418-2504) จิตแพทย์ชาวสวิส พวกเซอเรียลส์ลิซึมเพิ่งมาสนใจแนวคิดของเขาเมื่อหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยเฉพาะในแง่การเทียบเคียงจิตวิเคราะห์กับการเล่นแร่แปรธาตุ แต่ไม่ชอบทฤษฏีของเขาเกี่ยวกับ “” และวิธีการวิเคราะห์ที่เชื่อมโยงกับเรื่องศาสนา นอกจากนี้พวกเขายังขุ่นเคืองที่ยุงร่วมมือกับพวกนาซีเพื่อทำลายทฤษฏีของฟรอยด์ ในช่วงปี พ.ศ. 2479-2483
- (Jean Arp) (พ.ศ. 2430-2509) ประติมากร จิตรกร และกวีชาวฝรั่งเศส เป็นเพื่อนสนิทของแอร์นสท์ หลังจากเป็นสมาชิกกลุ่มดาดา ได้ส่งผลงานจิตรกรรมมาร่วมแสดงในนิทรรศการเซอร์เรียลลิซึมครั้งแรกในปี พ.ศ. 2468 และเข้าร่วมกิจกรรมกับกลุ่มเป็นประจำนับตั้งแต่ย้ายมาตั้งหลักแหล่งในฝรั่งเศสในปี พ.ศ. 2469 แต่มิได้เข้าเป็นสมาชิกกลุ่ม ในปี พ.ศ. 2474 เขาเริ่มทำงานประติมากรรมจริงจัง ทดลองทำ และเริ่มเบนความสนใจไปในทาง abstraction โดยที่มิได้ตัดไมตรีกับเบรอตงและพวกเซอร์เรียลลิซึม สร้างศิลปะซึ่งมีผู้ที่ตั้งชื่อให้ว่า “” โดยเน้นรูปทรงชีวภาพ นอกจากความสามารถทางทัศนศิลป์แล้ว อาร์พยังเขียนบทกวีได้ดีทั้งเป็นภาษาเยอรมันและฝรั่งเศส มีผู้เปรียบว่ากวีนิพนธ์ของเขาดูแปลก สนุกและมีลีลางดงามเปรียบได้กับ “ลวดลายดอกไม้ที่ประดับมงกุฎของเซอร์เรียลลิซึม”
- (Louis Aragon) (พ.ศ. 2430-2525) กวีชาวฝรั่งเศส เดิมเป็นนักศึกษาแพทย์แต่ใจฝักใฝ่ทางอักษรศาสตร์เช่นเดียวกับเบรอตง หลังสงครามได้พบกับเบรอตงและชูโปล์ท์ที่ก่อตั้งวารสาร Litterature (พ.ศ. 2462) ร่วมกับกลุ่มดาดาและต่อมาร่วมก่อตั้งกลุ่มเซอร์เรียลลิซึม พ.ศ. 2467 สมัครเข้าเป็นสมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2469 และเริ่มบ่ายเบนแนวคิดและกิจกรรมวรรณศิลป์จากแนวเซอร์เรียลลิซึมในที่ประชุมของพรรคคอมมิวนิสต์ ในเมือง และแยกตัวออกจากกลุ่มเด็ดขาดในปี พ.ศ. 2478 ผลงานกวีนิพนธ์ที่สำคัญในช่วงที่เป็นสมาชิกกลุ่มเซอร์เรียลลิซึมได้แก่ พ.ศ. 2469 และผลงานวิจารณ์ศิลปะที่สำคัญในช่วงนี้ ได้แก่ พ.ศ. 2473 ซึ่งกล่าวถึงภาพคอลลาจและชี้ให้เห็นความแตกต่างของคอลลาจแบบและแบบเซอร์เรียลลิซึมตลอดจนความสำคัญของการสร้างสรรค์ เช่นในศิลปะสมัยใหม่
- และอีกมากมาย
ตัวอย่างผลงานที่สำคัญของศิลปินในกลุ่มเซอร์เรียลลิซึม
งานจิตรกรรม
- The Great Masturbator (พ.ศ. 2472, oil on canvas: 110x150.5 cm. Museo Centro Nacional centro de Arte Reina Sofia, Marid) เป็นหนึ่งในงานชิ้นแรก ๆ ของ ซัลบาดอร์ ดาลี ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงอัตลักษณ์ทางเพศของตัวศิลปินและความรู้สึกสำนึกผิดหรือความกลัวเกี่ยวกับการลงโทษ โดยศีรษะที่ดูอ่อนนุ่มที่อยู่ทางด้านข้างหมายถึงตัวศิลปินเอง ส่วนปากมีตัวตั๊กแตนที่ส่วนท้องของมันกำลังถูกฝูงมดกันกิน ซึ่งสำหรับตัวศิลปิน ถือเป็นสัญลักษณ์ของการคอร์รัปชั่น หรือความไม่ซื่อสัตย์
- Soft Construction with Boiled Beans: Premonition of Civil War (พ.ศ. 2479, The Louise and Walter Arensberg Collection. The Philadelphia Museum of Art, Pennsylvania) เป็นหนึ่งในผลงานที่มีชื่อเสียงว่าเป็นภาพแห่งการต่อต้านสงคราม โดยเนื้อที่ดูนุ่มนิ่มของร่างกายผู้หญิงที่อยู่ตรงกลางภาพจะดูแตกต่างจากมือที่ดูคล้ายเขาสัตว์ซึ่งกำลังบีบรัดหน้าอกของหญิงสาวในขณะที่คนอื่น ๆ ที่อยู่บนพื้นดูเหมือนเป็นแค่รากไม้ของต้นองุ่น ในส่วนของด้านหลังเป็นภาพของผู้ชายตัวเล็ก ๆ ที่ดูธรรมดา ผู้ซึ่งตกเป็นเหยื่อของสงคราม
- Sleep (พ.ศ. 2480, oil on canvas, 51x78 cm. Private Collection) ภาพนี้เป็นหนึ่งในผลงานที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดของดาลี ศีรษะที่ดูมีเอกลักษณ์เช่นนี้หมายถึงตัวของศิลปินเอง การนอนหลับถือเป็นช่วงเวลาหนึ่งที่สำคัญสำหรับดาลี เพราะไม่ใช่แค่เป็นช่วงเวลาที่ทำให้หลงลืมสิ่งที่ไม่น่าพึงพอใจในชีวิต แต่ยังเป็นขอบเขตของจิตใต้สำนึกในความหวาดระแวง ความเพ้อฝัน ซึ่งถูกซ่อนอยู่ในชีวิตจริงด้วย
- Pieta or Revolution by Night (พ.ศ. 2466, Oil on canvas, 89 x 116 cm. London, Tate Gallery) ผลงานชิ้นเยี่ยมของมัคส์ แอ็นสท์ (Max Ernst) เป็นภาพลึกลับที่ดูเหมือนเกี่ยวข้องกับพื้นฐานความคิดของฟรอยด์ในความซับซ้อนแบบอีดิปัส ซึ่งผู้เป็นบุตรชายได้แข่งขันกับพ่อเพื่อที่จะแย่งความรับจากแม่ รวมถึงความกลัวจากการถูกทำหมันโดยพ่อของตน ภาพของพ่อที่คุกเข่าอุ้มบุตรชายไว้ในท่าที่เป็นได้ทั้งการบวงสรวงและแบบประเพณีอย่างปิเอต้า มีฝักบัวสีขาวหัวสีน้ำเงินเป็นสัญลักษณ์ของลึงค์ ด้านหลังภาพเป็นฉากเบลอ ๆ ดูเหมือนเงา ไม่เน้นให้มีความชัดเจน นอกจากนี้อาจแสดงถึงตัวแอ็นสท์กับพ่อของเขาและงานทั้งหมดเกี่ยวกับชีวิตลำเค็ญในวัยเยาว์ที่ผูกพันกับพ่อ เขาวาดภาพนี้เพื่อต่อต้านบิดาผู้เคร่งศาสนาโดยนำเสนอภาพบิดาที่กำลังโอบอุ้มตัวเขาซึ่งแข็งเป็นหิน เป็นการเลียนแบบภาพพระแม่อุ้มศพพระเยซูหลังจากถูกนำลงมาจากไม้กางเขน
- The Two Mysteries (พ.ศ. 2509) ภาพกล้องยาสูบของ เรอเน มากริต แสดงถึงการดีไซน์ที่เรียบง่ายและตรงวัตถุประสงค์ของการสื่อความหมายที่ไม่ใช่เพียงตัววัตถุแต่เป็นการให้ความหมายด้วยภาษาที่เขียนกำกับไว้ใต้ภาพภาษาเป็นสิ่งที่ตีความได้ไม่สิ้นสุด และสั่นคลอนได้ง่าย ภาษาเป็นภาพตัวแทนของวัตถุในการจดจำ จริง ๆ แล้วสิ่งนี้อาจมีความหมายหรือไม่มีความหมาย เราไม่ได้ให้ความหมายกับสิ่งที่มันเป็นแต่เราให้ความหมายกับสิ่งที่เราใช้เรียกมัน ความหมายของวัตถุจึงเป็นสิ่งที่ถูกสร้าง เราให้ค่ากับสิ่งต่าง ๆ เพราะการเสพความหมายของมัน เป็นรูปแบบของมายาคติ
งานประติมากรรม
- Lobster Telephone (พ.ศ. 2479, Surrealist object; 15x17x30 cm. Tate Gallery, London) การสร้างวัตถุที่ดูเหนือจริงไม่ได้เป็นไอเดียใหม่ที่เกิดขึ้นโดยดาลี แต่ดาลีได้สร้างแบบอย่างที่ดีเยี่ยมสำหรับการทำวัตถุเหล่านี้ให้ถูกยอมรับในฐานะที่เป็นงานศิลปะแบบเหนือจริง โทรศัพท์และกุ้งล็อบสเตอร์พลาสติกที่ใช้แทนหูโทรศัพท์นี้เป็นสิ่งของที่นำมาจัดแสดงที่งาน ครั้งแรก ในปี พ.ศ. 2479 ในส่วนของการโฆษณางาน Exhibition นี้ ดาลีได้บรรยายเกี่ยวกับการค้นหาจิตใต้สำนึกในขณะที่กำลังสวมใส่ชุดนักประดาน้ำซึ่งเกือบจะทำให้เขาหายใจไม่ออกเลยทีเดียว
- The Gift (พ.ศ. 2464) ผลงานชิ้นสำคัญของ เป็นรูปทรงของสิ่งของในชีวิตประจำวันอย่างเตารีด แต่ประโยชน์และการใช้สอยของเตารีดถูกโยนทิ้งไป กลายมาเป็นรูปลักษณ์เตารีดที่ดูก้าวร้าว รุนแรง ด้วยการใส่แถวแนวตะปูแหลมลงไป
- Venus restauree (พ.ศ. 2479) วีนัสซึ่งเป็นสัญลักษณ์แห่งความงามและพลังอันไม่มีที่สิ้นสุดของผู้หญิงได้กลายมาเป็นเรื่องของความหมกมุ่นโดยเฉพาะ และแมน เรย์ได้สร้างผลงานเป็น Series ขึ้นมา เพื่อค้นหารูปแบบและภาพลักษณ์ที่ถูกแยกออกเป็นส่วน ๆ ขององค์เทพี โดยผลงานชิ้นนี้ แมน เรย์ได้ผูกเชือกอย่างแน่นหนาเป็นตาข่ายบนปูนปลาสเตอร์ที่ทำเป็นรูปร่างกายส่วนบนของผู้หญิง
เชิงอรรถ
- กิตติพล สรัคคานนท์, วารสารใต้ดินฉบับที่ 14: เซอร์ (กรุงเทพฯ: Shine, 2550), 35-39.
- เรื่องเดียวกัน, 131-138.
- Swinglehurst, Edmund, Salvador Dali: exploring the irrational (London: Tiger Books International, 1996), 15.
- เรื่องเดียวกัน, 4.
- เรื่องเดียวกัน, 56-57.
- สี แสงอินทร์, แมกซ์ แอร์นส์ท : ศิลปินเซอร์เรียลิซึมผู้ยิ่งใหญ่ (กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551), 117 – 118.
- อำพร อรุณนภาพร, “งานแสดงศิลปะย้อนหลังของ Rene Magritte, ” สารคดี 14, 160 (มิถุนายน 2541) : 133 – 138.
- Swinglehurst, Edmund, Salvador Dali: exploring the irrational, 51.
- จิระพัฒน์ พิตรปรีชา, โลกศิลปะ ศตวรรษที่ 20 (กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ, 2552), 220.
- Wood, Ghislaine, Surreal things : surrealism and design (London: V&A, 2007), 336.
บรรณานุกรม
- กิตติพล สรัคคานนท์. วารสารใต้ดินฉบับที่ 14: เซอร์. กรุงเทพฯ : Shine, 2550.
- จิระพัฒน์ พิตรปรีชา. โลกศิลปะ ศตวรรษที่ 20. กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ, 2552.
- สี แสงอินทร์. แมกซ์ แอร์นส์ท : ศิลปินเซอร์เรียลิสม์ผู้ยิ่งใหญ่. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551.
- อำพร อรุณนภาพร. “งานแสดงศิลปะย้อนหลังของ Rene Magritte” สารคดี. 14 (160) : 133 – 138 : มิถุนายน 2541.
- Swinglehurst, Edmund. Salvador Dali: exploring the irrational. London : Tiger Books International, 1996.
- Wood, Ghislaine, Surreal things : surrealism and design (London: V&A, 2007), 336.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
lththiehnuxcring hrux esxreriyllisum xngkvs Surrealism epn lththi hrux thangwrrnsilpaelathsnsilpthiekidkhuninfrngesschwnghlngsngkhramolkkhrngthihnung Andre Breton ekharwmepnsmachikklumdada Dadaism thimiepahmayichkhwamkawrawrunaerngephuxtxtansngkhram txtankhaniymkhxngchnchnklangthukchnidrwmthngkhristsasna txngkarthalaykhnbpraephnithichnchnklangsasmiwrwmthngsilpwrrnkhdidwy hlngcakrwmthakickrrmkbklumdadaxyurayahnung ebrxtngkbephuxnkaeyktwxxkmatngklumihm khux klumesxreriyllisum sungyngrbexakhwamkawrawmungthalaykhaniymkhxngchnchnklangkhxngdadamaepnthanaetmungsrangkhaniymihm Arrested Expansion hrux Cardiac Arrest ody cxrc kri George Grie exklksnkhxngesxreriyllisumexklksnkhxngsilpaesxreriyllisumkkhuxkarichsingthieriykwa khwambngexiy Chance maepnswnhnunginkarnaesnxphlnganodyechphaakarhyibexasingkhxngsxngxyanghruxmakkwannsungimmikhwamekiywkhxngknmawangiwdwykn ehmuxnepnkarphbknodybngexiythikxihekidkhwamhmay aemaetlaxyangcaimmikhwamekiywenuxngknely aetemuxmaxyurwmkninphunthiediywkn kyxmcakratunihphuchmekidcintnakaraelakhwamrusukthungexkphaphaebbihm sungimkhunkbehtuphlhruxtrrkaid inolkkayphaph rupaebbphlngansilpacaichwithikarnaexasingthiepnsphawapktiwisytngaet 2 singthiduekhaknimidmacdrwmprakxbkn aelaaetngetimphsmphsanihduepnsingediywknxyangklmklun rwmthungkarechuxmoyngkhwamrusuksmphsaelaprasbkarnthangkarehnihsxdkhlxngkbkhwamkhid echuxmoyngihepneruxngihmcuderimtnkhxngesxreriyllisumkxtngkhuninchwnghlngsngkhramolkkhrngthi 1 inpi ph s 2459 sungphthnatxenuxngmacakklumdada odyinpi ph s 2465 smachikinklumdadaidaeyktwxxkipaelarwmknihmxikkhrngthikrungparis praethsfrngess cakkaraethlngkarnxyangepnthangkarepnlaylksnxksrchuxwa odyebrxtng idrbkarephyaephremuxpi ph s 2467 odynbexacakkarrwmtwknkhxngbrrdaphucdthawrrnkrrmthiphwkesxreriyllistepnkxngbrrnathikar sungtxnnnwarsarchbbniyngkhngepnswnhnungkhxngdadainfrngessxnepnthsnaediywkbthi idesnxiwinbthkhwam sungenuxhasakhyinaethlngkarn khux karkhbthtxkhaniymkhxngchnchnklangtlxdcnkhnbaelakdeknththukchnidephuxihidmasungesriphaphinkaraesdngxxksung twtnphayin hrux khwamkhidbrisuththi hrux citirsanuk thithukekbkdiwtxngkaraeswnghruxbrrluthungkhwamcringsungsudxnekidcakkarphsanrwmkhxngkhwamfnkbkhwamcringaehngolkphaynxk klawkhux txngkaraesdngxxksungkhwamrusuknukkhidphayinxxkmaxyangesriinthukrupaebb odyprascakkarkhwbkhumid thngsin xxngedr ebrxtng epnphurierimephyaephraenwkhidkhxngklumesxreriyllisum ekhaekhyepnnkeriynaephthyinchwngsngkhramolkkhrngthihnung sungthaihidmioxkassuksaaenwkhidkhxngsikmnd frxyd Sigmund Freud thiesxreriyllisumtangehnwa thvsdiekiywkbcitirsanukkhxngfrxydmikhwamsakhyyingtxchiwitaelakarepliynaeplngwthnthrrmkhxngmnusy ebrxtngaelaphrrkhphwkidnaexawithikarechuxmoyngesri Free association khxngfrxydmaprayuktichkbsilpa odyihsilpinwadruphruxekhiynsingthilxyekhamainkhwamkhidodyimtxngsnicehtuphltrrkaid ngansilpakhxngesxreriyllisumcungepnthngenuxhaaelasylksntang thiphudbngekidcakcitirsanuk hruxklawxiknyhnungkhux epnkarsrangsrrkhcakolkphayinkhxngsilpinaelaolkthixyuehnuxkdeknthkhxngolkkayphaph hluys xarakngsingthithaihesxreriyllisumaetktangcakklumthiimniymehtuphlcitsanukxyangdada Louis Aragon hnunginaeknnakhnsakhyesnxwa aenwkhidaelawathkrrmkhxngesxreriyllisumnnepnphlphlitthiekidcakewla khwamaetktanginaengnikhux esxreriyllisumepnklumthierimtnrahwangsngkhramolkkhrngthi 1 aela 2 eriykwaepnkhbwnkarekhluxnihwthangprchyasilpa thiaethrktwkhunmathamklangkhwamwunwayhaynakhxngxarythrrm aelaesxreriyllisumtxtankhwamcringthierarbmacakkaritrtrxngkhnbkhidhaehtuphl cnthungxngkhkhwamruthangwithyasastr hruxprchyaaenwptithanniymdwywa khwamcringehlaniepnephiyngkhwamcringchnsxngsungimslksakhy hruximxacepliynaeplngaelaaekikhpyhaihy khxngmnusychati phwkesxreriyllisumcungmxngwasngkhramthiphrakchiwitkhnnblanphayinrayaewlaimkipiepnphlmacakrabbkhidhruxcitsanukthiepnihyehnuxmnusy dngnnhnthangediywthicahlikeliyngmiihekidsngkhramsarxy kcaepnxyangyingthicatxngsarwchaesnthangihm thidadaiderimiw sungphwkesxreriyllisumphbwamnxyuinhwngkhwamfn hruxdarngxyuinniyamthicitsanukaelaehtuphlkhxngerahlbihlsilpinkhnsakhyinklumesxreriyllisum Giorgio de Chirico ph s 2431 2521 citrkrchawxitalithiphwkesxreriyllisumchunchmaelaykyxngphlngankhxngekha inchwngaerkthiesnxthsniyphaphhruxbrryakaskhxngkhwamernlb ehnga esra aelamiwtthuthimikhwamhmaybngchinythangephsaetemuxkhiriokepliynaenwthangkarwadphaph phwkesxreriyllisumphidhwngmak imyxmrbihekhaklum aetkrannebrxtngkykyxngnwniyaykhxngkhiriok eruxng ph s 2472 wasathxnthungkarphcyphythangcitinlksnasbsxnekhaicyakaetcringic aelaepntnaebbkhxngnwniyayeruxng khxngebrxtng Rene Crevel ph s 2443 2478 nkekhiyn kwichawfrngess epnesxreriyllisuminyukhaerksungaeyktwxxkipcakklumephraaebrxtngmxngwa khxngekhaxacbidebuxnaelathalayectnakhxngklum ekhrxaewlekharwmkbesxreriyllisumxikkhrngintxnthiekhasmkhrekhaepnsmachikphrrkhkhxmmiwnistfrngess ekhaepnkhnhnungthihathangiklekliyaelaphyayamthathukwithithangthicaihebrxtngaelaklumesxreriyllisumaesdngsunthrphcninthiprachum emuximsaerc ekhaesiyicmakprakxbkbkhwamecbpwycungtdsinickhatwtaydwykarrmaeksslbadxr dalislbadxr dali Salvador Dali ph s 2447 2532 citrkrchawfrngess ekharwmklumesxreriyllisuminpi ph s 2472 aelaklayepnsmachikthimibthbathsakhyinklum inchwngph s 2473 dalikratunihklumennkhwamsmphnthkbolkphaynxkodyprbihekhakbaerngprarthnahruxcintnakarkhxngsilpin thaihekidkarechuxmoyngrahwangngansilpakbchiwitrahwangphlngankbphvtikrrmphusrang dalisnicphthnakarthangwithyasastrodyechphaaaekhnngcitwiekhraahaelachiwwithya aelaidnamaprayuktinphaphwadkhxngekha ekhachxbelnkb khwamkhdaeyng thnginphlnganaelainphvtikrrmkhxngtnexngephuxywyuaelaeriykrxngkhwamsnic aetkarkrathaechnnibangkhrngkxihekidkhwamimphxicaekklumaelaebrxtng odyechphaaxyangyingkaraesdngkhwamchunchmtxxdxlf hitelxr Adolf Hitler inpi ph s 2477 khwamimphxicnithwikhuneruxy aelathungkhnaetkhk inpi ph s 2483 ebrxtngimyxmihdalixyuinklum klawhawaekhaaeswnghakhwamsaercthangkarkhamakekinip thngyngsrangphlnganinrayahlngthi eliynaebbtwexng emuxmikaraesdngnithrrskaresxreriylisumnanachatithiniwyxrkinpi ph s 2485 ebrxtngimxnuyatihdalinaphlngankhxngekhamaaesdngdwyephraathuxwaekhaimmikhunsmbtithicaepnsmachikkhxngklum chuxn mior Joan Miro ph s 2436 2526 citrkrpratimakrchawsepn ekhasamarthesnxkhwamfnkhwamkhidsayaphayintwxxkmaxyangchbphln aelaepnxtonmtiinphaphwadsinamnkhxngekhaid nxkcakniyngsamarthkawkhamekhtaednkhxngcitrkrrm dwykartha khxllacpratimakrrm wtthu inrahwangthiekidsngkhramklangemuxngsepnaelasngkhramolkkhrngthi 2 ekhawadphaphstwprahladthikawrawnaklw aelaphaphchud phuhying thithukaeprsphaph rwmthngphaphchud Las Constellations dwy phaphchudhlngniklumsnbsnunihcdaesdngthiniwyxrkinpi ph s 2485 aelatxmaebrxtngekhiynbthkwirxyaekw odyichchuxediywkn phaphcitrkrrmaelabthkwichudniphimphephyaephrkhrngaerkinpi ph s 2501 kharl yung Carl Jung ph s 2418 2504 citaephthychawswis phwkesxeriylslisumephingmasnicaenwkhidkhxngekhaemuxhlngsngkhramolkkhrngthi 2 odyechphaainaengkarethiybekhiyngcitwiekhraahkbkarelnaeraeprthatu aetimchxbthvstikhxngekhaekiywkb aelawithikarwiekhraahthiechuxmoyngkberuxngsasna nxkcakniphwkekhayngkhunekhuxngthiyungrwmmuxkbphwknasiephuxthalaythvstikhxngfrxyd inchwngpi ph s 2479 2483 Jean Arp ph s 2430 2509 pratimakr citrkr aelakwichawfrngess epnephuxnsnithkhxngaexrnsth hlngcakepnsmachikklumdada idsngphlngancitrkrrmmarwmaesdnginnithrrskaresxreriyllisumkhrngaerkinpi ph s 2468 aelaekharwmkickrrmkbklumepnpracanbtngaetyaymatnghlkaehlnginfrngessinpi ph s 2469 aetmiidekhaepnsmachikklum inpi ph s 2474 ekhaerimthanganpratimakrrmcringcng thdlxngtha aelaerimebnkhwamsnicipinthang abstraction odythimiidtdimtrikbebrxtngaelaphwkesxreriyllisum srangsilpasungmiphuthitngchuxihwa odyennrupthrngchiwphaph nxkcakkhwamsamarththangthsnsilpaelw xarphyngekhiynbthkwiiddithngepnphasaeyxrmnaelafrngess miphuepriybwakwiniphnthkhxngekhaduaeplk snukaelamililangdngamepriybidkb lwdlaydxkimthipradbmngkudkhxngesxreriyllisum Louis Aragon ph s 2430 2525 kwichawfrngess edimepnnksuksaaephthyaeticfkifthangxksrsastrechnediywkbebrxtng hlngsngkhramidphbkbebrxtngaelachuoplththikxtngwarsar Litterature ph s 2462 rwmkbklumdadaaelatxmarwmkxtngklumesxreriyllisum ph s 2467 smkhrekhaepnsmachikphrrkhkhxmmiwnisttngaetpi ph s 2469 aelaerimbayebnaenwkhidaelakickrrmwrrnsilpcakaenwesxreriyllisuminthiprachumkhxngphrrkhkhxmmiwnist inemuxng aelaaeyktwxxkcakklumeddkhadinpi ph s 2478 phlngankwiniphnththisakhyinchwngthiepnsmachikklumesxreriyllisumidaek ph s 2469 aelaphlnganwicarnsilpathisakhyinchwngni idaek ph s 2473 sungklawthungphaphkhxllacaelachiihehnkhwamaetktangkhxngkhxllacaebbaelaaebbesxreriyllisumtlxdcnkhwamsakhykhxngkarsrangsrrkh echninsilpasmyihm aelaxikmakmaytwxyangphlnganthisakhykhxngsilpininklumesxreriyllisumngancitrkrrm The Great Masturbator ph s 2472 oil on canvas 110x150 5 cm Museo Centro Nacional centro de Arte Reina Sofia Marid epnhnunginnganchinaerk khxng slbadxr dali sungsathxnihehnthungxtlksnthangephskhxngtwsilpinaelakhwamrusuksanukphidhruxkhwamklwekiywkbkarlngoths odysirsathiduxxnnumthixyuthangdankhanghmaythungtwsilpinexng swnpakmitwtkaetnthiswnthxngkhxngmnkalngthukfungmdknkin sungsahrbtwsilpin thuxepnsylksnkhxngkarkhxrrpchn hruxkhwamimsuxstySoft Construction with Boiled Beans Premonition of Civil War ph s 2479 The Louise and Walter Arensberg Collection The Philadelphia Museum of Art Pennsylvania epnhnunginphlnganthimichuxesiyngwaepnphaphaehngkartxtansngkhram odyenuxthidunumnimkhxngrangkayphuhyingthixyutrngklangphaphcaduaetktangcakmuxthidukhlayekhastwsungkalngbibrdhnaxkkhxnghyingsawinkhnathikhnxun thixyubnphunduehmuxnepnaekhrakimkhxngtnxngun inswnkhxngdanhlngepnphaphkhxngphuchaytwelk thiduthrrmda phusungtkepnehyuxkhxngsngkhram Sleep ph s 2480 oil on canvas 51x78 cm Private Collection phaphniepnhnunginphlnganthiprasbkhwamsaercmakthisudkhxngdali sirsathidumiexklksnechnnihmaythungtwkhxngsilpinexng karnxnhlbthuxepnchwngewlahnungthisakhysahrbdali ephraaimichaekhepnchwngewlathithaihhlnglumsingthiimnaphungphxicinchiwit aetyngepnkhxbekhtkhxngcititsanukinkhwamhwadraaewng khwamephxfn sungthuksxnxyuinchiwitcringdwy Pieta or Revolution by Night ph s 2466 Oil on canvas 89 x 116 cm London Tate Gallery phlnganchineyiymkhxngmkhs aexnsth Max Ernst epnphaphluklbthiduehmuxnekiywkhxngkbphunthankhwamkhidkhxngfrxydinkhwamsbsxnaebbxidips sungphuepnbutrchayidaekhngkhnkbphxephuxthicaaeyngkhwamrbcakaem rwmthungkhwamklwcakkarthukthahmnodyphxkhxngtn phaphkhxngphxthikhukekhaxumbutrchayiwinthathiepnidthngkarbwngsrwngaelaaebbpraephnixyangpiexta mifkbwsikhawhwsinaenginepnsylksnkhxnglungkh danhlngphaphepnchakeblx duehmuxnenga imennihmikhwamchdecn nxkcaknixacaesdngthungtwaexnsthkbphxkhxngekhaaelanganthnghmdekiywkbchiwitlaekhyinwyeyawthiphukphnkbphx ekhawadphaphniephuxtxtanbidaphuekhrngsasnaodynaesnxphaphbidathikalngoxbxumtwekhasungaekhngepnhin epnkareliynaebbphaphphraaemxumsphphraeysuhlngcakthuknalngmacakimkangekhn The Two Mysteries ph s 2509 phaphklxngyasubkhxng erxen makrit aesdngthungkardiisnthieriybngayaelatrngwtthuprasngkhkhxngkarsuxkhwamhmaythiimichephiyngtwwtthuaetepnkarihkhwamhmaydwyphasathiekhiynkakbiwitphaphphasaepnsingthitikhwamidimsinsud aelasnkhlxnidngay phasaepnphaphtwaethnkhxngwtthuinkarcdca cring aelwsingnixacmikhwamhmayhruximmikhwamhmay eraimidihkhwamhmaykbsingthimnepnaeteraihkhwamhmaykbsingthieraicheriykmn khwamhmaykhxngwtthucungepnsingthithuksrang eraihkhakbsingtang ephraakaresphkhwamhmaykhxngmn epnrupaebbkhxngmayakhtinganpratimakrrm Lobster Telephone ph s 2479 Surrealist object 15x17x30 cm Tate Gallery London karsrangwtthuthiduehnuxcringimidepnixediyihmthiekidkhunodydali aetdaliidsrangaebbxyangthidieyiymsahrbkarthawtthuehlaniihthukyxmrbinthanathiepnngansilpaaebbehnuxcring othrsphthaelakunglxbsetxrphlastikthiichaethnhuothrsphthniepnsingkhxngthinamacdaesdngthingan khrngaerk inpi ph s 2479 inswnkhxngkarokhsnangan Exhibition ni daliidbrryayekiywkbkarkhnhacititsanukinkhnathikalngswmischudnkpradanasungekuxbcathaihekhahayicimxxkelythiediyw The Gift ph s 2464 phlnganchinsakhykhxng epnrupthrngkhxngsingkhxnginchiwitpracawnxyangetarid aetpraoychnaelakarichsxykhxngetaridthukoynthingip klaymaepnruplksnetaridthidukawraw runaerng dwykarisaethwaenwtapuaehlmlngip Venus restauree ph s 2479 winssungepnsylksnaehngkhwamngamaelaphlngxnimmithisinsudkhxngphuhyingidklaymaepneruxngkhxngkhwamhmkmunodyechphaa aelaaemn eryidsrangphlnganepn Series khunma ephuxkhnharupaebbaelaphaphlksnthithukaeykxxkepnswn khxngxngkhethphi odyphlnganchinni aemn eryidphukechuxkxyangaennhnaepntakhaybnpunplasetxrthithaepnruprangkayswnbnkhxngphuhyingechingxrrthkittiphl srkhkhannth warsaritdinchbbthi 14 esxr krungethph Shine 2550 35 39 eruxngediywkn 131 138 Swinglehurst Edmund Salvador Dali exploring the irrational London Tiger Books International 1996 15 eruxngediywkn 4 eruxngediywkn 56 57 si aesngxinthr aemks aexrnsth silpinesxreriylisumphuyingihy krungethph sankphimphaehngculalngkrnmhawithyaly 2551 117 118 xaphr xrunnphaphr nganaesdngsilpayxnhlngkhxng Rene Magritte sarkhdi 14 160 mithunayn 2541 133 138 Swinglehurst Edmund Salvador Dali exploring the irrational 51 ciraphthn phitrpricha olksilpa stwrrsthi 20 krungethph emuxngobran 2552 220 Wood Ghislaine Surreal things surrealism and design London V amp A 2007 336 brrnanukrmkittiphl srkhkhannth warsaritdinchbbthi 14 esxr krungethph Shine 2550 ciraphthn phitrpricha olksilpa stwrrsthi 20 krungethph emuxngobran 2552 si aesngxinthr aemks aexrnsth silpinesxreriylismphuyingihy krungethph sankphimphaehngculalngkrnmhawithyaly 2551 xaphr xrunnphaphr nganaesdngsilpayxnhlngkhxng Rene Magritte sarkhdi 14 160 133 138 mithunayn 2541 Swinglehurst Edmund Salvador Dali exploring the irrational London Tiger Books International 1996 Wood Ghislaine Surreal things surrealism and design London V amp A 2007 336 bthkhwamsilpkrrmniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk