ความถี่ (อังกฤษ: frequency) คือจำนวนการเกิดเหตุการณ์ซ้ำในหนึ่ง ความถี่อาจเรียกว่า ความถี่เชิงเวลา (temporal frequency) หมายถึงแสดงให้เห็นว่าต่างจากความถี่เชิงพื้นที่ (spatial) และความถี่เชิงมุม (angular) คาบคือระยะเวลาของหนึ่งวงจรในเหตุการณ์ที่เกิดซ้ำ ดังนั้นคาบจึงเป็นส่วนกลับของความถี่ ตัวอย่างเช่น ถ้าหัวใจของทารกเกิดใหม่เต้นที่ความถี่ 120 ครั้งต่อนาที คาบ (ช่วงเวลาระหว่างจังหวะหัวใจ) คือครึ่งวินาที (นั่นคือ 60 วินาทีหารจาก 120 จังหวะ) ความถี่เป็นตัวแปรสำคัญในวิทยาศาสตร์และวิศวกรรม สำหรับระบุอัตราของปรากฏการณ์และ เช่น การสั่นของเครื่องจักร (เสียง) คลื่นวิทยุ และแสง
ความถี่ | |
---|---|
ลูกตุ้มแกว่งสมบูรณ์ 25 รอบใน 60 วินาที ความถี่ 0.416 เฮิรตซ์ | |
สัญลักษณ์ทั่วไป | f, ν |
หน่วยเอสไอ | เฮิรตซ์ (Hz) |
หน่วยอื่น |
|
ในหน่วยฐานเอสไอ | s−1 |
อนุพันธ์ จากปริมาณอื่น |
|
นิยาม
ในกระบวนการของวงจร เช่น การหมุน การแกว่ง หรือคลื่น ความถี่นิยามโดยจำนวนวงจรต่อหน่วยเวลา ในหลักการของฟิสิกส์และวิศวกรรมศาสตร์ เช่น ทัศนศาสตร์ สวนศาสตร์ วิทยุ ความถี่มักแทนด้วยตัวอักษรละติน f หรือตัวอักษรกรีก "" หรือ ν (นิว)
ความสัมพันธ์ระหว่างความถี่กับคาบของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นซ้ำหรือการแกว่ง กำหนดให้
หน่วย
หน่วยอนุพันธ์เอสไอ ของความถี่คือเฮิรตซ์ (hertz) ตั้งจากนักฟิสิกส์ชาวเยอรมันชื่อ ไฮน์ริช เฮิรตซ์ ความถี่หนึ่งเฮิรตซ์หมายถึงเหตุการณ์เกิดหนึ่งครั้งต่อวินาที ชื่อหน่วยเดิมคือ วงจรต่อวินาที (cycles per second, cps) หน่วยเอสไอของคาบคือวินาที
หน่วยวัดดั้งเดิมที่ใช้กับอุปกรณ์เครื่องกลคือ รอบต่อนาที (revolutions per minute) ย่อว่า r/min หรือ rpm หน่วย 60 rpm เท่ากับหนึ่งเฮิรตซ์
ความถี่ของคลื่น
สำหรับคลื่นเสียง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (เช่นคลื่นวิทยุหรือแสง) สัญญาณไฟฟ้า หรือคลื่นอื่นๆ ความถี่ในหน่วยเฮิรตซ์ของคลื่นนั้นคือจำนวนรอบที่คลื่นนั้นซำรอยเดิมในหนึ่งวินาที สำหรับคลื่นเสียง ความถี่คือปริมาณที่บ่งบอกความทุ้มแหลม
ความถี่ของคลื่นมีความสัมพันธ์กับความยาวคลื่น กล่าวคือความถี่ f มีค่าเท่ากับความเร็ว v ของคลื่นหารด้วยความยาวคลื่น λ (lambda) :
ในกรณีของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่เดินทางในสุญญากาศ ความเร็วด้านบนก็คือความเร็วแสง และสมการด้านบนก็เขียนใหม่ได้เป็น:
หมายเหตุ: เมื่อคลื่นเดินทางจากหนึ่งไปยังอีกตัวกลางหนึ่ง ความถี่ของคลื่นจะยังคงที่อยู่ ในขณะที่ความยาวคลื่นและความเร็วเปลี่ยนไปตามตัวกลาง
ความถี่รอบตัวเรา
โดยทั่วไปเราสามารถแบ่งได้ดังนี้
3000-300 | 300-30 | 30-3 | ความถี่ |
---|---|---|---|
รังสีเอกซ์ | รังสีเอกซ์ | อุลตราไวโอเล็ต (UV) | PHz |
แสงที่มองเห็นได้ | อินฟราเรด (IR) | อินฟราเรด (IR) | THz |
คลื่น Sub millimeter | EHF | SHF | GHz |
UHF | VHF | HF | MHz |
MF | LF | VLF | kHz |
ไฟฟ้ากระแสสลับ | - | Hz |
- ความถี่มาตรฐานของโน้ตตัว A (ลา) นั้นถูกกำหนดไว้ที่ 440 เฮิรตซ์ ซึ่งเท่ากับ 440 รอบต่อวินาที และเป็นความถี่ที่วงออเคสตราใช้เป็นหลักในการตั้งเสียง
- มนุษย์เราจะได้ยินเสียงความถี่ ตั้งแต่ 20 - 20,000 เฮิรตซ์ โดยเสียงที่ต่ำกว่า 20 เฮิรตซ์ เราจะเรียกว่า และเสียงที่สูงๆขึ้นไปมากกว่า 20,000 เฮิรตซ์ เรียกว่า
- เปียโน มีความถี่เสียง ตั้งแต่ 27.5 - 4,186 เฮิรตซ์
- กีตาร์ มีความถี่เสียง ตั้งแต่ 82 - 1,174 เฮิรตซ์
- กีตาร์เบส มีความถี่เสียง ตั้งแต่ 82 - 1,174 เฮิรตซ์
- ในทวีปยุโรป ความถี่ของไฟฟ้ากระแสสลับคือ 50 เฮิรตซ์ (ใกล้เคียงกับโน้ตตัว G) ที่ความต่างศักย์ 230 โวลต์
- ในทวีปอเมริกาเหนือ ความถี่ของไฟฟ้ากระแสสลับคือ 60 เฮิรตซ์ (ใกล้เคียงกับโน้ตตัว B แฟลต) 117 โวลต์
ดูเพิ่ม
- คลื่น ความยาวคลื่น แอมพลิจูด
- ความถี่เชิงมุม
- ดนตรี - ความทุ้มแหลม โน้ตดนตรี
- แสง สเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้า
- คลื่นวิทยุ ความถี่วิทยุ
- "Definition of PERIOD". สืบค้นเมื่อ 3 October 2016.
- Davies, A. (1997). Handbook of Condition Monitoring: Techniques and Methodology. New York: Springer. ISBN .
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
khwamthi xngkvs frequency khuxcanwnkarekidehtukarnsainhnung khwamthixaceriykwa khwamthiechingewla temporal frequency hmaythungaesdngihehnwatangcakkhwamthiechingphunthi spatial aelakhwamthiechingmum angular khabkhuxrayaewlakhxnghnungwngcrinehtukarnthiekidsa dngnnkhabcungepnswnklbkhxngkhwamthi twxyangechn thahwickhxngtharkekidihmetnthikhwamthi 120 khrngtxnathi khab chwngewlarahwangcnghwahwic khuxkhrungwinathi nnkhux 60 winathiharcak 120 cnghwa khwamthiepntwaeprsakhyinwithyasastraelawiswkrrm sahrbrabuxtrakhxngpraktkarnaela echn karsnkhxngekhruxngckr esiyng khlunwithyu aelaaesngkhwamthiluktumaekwngsmburn 25 rxbin 60 winathi khwamthi 0 416 ehirtssylksnthwipf nhnwyexsixehirts Hz hnwyxunrxbtxwinathi cps rxbtxnathi rpm hrux r min inhnwythanexsixs 1xnuphnth cakprimanxunf 1 TT 1 displaystyle mathsf T 1 niyaminkrabwnkarkhxngwngcr echn karhmun karaekwng hruxkhlun khwamthiniyamodycanwnwngcrtxhnwyewla inhlkkarkhxngfisiksaelawiswkrrmsastr echn thsnsastr swnsastr withyu khwamthimkaethndwytwxksrlatin f hruxtwxksrkrik n displaystyle nu hrux n niw khwamsmphnthrahwangkhwamthikbkhabkhxngehtukarnthiekidkhunsahruxkaraekwng kahndih f 1T displaystyle f frac 1 T hnwyhnwyxnuphnthexsix khxngkhwamthikhuxehirts hertz tngcaknkfisikschaweyxrmnchux ihnrich ehirts khwamthihnungehirtshmaythungehtukarnekidhnungkhrngtxwinathi chuxhnwyedimkhux wngcrtxwinathi cycles per second cps hnwyexsixkhxngkhabkhuxwinathi hnwywddngedimthiichkbxupkrnekhruxngklkhux rxbtxnathi revolutions per minute yxwa r min hrux rpm hnwy 60 rpm ethakbhnungehirtskhwamthikhxngkhlunsahrbkhlunesiyng khlunaemehlkiffa echnkhlunwithyuhruxaesng syyaniffa hruxkhlunxun khwamthiinhnwyehirtskhxngkhlunnnkhuxcanwnrxbthikhlunnnsarxyediminhnungwinathi sahrbkhlunesiyng khwamthikhuxprimanthibngbxkkhwamthumaehlm khwamthikhxngkhlunmikhwamsmphnthkbkhwamyawkhlun klawkhuxkhwamthi f mikhaethakbkhwamerw v khxngkhlunhardwykhwamyawkhlun l lambda f vl displaystyle f frac v lambda inkrnikhxngkhlunaemehlkiffathiedinthanginsuyyakas khwamerwdanbnkkhuxkhwamerwaesng aelasmkardanbnkekhiynihmidepn f cl displaystyle f frac c lambda hmayehtu emuxkhlunedinthangcakhnungipyngxiktwklanghnung khwamthikhxngkhluncayngkhngthixyu inkhnathikhwamyawkhlunaelakhwamerwepliyniptamtwklangkhwamthirxbtweraodythwiperasamarthaebngiddngni 3000 300 300 30 30 3 khwamthirngsiexks rngsiexks xultraiwoxelt UV PHzaesngthimxngehnid xinfraerd IR xinfraerd IR THzkhlun Sub millimeter EHF SHF GHzUHF VHF HF MHzMF LF VLF kHziffakraaesslb Hzkhwamthimatrthankhxngonttw A la nnthukkahndiwthi 440 ehirts sungethakb 440 rxbtxwinathi aelaepnkhwamthithiwngxxekhstraichepnhlkinkartngesiyng mnusyeracaidyinesiyngkhwamthi tngaet 20 20 000 ehirts odyesiyngthitakwa 20 ehirts eracaeriykwa aelaesiyngthisungkhunipmakkwa 20 000 ehirts eriykwa epiyon mikhwamthiesiyng tngaet 27 5 4 186 ehirts kitar mikhwamthiesiyng tngaet 82 1 174 ehirts kitarebs mikhwamthiesiyng tngaet 82 1 174 ehirts inthwipyuorp khwamthikhxngiffakraaesslbkhux 50 ehirts iklekhiyngkbonttw G thikhwamtangsky 230 owlt inthwipxemrikaehnux khwamthikhxngiffakraaesslbkhux 60 ehirts iklekhiyngkbonttw B aeflt 117 owltduephimkhlun khwamyawkhlun aexmphlicud khwamthiechingmum dntri khwamthumaehlm ontdntri aesng sepktrmaemehlkiffa khlunwithyu khwamthiwithyu Definition of PERIOD subkhnemux 3 October 2016 Davies A 1997 Handbook of Condition Monitoring Techniques and Methodology New York Springer ISBN 978 0 412 61320 3 ol