บทความนี้ไม่มีจาก |
การหาร (อังกฤษ: division) ในทางคณิตศาสตร์ คือ ที่เป็นการดำเนินการผันกลับของการคูณ (เช่น200÷20=20×___=200)และบางครั้งอาจกล่าวได้ว่าเป็นการทำซ้ำการลบ คือการแบ่งออกหรือเอาออกเท่า ๆ กัน จนกระทั่งตัวตั้งเหลือศูนย์ (หารลงตัว) เช่น a÷b=c (โดยbไม่ใช่ 0)
ถ้า
- a × b = c
เมื่อ b ไม่เท่ากับ 0 แล้ว
- a = c ÷ b
(อ่านว่า "c หารด้วย b") ตัวอย่างเช่น 6 ÷ 3 = 2 เพราะว่า 2 × 3 = 6
ในนิพจน์ข้างบน a คือ ผลหาร, b คือ ตัวหาร และ c คือ ตัวตั้งหาร
นิพจน์ c ÷ b มักเขียนแทนด้วย (เศษส่วน) โดยเฉพาะในคณิตศาสตร์ขั้นสูง (รวมถึงการประยุกต์ในวิทยาศาสตร์และวิศวกรรม) และในภาษาโปรแกรม การเขียนแบบนี้ มักใช้แทนเศษส่วน ซึ่งยังไม่ต้องการหาค่า
ในภาษาอื่น ๆ ที่ไม่ใช่ภาษาอังกฤษ c ÷ b มักเขียนว่า c : b ซึ่งในภาษาอังกฤษ จะใช้เครื่องหมายทวิภาค (:) เมื่อมันเกี่ยวข้องกับ
สำหรับการหารด้วยศูนย์นั้น ไม่นิยาม
ขั้นตอนการหาร
วิธีหารแบบยุคลิดคือทฤษฎีบทคณิตศาสตร์ที่กล่าวถึงผลลัพธ์จากการหารของจำนวนเต็มปกติไว้อย่างเที่ยงตรง ที่สำคัญทฤษฎีนี้ยืนยันว่าจำนวนเต็มที่เรียกว่าผลลัพธ์ q และเศษ r มีอยู่เสมอและมีเพียงค่าเดียวสำหรับตัวตั้ง a และตัวหาร d โดยที่ d ≠ 0 ทฤษฎีอย่างเป็นรูปนัยกล่าวไว้ดังนี้: มีจำนวนเต็ม q และ r เพียงคู่เดียวที่ a = qd + r และ 0 ≤ r < | d | โดยที่ | d | แทนค่าสัมบูรณ์ของ d
การหารจำนวนจริง
การหารจำนวนจริงสองจำนวน จะให้ผลลัพธ์เป็นจำนวนจริง เมื่อตัวหารไม่เท่ากับ 0. นิยามว่า = c ก็ต่อเมื่อ a = cb และ b ≠ 0
ดูเพิ่ม
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir karhar xngkvs division inthangkhnitsastr khux thiepnkardaeninkarphnklbkhxngkarkhun echn200 20 20 200 aelabangkhrngxacklawidwaepnkarthasakarlb khuxkaraebngxxkhruxexaxxketha kn cnkrathngtwtngehluxsuny harlngtw echn a b c odybimich 0 aebngepnswnethakn aetlaswnkhuxkarhar tha a b c emux b imethakb 0 aelw a c b xanwa c hardwy b twxyangechn 6 3 2 ephraawa 2 3 6 inniphcnkhangbn a khux phlhar b khux twhar aela c khux twtnghar niphcn c b mkekhiynaethndwy cb displaystyle textstyle frac c b essswn odyechphaainkhnitsastrkhnsung rwmthungkarprayuktinwithyasastraelawiswkrrm aelainphasaopraekrm karekhiynaebbni mkichaethnessswn sungyngimtxngkarhakha inphasaxun thiimichphasaxngkvs c b mkekhiynwa c b sunginphasaxngkvs caichekhruxnghmaythwiphakh emuxmnekiywkhxngkb sahrbkarhardwysunynn imniyamkhntxnkarharwithiharaebbyukhlidkhuxthvsdibthkhnitsastrthiklawthungphllphthcakkarharkhxngcanwnetmpktiiwxyangethiyngtrng thisakhythvsdiniyunynwacanwnetmthieriykwaphllphth q aelaess r mixyuesmxaelamiephiyngkhaediywsahrbtwtng a aelatwhar d odythi d 0 thvsdixyangepnrupnyklawiwdngni micanwnetm q aela r ephiyngkhuediywthi a qd r aela 0 r lt d odythi d aethnkhasmburnkhxng dkarharcanwncringkarharcanwncringsxngcanwn caihphllphthepncanwncring emuxtwharimethakb 0 niyamwa ab displaystyle textstyle frac a b c ktxemux a cb aela b 0duephimkarharyaw bthkhwamkhnitsastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk