บทความนี้ยังต้องการเพิ่มเพื่อ |
พิพิธภัณฑสถานธรรมชาติวิทยาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (อังกฤษ: Museum of Natural History, Chulalongkorn University) เป็นพิพิธภัณฑ์ที่จัดแสดงตัวอย่างสิ่งมีชีวิต และทรัพยากรธรรมชาติ อาทิเช่น โครงกระดูกของสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ , ตัวอย่างเปลือกหอยต่างๆ ของไทย , ซากดึกดำบรรพ์ที่พบในประเทศไทย , ชีววิทยาของผึ้ง ตัวอย่างปลาในวรรณคดี , ตัวอย่างตะพาบม่านลาย ซึ่งพบในประเทศไทยแห่งเดียวในโลก, นกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร และ ปูเจ้าฟ้า โดยพิพิธภัณฑ์แห่งนี้อยู่ภายใต้การดูแลของภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การจัดแสดงภายในพิพิธภัณฑสถาน จะแสดงความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในมุมมองต่าง ๆ ทั้งเชิงวิชาการ การอนุรักษ์ ความสัมพันธ์ และการประยุกต์
ประวัติ
เมื่อปี พ.ศ. 2415 ได้มีการก่อตั้ง "พิพิธภัณฑสถานธรรมชาติวิทยา" แห่งแรกของประเทศไทย โดยพระราชประสงค์ของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งดำเนินงานโดย นายเฮนรี่ อลาสบาเตอร์ แต่ด้วยการดูแลรักษาที่ยาก และยังไม่มีผู้ที่สนใจค้นคว้า วิจัย ประกอบกับ ในช่วงเวลานั้น ทรัพยากรธรรมชาติมีความอุดมสมบูรณ์มาก จึงทำให้พิพิธภัณฑสถานธรรมชาติวิทยาแห่งแรกนั้นเสื่อมสลายลง
ต่อมา ได้มีการจัดตั้งพิพิธภัณฑสถานธรรมชาติวิทยาขึ้น ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในปี พ.ศ. 2497 โดย แต่ได้ยกเลิกไป และในปี พ.ศ. 2530 ได้มีการจัดตั้งพิพิธภัณฑสถานธรรมชาติวิทยาขึ้นมาอีกครั้ง ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในวโรกาสที่ทรงเจริญพระชนมายุครบ 5 รอบ และฉลองครบรอบ 70 ปีของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินประกอบพิธีเปิด ในวันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2530
อนึ่ง ตัวอย่างบางสิ่งที่หลงเหลืออยู่และยังคงเก็บรักษาไว้ จากพิพิธภัณฑ์แห่งเดิมนั้น ได้รับการบูรณะและนำมาจัดเก็บ ณ พิพิธภัณฑ์แห่งนี้ด้วย
ห้องนิทรรศการ
พิพิธภัณฑสถานธรรมชาติวิทยา จุฬาฯ ได้แบ่งส่วนการจัดแสดง ดังนี้
ห้องนิทรรศการหลัก
ห้องนิทรรศการหลัก (The main hall) ตั้งอยู่ ณ ห้อง 203 ตึกชีววิทยา 1 คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ โดย
- ชั้นล่าง เป็นที่จัดแสดงตัวอย่างสัตว์ชนิดต่าง ๆ หินและแร่ที่สำคัญ รวมทั้ง ตัวอย่างทางมานุษยวิทยา
- ชั้นลอย เป็นที่รวบรวมตัวอย่างอ้างอิง ได้แก่ ปลา สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก สัตว์เลื้อยคลาน นก และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
พิพิธภัณฑ์เต่าและตะพาบ
พิพิธภัณฑ์เต่าและตะพาบ (The turtle museum) ตั้งอยู่ ณ ห้อง 231 ตึกชีววิทยา 1 คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ เป็นพิพิธภัณฑ์เต่าและตะพาบที่สมบูรณ์ที่สุดในประเทศไทย และภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยจัดแสดงตัวอย่างเต่าบก เต่าทะเล เต่าน้ำจืด และ ตะพาบทุกชนิดที่พบในประเทศไทย รวมทั้ง ยังจัดแสดงตัวอย่างเต่าจากทั่วโลกอีกด้วย ซึ่งตัวอย่างส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปของตัวอย่างแห้ง และโครงกระดูก
พิพิธภัณฑ์แมลง
พิพิธภัณฑ์แมลง (The insect museum) ตั้งอยู่ ณ ห้อง 228 ตึกชีววิทยา 1 คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ โดยจัดแสดงตัวอย่างแมลง และ มากกว่า 5,000 ตัวอย่าง และตัวอย่างอ้างอิงมากกว่า 30,000 นอกจากนี้ ยังมีการจัดแสดงตัวอย่างแมลงหายาก แมลงที่เป็นอาหาร แมลงอนุรักษ์ ผึ้งและไรปรสิต อีกด้วย
พิพิธภัณฑ์หอยทากของไทย
พิพิธภัณฑ์หอยทากของไทย (snail museum of Thailand) ตั้งอยู่ ณ ห้อง 222 ตึกชีววิทยา 1 คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ เปิดให้เข้าชมครั้งแรก เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2546 เนื่องในโอกาสการจัดงานครบรอบ 80 ปี ชีววิทยาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยเป็นพิพิธภัณฑ์หอยทากบกแห่งแรกและแห่งเดียวในประเทศไทย ภายในพิพิธภัณฑ์จัดแสดงนิทรรศการหอยทากที่พบในประเทศไทย ที่คนไทยส่วนใหญ่ไม่รู้จัก การจัดแสดงเน้นแสดงเปลือกหอยสองวงศ์ ได้แก่ หอยวงศ์หอยทากจิ๋วปากแตร , วงศ์หอยต้นไม้ (หอยทากสวยงาม,หอยนก)
ที่ตั้ง
- ตึกชีววิทยา 1 ชั้น 2 ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เวลาเปิด
พิพิธภัณฑสถานธรรมชาติวิทยา เปิดให้เข้าชม ระหว่างเวลา 10.00 น. ถึง 15.30 น. ทุกวัน เว้นวันหยุดราชการ
การเดินทาง
การเดินทางมายังพิพิธภัณฑสถานธรรมชาติวิทยา จุฬาฯ สามารถเดินทางมาได้หลายเส้นทาง ได้แก่
- รถโดยสารประจำทาง สาย 16 21 25 29 34 36 40 50 93 113 163 159 502 529 ปอ.29 ปอ.1 ปอ.2 ปอพ.3 และ ปอพ.5
- รถไฟฟ้าบีทีเอส โดยลงที่ สถานีสยาม
- รถไฟฟ้าใต้ดิน โดยลงที่ สถานีสามย่าน
อ้างอิง
- แผ่นพับ "พิพิธภัณฑสถานธรรมชาติวิทยาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Chulalongkorn University,Museum of Natural History)"
ดูเพิ่ม
แหล่งข้อมูลอื่น
- พิพิธภัณฑสถานธรรมชาติวิทยาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2007-08-13 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน จากเว็บไซต์ ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- พิพิธภัณฑสถานธรรมชาติวิทยาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2011-04-11 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน จากเว็บไซต์ศูนย์ความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniyngtxngkarephimaehlngxangxingephuxphisucnkhwamthuktxngkhunsamarthphthnabthkhwamniidodyephimaehlngxangxingtamsmkhwr enuxhathikhadaehlngxangxingxacthuklbxxk haaehlngkhxmul phiphithphnthsthanthrrmchatiwithyaaehngculalngkrnmhawithyaly khaw hnngsuxphimph hnngsux skxlar JSTOR eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir phiphithphnthsthanthrrmchatiwithyaaehngculalngkrnmhawithyaly xngkvs Museum of Natural History Chulalongkorn University epnphiphithphnththicdaesdngtwxyangsingmichiwit aelathrphyakrthrrmchati xathiechn okhrngkradukkhxngsingmichiwittang twxyangepluxkhxytang khxngithy sakdukdabrrphthiphbinpraethsithy chiwwithyakhxngphung twxyangplainwrrnkhdi twxyangtaphabmanlay sungphbinpraethsithyaehngediywinolk nkecafahyingsirinthr aela puecafa odyphiphithphnthaehngnixyuphayitkarduaelkhxngphakhwichachiwwithya khnawithyasastr culalngkrnmhawithyalyphiphithphnthsthanthrrmchatiwithya aehngculalngkrnmhawithyalybriewnphayinphiphithphnthsthanthrrmchatiwithyaaehngculalngkrnmhawithyalykxtngph s 2497thitngtukchiwwithya 1 chn 2 phakhwichachiwwithya khnawithyasastr culalngkrnmhawithyalyewbistmuseum wbr stkc wbr go wbr th wbr cu wbr index wbr php karcdaesdngphayinphiphithphnthsthan caaesdngkhwamhlakhlaykhxngsingmichiwitinmummxngtang thngechingwichakar karxnurks khwamsmphnth aelakarprayuktprawtiemuxpi ph s 2415 idmikarkxtng phiphithphnthsthanthrrmchatiwithya aehngaerkkhxngpraethsithy odyphrarachprasngkhkhxngphrabathsmedcphracxmeklaecaxyuhw sungdaeninnganody nayehnri xlasbaetxr aetdwykarduaelrksathiyak aelayngimmiphuthisnickhnkhwa wicy prakxbkb inchwngewlann thrphyakrthrrmchatimikhwamxudmsmburnmak cungthaihphiphithphnthsthanthrrmchatiwithyaaehngaerknnesuxmslaylng txma idmikarcdtngphiphithphnthsthanthrrmchatiwithyakhun n culalngkrnmhawithyaly inpi ph s 2497 ody aetidykelikip aelainpi ph s 2530 idmikarcdtngphiphithphnthsthanthrrmchatiwithyakhunmaxikkhrng n culalngkrnmhawithyaly ephuxepnkarechlimphraekiyrtiphrabathsmedcphraecaxyuhw inworkasthithrngecriyphrachnmayukhrb 5 rxb aelachlxngkhrbrxb 70 pikhxngculalngkrnmhawithyaly odyidrbphramhakrunathikhuncaksmedcphraethphrtnrachsuda syambrmrachkumari esdcphrarachdaeninprakxbphithiepid inwnthi 25 phvscikayn ph s 2530 xnung twxyangbangsingthihlngehluxxyuaelayngkhngekbrksaiw cakphiphithphnthaehngedimnn idrbkarburnaaelanamacdekb n phiphithphnthaehngnidwyhxngnithrrskarphiphithphnthsthanthrrmchatiwithya cula idaebngswnkarcdaesdng dngni hxngnithrrskarhlk hxngnithrrskarhlk The main hall tngxyu n hxng 203 tukchiwwithya 1 khnawithyasastr cula ody chnlang epnthicdaesdngtwxyangstwchnidtang hinaelaaerthisakhy rwmthng twxyangthangmanusywithya chnlxy epnthirwbrwmtwxyangxangxing idaek pla stwsaethinnasaethinbk stweluxykhlan nk aelastweliynglukdwynmphiphithphnthetaaelataphab phiphithphnthetaaelataphab The turtle museum tngxyu n hxng 231 tukchiwwithya 1 khnawithyasastr cula epnphiphithphnthetaaelataphabthismburnthisudinpraethsithy aelaphumiphakhexechiytawnxxkechiyngit odycdaesdngtwxyangetabk etathael etanacud aela taphabthukchnidthiphbinpraethsithy rwmthng yngcdaesdngtwxyangetacakthwolkxikdwy sungtwxyangswnihycaxyuinrupkhxngtwxyangaehng aelaokhrngkraduk phiphithphnthaemlng phiphithphnthaemlng The insect museum tngxyu n hxng 228 tukchiwwithya 1 khnawithyasastr cula odycdaesdngtwxyangaemlng aela makkwa 5 000 twxyang aelatwxyangxangxingmakkwa 30 000 nxkcakni yngmikarcdaesdngtwxyangaemlnghayak aemlngthiepnxahar aemlngxnurks phungaelairprsit xikdwy phiphithphnthhxythakkhxngithy phiphithphnthhxythakkhxngithy snail museum of Thailand tngxyu n hxng 222 tukchiwwithya 1 khnawithyasastr cula epidihekhachmkhrngaerk emuxwnthi 13 thnwakhm ph s 2546 enuxnginoxkaskarcdngankhrbrxb 80 pi chiwwithyaculalngkrnmhawithyaly odyepnphiphithphnthhxythakbkaehngaerkaelaaehngediywinpraethsithy phayinphiphithphnthcdaesdngnithrrskarhxythakthiphbinpraethsithy thikhnithyswnihyimruck karcdaesdngennaesdngepluxkhxysxngwngs idaek hxywngshxythakciwpakaetr wngshxytnim hxythakswyngam hxynk thitngtukchiwwithya 1 chn 2 phakhwichachiwwithya khnawithyasastr culalngkrnmhawithyalyewlaepidphiphithphnthsthanthrrmchatiwithya epidihekhachm rahwangewla 10 00 n thung 15 30 n thukwn ewnwnhyudrachkarkaredinthangkaredinthangmayngphiphithphnthsthanthrrmchatiwithya cula samarthedinthangmaidhlayesnthang idaek rthodysarpracathang say 16 21 25 29 34 36 40 50 93 113 163 159 502 529 px 29 px 1 px 2 pxph 3 aela pxph 5 rthiffabithiexs odylngthi sthanisyam rthiffaitdin odylngthi sthanisamyanxangxingaephnphb phiphithphnthsthanthrrmchatiwithyaaehngculalngkrnmhawithyaly Chulalongkorn University Museum of Natural History duephimphiphithphnthsthanthrrmchatiwithya 50 phrrsa syambrmrachkumari n mhawithyalysngkhlankhrinthr withyaekhthadihyaehlngkhxmulxunphiphithphnthsthanthrrmchatiwithyaaehngculalngkrnmhawithyaly 2007 08 13 thi ewyaebkaemchchin cakewbist phakhwichachiwwithya khnawithyasastr culalngkrnmhawithyaly phiphithphnthsthanthrrmchatiwithyaaehngculalngkrnmhawithyaly 2011 04 11 thi ewyaebkaemchchin cakewbistsunykhwamruwithyasastraelaethkhonolyi