เตงเหยียง (เสียชีวิต 9 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 249) มีชื่อในภาษาจีนกลางว่า เติ้ง หยาง (จีน: 鄧颺; พินอิน: Dèng Yáng) ชื่อรอง เสฺวียนเม่า (จีน: 玄茂; พินอิน: Xuánmào) เป็นขุนนางชาวจีนของรัฐวุยก๊กในยุคสามก๊กของจีน
เตงเหยียง (เติ้ง หยาง) | |
---|---|
鄧颺 | |
ราชเลขาธิการ (尚書 ช่างชู) | |
ดำรงตำแหน่ง ค.ศ. ? – 5 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 249 | |
กษัตริย์ | โจฮอง |
ขุนนางมหาดเล็ก (侍中 ชื่อจง) | |
ดำรงตำแหน่ง ค.ศ. ? – 5 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 249 | |
กษัตริย์ | โจฮอง |
หัวหน้าเลขานุการ (長史 จ๋างฉื่อ) (ภายใต้โจซอง) | |
ดำรงตำแหน่ง ค.ศ. ? – ค.ศ. ? | |
กษัตริย์ | โจฮอง |
เจ้าเมืองเองฉวน (潁川太守 อิ่งชฺวานไท่โฉ่ว) | |
ดำรงตำแหน่ง ค.ศ. ? – ค.ศ. ? | |
กษัตริย์ | โจฮอง |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | ไม่ทราบ มณฑลเหอหนาน |
เสียชีวิต | 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 249 นครลั่วหยาง มณฑลเหอหนาน |
ญาติ | เตงอู (บรรพบุรุษ) |
อาชีพ | ขุนนาง |
ชื่อรอง | เสฺวียนเม่า (玄茂) |
ประวัติ
เตงเหยียงสืบเชื้อสายจากเตงอู (鄧禹 เติ้ง ยฺหวี่) ผู้เป็นขุนนางในช่วงต้นยุคราชวงศ์ฮั่นตะวันออก เตงเหยียงเป็นชาวอำเภอซินเอี๋ย (新野縣 ซินเย่เซี่ยน) เมืองลำหยง (南陽郡 หนานหยางจฺวิ้น) ซึ่งปัจจุบันคือ มณฑลเหอหนาน
เตงเหยียงมีชื่อเสียงตั้งแต่วัยเยาว์ในลกเอี๋ยง ซึ่งเป็นนครหลวงของรัฐวุยก๊กในยุคสามก๊ก ชื่อเสียงของเตงเหยียงทำให้เตงเหยียงทัดเทียมกับคนรุ่นเดียวกันอย่างแฮเฮาเหียน จูกัดเอี๋ยน และ เตงเหยียงดำรงตำแหน่งขุนนางสำนักราชเลขาธิการ (尚書郎 ช่างชูหลาง), ขุนนางสำนักราชวัง (中書郎 จงชูหลาง) และนายอำเภอ (令 ลิ่ง) ของลกเอี๋ยง ในรัชสมัยของโจยอย (ครองราชย์ ค.ศ. 226–239) จักรพรรดิลำดับที่ 2 ของวุยก๊ก แต่ภายหลังเตงเหยียงถูกปลดออกจากตำแหน่งเพราะปฏิบัติหน้าที่อย่างผักชีโรยหน้าและมุ่งแต่แสวงชื่อเสียง
ในปี ค.ศ. 239 ภายหลังการสวรรคตของจักรพรรดิโจยอย โจฮองได้สืบราชบัลลังก์เป็นจักรพรรดิพระองค์ใหม่ แต่เวลานั้นโจฮองยังทรงพระเยาว์ โจซองและสุมาอี้จึงบริหารราชการในฐานะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ โจซองใช้กลวิธีทางการเมืองลิดลอนอำนาจของสุมาอี้แล้วตัวโจซองจึงได้กุมอำนาจแต่เพียงผู้เดียวในราชสำนักวุยก๊ก ฝ่ายสุมาอี้อ้างว่าป่วยและอยู่กับบ้าน ในช่วงเวลานี้ โจซองแต่งตั้งให้เตงเหยียงเป็นเจ้าเมือง (太守 ไท่โฉ่ว) ของเมือง (潁川郡 อิ่งชฺวานจฺวิ้น) ภายหลังให้มีตำแหน่งหัวหน้าเลขานุการ (長史 จ๋างฉื่อ) ภายใต้โจซอง ต่อมาเตงเหยียงในฐานะคนสนิทคนหนึ่งของโจซองได้เลื่อนตำแหน่งขึ้นเป็นขุนนางมหาดเล็ก (侍中 ชื่อจง) และราชเลขาธิการ (尚書 ช่างชู)
ในช่วงที่เตงเหยียงดำรงตำแหน่ง ได้มีส่วนร่วมในการทุจริตและเล่นพรรคเล่นพวก ตัวอย่างเช่น ครั้งหนึ่งเตงเหยียงแต่งตั้งตำแหน่งขุนนางให้จาง อ้าย (臧艾) เพื่อตอบแทนที่จาง อ้ายมอบอนุภรรยาคนหนึ่งของบิดาให้เป็นอนุภรรยาของเตงเหยียง เวลานั้นมีคำกล่าวในลกเอี๋ยงที่ล้อเลียนเตงเหยียงว่า "เติ้ง เสฺวียนเม่ามอบตำแหน่งตอบแทนเรื่องผู้หญิง" ด้วยสถานะและความเกี่ยวข้องของเตงเหยียงที่มีต่อโจซอง ทำให้เตงเหยียงพร้อมด้วยเตงปิดและโฮอั๋นถูกเรียกว่าเป็น "สามสุนัข" ในช่วงเวลาเดียวกันนี้ที่โจซองกุมอำนาจในราชสำนัก ขุนนางชาวเมืองลำหยงชื่อกุย ท่าย (圭泰) กระทำการทำให้โจซองและผู้ติดตามรู้สึกไม่พอใจ เตงเหยียงต้องการลงโทษกุย ท่ายอย่างรุนแรง (司馬岐) บุตรชายของ (司馬芝) ตำหนิเตงเหยียงที่ใช้อำนาจเพื่อแก้แค้น เตงเหยียงรู้สึกอับอายและโมโห แต่ก็ยอมต่อคำของซือหม่า ฉี
ในปี ค.ศ. 244 เตงเหยียงและหลีซินแนะนำโจซองให้ยกทัพเข้ารบกับจ๊กก๊กที่เป็นรัฐอริของวุยก๊กเพื่อเพิ่มชื่อเสียงและอำนาจของตัวโจซองในวุยก๊ก แต่ในที่สุดโจซองก็พ่ายแพ้ต่อทัพจ๊กก๊กในยุทธการที่ซิงชื่อ เกียรติภูมิของโจซองก็ด้อยลงด้วยเหตุที่ทัพวุยก๊กได้รับความเสียหายอย่างหนักในการรบ
ในปี ค.ศ. 249 ระหว่างที่โจซองตามเสด็จจักรพรรดิโจฮองไปยังสุสานโกเบงเหลง สุมาอี้ฉวยโอกาสนี้ก่อรัฐประหารในลกเอี๋ยงและยึดครองกำลังทหารในนครหลวง โจซองยอมจำนนต่อสุมาอี้หลังสุมาอี้ให้คำมั่นว่าตัวโจซองและครอบครัวจะไม่ถูกทำร้ายหากโจซองยอมมอบอำนาจในฐานะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ภายหลังสุมาอี้ผิดคำมั่นโดยให้จับกุมโจซองและพรรคพวก (รวมถึงเตงเหยียง) ในข้อหากบฏและประหารชีวิตทั้งหมดพร้อมกับครอบครัว ไม่กี่วันก่อนหน้านั้น ในวันที่ 28 มกราคม หมอดูกวนลอได้พบกับโฮอั๋นตามคำเชิญของโฮอั๋น เตงเหยียงได้อยู่กับโฮอั๋นด้วยขณะพบกับกวนลอ กวนลอได้ทำนายถึงการเสียชีวิตของทั้งโฮอั๋นและเตงเหยียง
ดูเพิ่ม
หมายเหตุ
อ้างอิง
- ([嘉平元年春正月]戊戌,有司奏収黃門張當付廷尉,考實其辭,爽與謀不軌。又尚書丁謐、鄧颺、何晏、司隷校尉畢軌、荊州刺史李勝、大司農桓範皆與爽通姦謀,夷三族。) จดหมายเหตุสามก๊ก เล่มที่ 4.
- (鄧颺字玄茂) จดหมายเหตุสามก๊ก เล่มที่ 9.
- (鄧颺……鄧禹後也。) จดหมายเหตุสามก๊ก เล่มที่ 9.
- (少得士名於京師。) จดหมายเหตุสามก๊ก เล่มที่ 9.
- (明帝時爲尚書郎,除洛陽令,坐事免,拜中郎,又入兼中書郎。) จดหมายเหตุสามก๊ก เล่มที่ 9.
- (初,颺與李勝等爲浮華友,及在中書,浮華事發,被斥出,遂不復用。) จดหมายเหตุสามก๊ก เล่มที่ 9.
- (初,爽以宣王年德並高,恒父事之,不敢專行。及晏等進用,咸共推戴,說爽以權重不宜委之於人。乃以晏、颺、謐爲尚書,晏典選舉,軌司隷校尉,勝河南尹,諸事希復由宣王。宣王遂稱疾避爽。) จดหมายเหตุสามก๊ก เล่มที่ 9.
- (正始初,乃出爲潁川太守,轉大將軍長史,遷侍中尚書。) จดหมายเหตุสามก๊ก เล่มที่ 9.
- (颺爲人好貨,前在內職,許臧艾授以顯官,艾以父妾與颺) จดหมายเหตุสามก๊ก เล่มที่ 9.
- (故京師爲之語曰:「以官易婦鄧玄茂。」) จดหมายเหตุสามก๊ก เล่มที่ 9.
- (故于時謗書,謂「臺中有三狗,二狗崖柴不可當,一狗憑默作疽囊。」三狗,謂何、鄧、丁也。) จดหมายเหตุสามก๊ก เล่มที่ 9.
- (是時大將軍爽专权,尚書何晏、邓飏等爲之輔翼。南陽圭泰嘗以言迕指,考系廷尉。飏讯獄,將致泰重刑。岐數飏曰:『夫枢机大臣,王室之佐,既不能輔化成德,齊美古人,而乃肆其私忿,枉論無辜。使百姓危心,非此焉在?』飏於是惭怒而退。จดหมายเหตุสามก๊ก เล่มที่ 12.
- (颺等欲令爽立威名於天下,勸使伐蜀,爽從其言) จดหมายเหตุสามก๊ก เล่มที่ 9.
- (是時,關中及氐、羌轉輸不能供,牛馬騾驢多死,民夷號泣道路。入穀行數百里,賊因山爲固,兵不得進。) จดหมายเหตุสามก๊ก เล่มที่ 9.
- (十年正月,車駕朝高平陵,爽兄弟皆從。宣王部勒兵馬,先據武庫,遂出屯洛水浮橋。) จดหมายเหตุสามก๊ก เล่มที่ 9.
- (侍中許允、尚書陳泰說爽,使早自歸罪。爽於是遣允、泰詣宣王,歸罪請死,乃通宣王奏事。《世語》曰:宣王使許允、陳泰解語爽,蔣濟亦與書達宣王之旨,又使爽所信殿中校尉尹大目謂爽,唯免官而已,以洛水爲誓。爽信之,罷兵。《魏氏春秋》曰:爽旣罷兵,曰:「我不失作富家翁。」) จดหมายเหตุสามก๊ก เล่มที่ 9.
- (爽以支屬,世蒙殊寵,親受先帝握手遺詔,託以天下,而包藏禍心,蔑棄顧命,乃與晏、颺及當等謀圖神器,範黨同罪人,皆爲大逆不道」。於是收爽、羲、訓、晏、颺、謐、軌、勝、範、當等,皆伏誅,夷三族。) จดหมายเหตุสามก๊ก เล่มที่ 9.
- (正始九年十二月二十八日,吏部尚書何晏請之,鄧颺在晏許。晏謂輅曰:「聞君著爻神妙,試為作一卦,知位當至三公不?」又問:「連夢見青蠅數十頭,來在鼻上,驅之不肯去,有何意故?」輅曰:「夫飛鴞,天下賤鳥,及其在林食椹,則懷我好音,況輅心非草木,敢不盡忠?昔元、凱之弼重華,宣惠慈和,周公之翼成王,坐而待旦,故能流光六合,萬國咸寧。此乃履道休應。非卜筮之所明也。今君侯位重山岳,勢若雷電,而懷德者鮮,畏威者眾,殆非小心翼翼多福之仁。又鼻者艮,此天中之山,〈臣松之案:相書謂鼻之所在為天中。鼻有山象,故曰:「天中之山」也。〉高而不危,所以長守貴也。今青蠅臭惡,而集之焉。位峻者顛,輕豪者亡,不可不思害盈之數,盛衰之期。是故山在地中曰謙,雷在天上曰壯;謙則裒多益寡,壯則非禮不履。未有損己而不光大,行非而不傷敗。原君侯上追文王六爻之旨,下思尼父彖象之義,然後三公可決,青蠅可驅也。」颺曰:「此老生之常譚。」輅答曰:「夫老生者見不生,常譚者見不譚。」晏曰:「過歲更當相見。」輅還邑舍,具以此言語舅氏,舅氏責輅言太切至。輅曰:「與死人語,何所畏邪?」舅大怒,謂輅狂悖。歲朝,西北大風,塵埃蔽天,十餘日,聞晏、颺皆誅,然後舅氏乃服。) จดหมายเหตุสามก๊ก เล่มที่ 29.
บรรณานุกรม
- ตันซิ่ว (ศตวรรษที่ 3). จดหมายเหตุสามก๊ก (ซานกั๋วจื้อ).
- เผย์ ซงจือ (ศตวรรษที่ 5). อรรถาธิบายจดหมายเหตุสามก๊ก (ซานกั๋วจื้อจู้).
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
etngehyiyng esiychiwit 9 kumphaphnth kh s 249 michuxinphasacinklangwa eting hyang cin 鄧颺 phinxin Deng Yang chuxrxng es wiynema cin 玄茂 phinxin Xuanmao epnkhunnangchawcinkhxngrthwuykkinyukhsamkkkhxngcinetngehyiyng eting hyang 鄧颺rachelkhathikar 尚書 changchu darngtaaehnng kh s 5 kumphaphnth kh s 249 249 kstriyochxngkhunnangmhadelk 侍中 chuxcng darngtaaehnng kh s 5 kumphaphnth kh s 249 249 kstriyochxnghwhnaelkhanukar 長史 cangchux phayitocsxng darngtaaehnng kh s kh s kstriyochxngecaemuxngexngchwn 潁川太守 xingch wanithochw darngtaaehnng kh s kh s kstriyochxngkhxmulswnbukhkhlekidimthrab mnthlehxhnanesiychiwit9 kumphaphnth ph s 249 nkhrlwhyang mnthlehxhnanyatietngxu brrphburus xachiphkhunnangchuxrxnges wiynema 玄茂 prawtietngehyiyngsubechuxsaycaketngxu 鄧禹 eting y hwi phuepnkhunnanginchwngtnyukhrachwngshntawnxxk etngehyiyngepnchawxaephxsinexiy 新野縣 sineyesiyn emuxnglahyng 南陽郡 hnanhyangc win sungpccubnkhux mnthlehxhnan etngehyiyngmichuxesiyngtngaetwyeyawinlkexiyng sungepnnkhrhlwngkhxngrthwuykkinyukhsamkk chuxesiyngkhxngetngehyiyngthaihetngehyiyngthdethiymkbkhnrunediywknxyangaehehaehiyn cukdexiyn aela etngehyiyngdarngtaaehnngkhunnangsankrachelkhathikar 尚書郎 changchuhlang khunnangsankrachwng 中書郎 cngchuhlang aelanayxaephx 令 ling khxnglkexiyng inrchsmykhxngocyxy khrxngrachy kh s 226 239 ckrphrrdiladbthi 2 khxngwuykk aetphayhlngetngehyiyngthukpldxxkcaktaaehnngephraaptibtihnathixyangphkchioryhnaaelamungaetaeswngchuxesiyng inpi kh s 239 phayhlngkarswrrkhtkhxngckrphrrdiocyxy ochxngidsubrachbllngkepnckrphrrdiphraxngkhihm aetewlannochxngyngthrngphraeyaw ocsxngaelasumaxicungbriharrachkarinthanaphusaercrachkaraethnphraxngkh ocsxngichklwithithangkaremuxnglidlxnxanackhxngsumaxiaelwtwocsxngcungidkumxanacaetephiyngphuediywinrachsankwuykk faysumaxixangwapwyaelaxyukbban inchwngewlani ocsxngaetngtngihetngehyiyngepnecaemuxng 太守 ithochw khxngemuxng 潁川郡 xingch wanc win phayhlngihmitaaehnnghwhnaelkhanukar 長史 cangchux phayitocsxng txmaetngehyiynginthanakhnsnithkhnhnungkhxngocsxngideluxntaaehnngkhunepnkhunnangmhadelk 侍中 chuxcng aelarachelkhathikar 尚書 changchu inchwngthietngehyiyngdarngtaaehnng idmiswnrwminkarthucritaelaelnphrrkhelnphwk twxyangechn khrnghnungetngehyiyngaetngtngtaaehnngkhunnangihcang xay 臧艾 ephuxtxbaethnthicang xaymxbxnuphrryakhnhnungkhxngbidaihepnxnuphrryakhxngetngehyiyng ewlannmikhaklawinlkexiyngthilxeliynetngehyiyngwa eting es wiynemamxbtaaehnngtxbaethneruxngphuhying dwysthanaaelakhwamekiywkhxngkhxngetngehyiyngthimitxocsxng thaihetngehyiyngphrxmdwyetngpidaelaohxnthukeriykwaepn samsunkh inchwngewlaediywknnithiocsxngkumxanacinrachsank khunnangchawemuxnglahyngchuxkuy thay 圭泰 krathakarthaihocsxngaelaphutidtamrusukimphxic etngehyiyngtxngkarlngothskuy thayxyangrunaerng 司馬岐 butrchaykhxng 司馬芝 tahnietngehyiyngthiichxanacephuxaekaekhn etngehyiyngrusukxbxayaelaomoh aetkyxmtxkhakhxngsuxhma chi inpi kh s 244 etngehyiyngaelahlisinaenanaocsxngihykthphekharbkbckkkthiepnrthxrikhxngwuykkephuxephimchuxesiyngaelaxanackhxngtwocsxnginwuykk aetinthisudocsxngkphayaephtxthphckkkinyuththkarthisingchux ekiyrtiphumikhxngocsxngkdxylngdwyehtuthithphwuykkidrbkhwamesiyhayxyanghnkinkarrb inpi kh s 249 rahwangthiocsxngtamesdcckrphrrdiochxngipyngsusanokebngehlng sumaxichwyoxkasnikxrthpraharinlkexiyngaelayudkhrxngkalngthharinnkhrhlwng ocsxngyxmcanntxsumaxihlngsumaxiihkhamnwatwocsxngaelakhrxbkhrwcaimthuktharayhakocsxngyxmmxbxanacinthanaphusaercrachkaraethnphraxngkh phayhlngsumaxiphidkhamnodyihcbkumocsxngaelaphrrkhphwk rwmthungetngehyiyng inkhxhakbtaelapraharchiwitthnghmdphrxmkbkhrxbkhrw imkiwnkxnhnann inwnthi 28 mkrakhm hmxdukwnlxidphbkbohxntamkhaechiykhxngohxn etngehyiyngidxyukbohxndwykhnaphbkbkwnlx kwnlxidthanaythungkaresiychiwitkhxngthngohxnaelaetngehyiyngduephimraychuxbukhkhlinyukhsamkk xubtikarnsusanokebngehlnghmayehtuphrarachprawtiochxngincdhmayehtusamkkbnthukwa ocsxngkbphumiswnrwm idaek etngpid etngehyiyng ohxn pidhwn hlisin aelahwnhxm thukpraharchiwitphrxmkbkhrxbkhrwinwnxus wikhxngeduxn 1 khxngskracheciyphing pithi 1 inrchsmykhxngochxng trngkbwnthi 9 kumphaphnth kh s 249 tamptithinkrikxeriynxangxing 嘉平元年春正月 戊戌 有司奏収黃門張當付廷尉 考實其辭 爽與謀不軌 又尚書丁謐 鄧颺 何晏 司隷校尉畢軌 荊州刺史李勝 大司農桓範皆與爽通姦謀 夷三族 cdhmayehtusamkk elmthi 4 鄧颺字玄茂 cdhmayehtusamkk elmthi 9 鄧颺 鄧禹後也 cdhmayehtusamkk elmthi 9 少得士名於京師 cdhmayehtusamkk elmthi 9 明帝時爲尚書郎 除洛陽令 坐事免 拜中郎 又入兼中書郎 cdhmayehtusamkk elmthi 9 初 颺與李勝等爲浮華友 及在中書 浮華事發 被斥出 遂不復用 cdhmayehtusamkk elmthi 9 初 爽以宣王年德並高 恒父事之 不敢專行 及晏等進用 咸共推戴 說爽以權重不宜委之於人 乃以晏 颺 謐爲尚書 晏典選舉 軌司隷校尉 勝河南尹 諸事希復由宣王 宣王遂稱疾避爽 cdhmayehtusamkk elmthi 9 正始初 乃出爲潁川太守 轉大將軍長史 遷侍中尚書 cdhmayehtusamkk elmthi 9 颺爲人好貨 前在內職 許臧艾授以顯官 艾以父妾與颺 cdhmayehtusamkk elmthi 9 故京師爲之語曰 以官易婦鄧玄茂 cdhmayehtusamkk elmthi 9 故于時謗書 謂 臺中有三狗 二狗崖柴不可當 一狗憑默作疽囊 三狗 謂何 鄧 丁也 cdhmayehtusamkk elmthi 9 是時大將軍爽专权 尚書何晏 邓飏等爲之輔翼 南陽圭泰嘗以言迕指 考系廷尉 飏讯獄 將致泰重刑 岐數飏曰 夫枢机大臣 王室之佐 既不能輔化成德 齊美古人 而乃肆其私忿 枉論無辜 使百姓危心 非此焉在 飏於是惭怒而退 cdhmayehtusamkk elmthi 12 颺等欲令爽立威名於天下 勸使伐蜀 爽從其言 cdhmayehtusamkk elmthi 9 是時 關中及氐 羌轉輸不能供 牛馬騾驢多死 民夷號泣道路 入穀行數百里 賊因山爲固 兵不得進 cdhmayehtusamkk elmthi 9 十年正月 車駕朝高平陵 爽兄弟皆從 宣王部勒兵馬 先據武庫 遂出屯洛水浮橋 cdhmayehtusamkk elmthi 9 侍中許允 尚書陳泰說爽 使早自歸罪 爽於是遣允 泰詣宣王 歸罪請死 乃通宣王奏事 世語 曰 宣王使許允 陳泰解語爽 蔣濟亦與書達宣王之旨 又使爽所信殿中校尉尹大目謂爽 唯免官而已 以洛水爲誓 爽信之 罷兵 魏氏春秋 曰 爽旣罷兵 曰 我不失作富家翁 cdhmayehtusamkk elmthi 9 爽以支屬 世蒙殊寵 親受先帝握手遺詔 託以天下 而包藏禍心 蔑棄顧命 乃與晏 颺及當等謀圖神器 範黨同罪人 皆爲大逆不道 於是收爽 羲 訓 晏 颺 謐 軌 勝 範 當等 皆伏誅 夷三族 cdhmayehtusamkk elmthi 9 正始九年十二月二十八日 吏部尚書何晏請之 鄧颺在晏許 晏謂輅曰 聞君著爻神妙 試為作一卦 知位當至三公不 又問 連夢見青蠅數十頭 來在鼻上 驅之不肯去 有何意故 輅曰 夫飛鴞 天下賤鳥 及其在林食椹 則懷我好音 況輅心非草木 敢不盡忠 昔元 凱之弼重華 宣惠慈和 周公之翼成王 坐而待旦 故能流光六合 萬國咸寧 此乃履道休應 非卜筮之所明也 今君侯位重山岳 勢若雷電 而懷德者鮮 畏威者眾 殆非小心翼翼多福之仁 又鼻者艮 此天中之山 臣松之案 相書謂鼻之所在為天中 鼻有山象 故曰 天中之山 也 高而不危 所以長守貴也 今青蠅臭惡 而集之焉 位峻者顛 輕豪者亡 不可不思害盈之數 盛衰之期 是故山在地中曰謙 雷在天上曰壯 謙則裒多益寡 壯則非禮不履 未有損己而不光大 行非而不傷敗 原君侯上追文王六爻之旨 下思尼父彖象之義 然後三公可決 青蠅可驅也 颺曰 此老生之常譚 輅答曰 夫老生者見不生 常譚者見不譚 晏曰 過歲更當相見 輅還邑舍 具以此言語舅氏 舅氏責輅言太切至 輅曰 與死人語 何所畏邪 舅大怒 謂輅狂悖 歲朝 西北大風 塵埃蔽天 十餘日 聞晏 颺皆誅 然後舅氏乃服 cdhmayehtusamkk elmthi 29 brrnanukrm tnsiw stwrrsthi 3 cdhmayehtusamkk sankwcux ephy sngcux stwrrsthi 5 xrrthathibaycdhmayehtusamkk sankwcuxcu