บทความนี้ไม่มีจาก |
ภูมิสถาปัตยกรรม (อังกฤษ: landscape architecture) อ่านออกเสียงว่า "พู-มิ-สะ-ถา-ปัด-ตะ-ยะ-กัม" เป็นศิลปะและวิทยาศาสตร์ว่าด้วยการออกแบบวางแผน การอนุรักษ์และจัดการพื้นที่ใช้สอยภายนอกอาคาร รวมทั้งพื้นที่บางส่วนภายในหรือบนดาดฟ้าอาคารเพื่อความผาสุก สวัสดิภาพและความปลอดภัยของประชาชน
ลักษณะโดยรวม
งานของภูมิสถาปนิกอาจครอบคลุมตั้งแต่การสรรค์สร้างสวนสาธารณะและถนนอุทยานไปจนถึงการวางผังบริเวณกลุ่มอาคารสำนักงาน จากการออกแบบที่พักอาศัยไปจนถึงการออกแบบโครงสร้างพื้นฐานของเมืองและการจัดการพื้นที่ธรรมชาติขนาดใหญ่ หรือการฟื้นฟูภูมิทัศน์ที่เสียหาย เช่น เหมืองแร่เก่า บริเวณฝังกลบขยะ ภูมิสถาปัตยกรรมทับซ้อนกับการจัดสวน ก็จริง แต่จะเป็นงานวิชาชีพที่มีปัจจัยพิจารณาในการออกแบบและมีขอบเขตกว้างขวางกว่า
ภูมิสถาปนิกทำงานในพื้นที่ภายนอกอาคารเกือบทุกชนิดและพื้นบางส่วนภายในหรือบนดาดฟ้าอาคาร ทั้งใหญ่และเล็ก ในเมืองและชนบท ทั้งด้วยวัสดุ “แข็ง” (hardscape) / “นุ่ม” (softscape) ภูมิสถาปนิกทำงานครอบคลุม:
- รูปทรง ขนาดส่วนและการวางผังโครงการใหม่
- งานที่พักอาศัยส่วนบุคคล ตามกฎหมายประเทศไทยสามารถออกแบบที่อยู่อาศัยได้ไม่เกิน 3 ชั้น
- งานสาธารณะ
- การออกแบบผังบริเวณโรงเรียน มหาวิทยาลัยและโรงแรม
- สวนสาธารณะ สนามกอล์ฟ สวนสนุกและสนามเล่นกีฬาต่างๆ
- บริเวณโครงการเคหะ นิคมอุตสาหกรรมและโครงการเชิงการค้า
- ทางหลวง โครงสร้างทางการขนส่ง สะพานและทางผ่าน
- ลานเมืองและลานชุมชนและระบบทางเดินเท้า
- โครงการฟื้นฟูชุมชนเมืองขนาดเล็กและใหญ่
- ป่า แหล่งท่องเที่ยว ภูมิทัศน์ประวัติศาสตร์ และการประเมินทางภูมิทัศน์หรือการศึกษาด้านการอนุรักษ์
- ภูมิทัศน์วัฒนธรรม (Cultural Landscape)
- อ่างเก็บน้ำ เขื่อน สถานีไฟฟ้า บ่อขุดวัสดุทางอุตสาหกรรมหรือโครงการทางอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ รวมทั้งบริเวณบริการนักท่องเที่ยวในอุทยานแห่งชาติ
- การประเมินสภาพแวดล้อม การให้คำปรึกษางานวางแผนภูมิทัศน์และการทำข้อเสนอในการจัดการผืนแผ่นดิน
- โครงการพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งและเกาะ
คุณค่าที่สำคัญที่สุดของภูมิสถาปัตยกรรมมักเกิดขึ้นในช่วงแรกของการวางผังแม่บทโครงการ ช่วงที่อยู่ในระหว่างการระดมความคิดในการกลั่นกรองสิ่งที่ดีที่สุดเกี่ยวกับการสร้างสรรค์การใช้สอยพื้นที่ ภูมิสถาปนิกสามารถให้แนวคิดรวมและจัดเตรียมผังหลักเบื้องต้นที่แสดงให้เห็นรายละเอียดได้ชัดเจนและง่ายที่จะเข้าใจในขั้นต่อๆ มา ภูมิสถาปนิกสามารถจัดทำแบบก่อสร้างประกอบสัญญาจ้าง จัดทำการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม ให้คำปรึกษา เป็นพยานผู้ชำนาญการในด้านการใช้ที่ดินเชิงนิเวศ นอกจากนี้ภูมิสถาปนิกยังสามารถจัดเตรียมเอกสารใบสมัครเพื่อการจัดหาแหล่งเงินลงทุนสำหรับโครงการด้วย
ความชำนาญเฉพาะในงานภูมิสถาปัตยกรรม
นักออกแบบภูมิสถาปัตยกรรมและ เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรทางกายภาพที่มีอยู่ และที่มีความสัมพันธ์กับองค์ประกอบทางกายภาพที่มนุษย์สร้างสรรค์ขึ้น เป็นผู้วางแผนผัง กำหนดจัดวาง คาดการณ์การใช้งานอย่างเป็นเหตุ-ผล เป็นผู้ที่รู้ซึ้งถึงความสัมพัน์ระหว่างการจัดวางองค์ประกอบทางธรรมชาติและกิจกรรมให้เกิดประโยชน์ มีความเหมาะสม ทั้งรู้ทรงของพื้นที่ ที่ว่าง ตลอดจนรักษาไว้ซึ่งสิ่งแวดล้อมที่ดี ซึ่งรวมไปถึงงานภูมิทัศน์อ่อน (งานพืชพรรณ เช่น การออกแบบปลูกต้นไม้ และการสรรค์สร้างพื้นที่สีเขียวกลางแจ้งทุกประเภท บุคคลเหล่านี้ทำงานภาครัฐทั้งในส่วนกลางและส่วนท้องถิ่น บางคนอาจทำงานภาคเอกชนหรือทำงานอิสระ รับเป็นที่ปรึกษาส่วนราชการ อุตสาหกรรม พาณิชกรรมและเอกชนรายบุคคล ผู้จัดการภูมิทัศน์ ใช้ความรู้ด้านวัสดุพืชพรรณและสิ่งแวดล้อมธรรมชาติในการให้คำแนะนำในการดูแลรักษาระยะยาวและในการพัฒนาภูมิทัศน์ บุคคลเหล่านี้ทำงานเกี่ยวกับพืชสวน การจัดการสถานที่ ป่า การอนุรักษ์ธรรมชาติและเกษตรกรรม นักวิทยาศาสตร์ภูมิทัศน์ มีทักษะพิเศษเช่น อุทกวิทยา หรือพฤกษศาสตร์ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการแก้ปัญหาในงานภูมิทัศน์ งานของบุคคลเหล่านี้อาจไล่ตั้งแต่การสำรวจบริเวณไปจนถึงการประเมินสิ่งแวดล้อมของบริเวณขนาดใหญ่เพื่อการวางแผนหรือการจัดการ และอาจทำรายงานผลกระทบในโครงการพัฒนาหรือในความสำคัญเฉพาะของพรรณไม้หรือสัตว์บางชนิดในพื้นที่ นักวางแผนภูมิทัศน์ เกี่ยวข้องและดูแลในด้านตำแหน่งที่ตั้ง วิวทิวทัศน์ นิเวศวิทยาและการใช้ที่ดินในเชิงนันทนาการของเมือง ชนบท และ งานที่บุคคลกลุ่มนี้ทำรวมถึงการเขียนรายงานด้านนโยบายและยุทธวิธี และลงท้ายด้วยการส่งผังรวมสำหรับการพัฒนาโครงการใหม่ การประเมินและและประมาณค่าพร้อมทั้งการจัดทำแผนการจัดการเพื่อนำไปใช้ในการทำแผนนโยบาย บางคนอาจมีสร้างสมความชำนาญเฉพาะเพิ่มเติม เช่น งานภูมิทัศน์โบราณคดี หรือกฎหมายที่เกี่ยวของกับภูมิทัศน์
ประวัติ
มนุษยชาติทั่วโลกต่างก็ได้สร้างสวนมานานนับสหัสวรรษ และสวนสวรรค์เปอร์เซีย สวนสวรรค์เหล่านี้นับเป็นตัวอย่างของสวนประเพณีโบราณ สวนลอยบาบิโลนสร้างโดย ประมาณ 600 ปีก่อนคริสตกาล ในยุโรป เรนาซองส์ได้นำมาซึ่งยุคแห่งการออกแบบที่ยิ่งใหญ่ รวมทั้งสวนเพื่อความปีติต่างๆ เช่น วิลลา เดอเอสเต ที่ ทิโวลิ สวนเรนาซองส์ที่สร้างระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 16 และ 17 (พ.ศ. 2043-2243) ได้บรรลุถึงขีดสูงสุดแห่งความยิ่งใหญ่ ซึ่งเป็นผลงานของ อังเดร เลอ โนตร์ ณ วัว เลอ วิกกอง และ แวร์ซาย
ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 (ระหว่าง พ.ศ. 2244-2343) อังกฤษเริ่มเน้นสไตล์ใหม่ของ “สวนภูมิทัศน์” บุคคล เช่น วิลเลียม เคนท์ รวมทั้งโจเซฟ แพกซ์ตัน และผู้มีชื่อเสียงมากที่สุดอีกคนหนึ่งคือ ลานเซลอต บราวน์ “ผู้สามารถ” ได้แปรเปลี่ยนอุทยานคฤหาสที่ยิ่งใหญ่ของอังกฤษให้กลายเป็นธรรมชาติที่เรียบและสะอาดงดงาม อุทยานเหล่านี้ยังคงเหลือให้ชมในปัจจุบันหลายแห่ง คำว่าภูมิสถาปัตยกรรมในภาษาอังกฤษคือ “Landscape Architecture” ได้ถุกเรียกเป็นครั้งแรกโดยชาวสก็อตชื่อ ) มีสัน ในหนังสือชื่อเรื่อง ภูมิสถาปัตยกรรมแห่งจิตรกรรมอันยิ่งใหญ่แห่งอิตาลี (ลอนดอน พ.ศ. 2371) เป็นเรื่องเกี่ยวกับประเภทของสถาปัตยกรรมที่ปรากฏในภาพเขียนภูมิทัศน์ คำว่า “ภูมิสถาปัตยกรรม” ได้รับการตอบรับนำมาใช้ต่อมาโดย และ สำหรับประเทศไทยเริ่มใช้คำว่า "ภูมิสถาปัตยกรรม" ประมาณ พ.ศ. 2498 เมื่อเริ่มมีการเปิดสอนวิชานี้ในชั้นปีที่ 3 ของหลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตร์บัณฺฑิตในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยซึ่งเปิดสอนเป็นครั้งแรกโดยอาจารย์ ซึ่งจบปริญญาโทด้านภูมิสถาปัตยกรรมจากมหาวิทยาลัยคอร์เนลล์ สหรัฐอเมริกา
ล่วงสู่คริสต์ศตวรรษที่ 19 (พ.ศ. 2344-2443) การวางแผนชุมชนเมืองเริ่มมีบทบาทสำคัญโดยเป็นการผสมผสานระหว่างการวางแผนสมัยใหม่รวมกับสวนภูมิทัศน์ประเพณี ซึ่งทำให้ภูมิสถาปัตยกรรมกลายเป็นจุดรวมสำคัญที่มีลักษณะเฉพาะของตัวเองขึ้น ในช่วงครึ่งหลังของศตวรรษ เฟรเดอริก ลอว์ ออล์มสเตด ได้ออกแบบสวนสาธารณะหลายแห่งออกมาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นกลายเป็นผลที่มีอิทธิพลอย่างสำคัญต่อการปฏิบัติวิชาชีพภูมิสถาปัตยกรรมในยุคปัจจุบัน สวนสาธารณะดังกล่าวบางแห่งได้แก่ เซ็นทรัลปาร์ก ในนครนิวยอร์ก พรอสเป็กปาร์ก ใน และในนครบอสตัน ที่ได้ชื่อเรียกกันว่า ระบบสวนสาธารณะ “สร้อยหยกเขียว”
ภูมิสถาปัตยกรรมได้พัฒนาตัวเองมาเป็นสาขาวิชาชีพการออกแบบเฉพาะ ได้สนองตอบต่อขบวนการออกแบบและสถาปัตยกรรมตลอดช่วงเวลาในคริสต์ศตวรรษที่ 20 (พ.ศ. 2444-2543) ปัจจุบัน การค้นคิดสิ่งใหม่ๆ มีผลให้การแก้ปัญหาทางภูมิสถาปัตยกรรมในทางที่ก้าวหน้าขึ้นสำหรับในงานภูมิทัศน์ถนน สวนสาธารณะและอุทยาน ผลงานของ ในสหรัฐฯ และในยุโรป เช่น ชูเบิร์กปลิน ในรอตเตอร์ดาม เป็นตัวอย่างที่น่าสนใจ
ประวัติความเป็นมาของภูมิสถาปัตยกรรมในประเทศไทย
ประวัติความเป็นมาของภูมิสถาปัตยกรรมของประเทศไทยไม่เป็นที่ชัดเจนนัก อาจเป็นด้วยหลักฐานทั้งทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีถูกทำลายในในสงครามไทย-พม่าที่กรุงศรีอยุธยาโดยเฉพาะเมื่อ พ.ศ. 2310 ในศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหงสมัยสุโขทัยกล่าวไว้เพียงการปลูกต้นไม้เชิงเกษตรกรรมไว้เบื้องเหนือเบื้องใต้ มีกล่าวถึงตระพังหรือสวนน้ำไว้บ้างแต่ไม่พรรณนารูปแบบและความสวยงาม
บาทหลวงชาวฝรั่งเศสบันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับสวนในสมัยพระนารายณ์มหาราชไว้พอควร ว่ามีชาวต่างประเทศนำพรรณไม้แปลกๆ มาถวาย และทรงลงมือทำสวนด้วยพระองค์เองในพระราชวังลพบุรี ไม่กล่าวถึงรูปแบบและความสวยงามที่มีนัยสำคัญไว้เช่นกัน
สมัยต้นรัตนโกสินทร์มีการนำรูปแบบมาสร้างในพระบรมมหาราชวังและวัดสำคัญ เรียกว่า มีการสร้าง เริ่มมีการสร้างสวนเพื่อความปีติในสมัยรัชกาลที่ 5 เริ่มมีสวนและมีรูปแบบของสวนปรากฏชัดเจนขึ้น มีการนำรูปแบบสวนยุโรปซึ่งกำลังผ่านความรุ่งเรืองของยุคเรอเนสซองซ์ โดยมีนายช่างฝรั่งที่เข้ามารับราชการ เช่น นายเฮนรี อาลบาสเตอร์ หรือพระเศวตศิลา ต้นตระกูลเศวตศิลารวมทั้งคนอื่นๆ มาเป็นผู้ออกแบบและก่อสร้างสวนหลายแห่ง อุทยานสราญรมย์เป็นตัวอย่างสวนที่ยังหลงเหลือและได้รับการบูรณะให้สวยงามในปัจจุบัน
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวอาจเป็นผู้ให้กำเนิดการผังเมืองและภูมิสถาปัตยกรรมเป็นพระองค์แรกก็ว่าได้ ถึงระหว่าง พ.ศ. 2444-2452 เป็นข้อพิสูจน์ได้เป็นอย่างดีว่าพระองค์ทรงเชี่ยวชาญในงานทั้งสองสาขานี้อย่างไร ทรงรู้จักต้นไม้ พร้อมทั้งชื่อและอุปนิสัยพรรณไม้ต่างๆ ที่ใช้ปลูกทั้งในสวนและในเมืองนับได้เกือบร้อยชนิด
งานสวนและสถาปัตยกรรมที่ได้รับอิทธิพลยุโรปในรัชกาลที่ 4-5 ได้ต่อเนื่องมาถึงสมัยรัชกาลที่ 6 และ 7 เช่น วังฤดูร้อนต่างๆ เป็นต้นว่า พระราชวังบ้านปืน และพระราชนิเวศน์มฤคทายวัน เพชรบุรี พระราชวังสนามจันทร์ นครปฐมและวังไกลกังวล เป็นต้น รูปแบบของสวนไม่เป็นที่เด่นชัดว่ามีรูปแบบอย่างไร กล่าวกันว่าเป็นงานประกอบที่ทำโดยสถาปนิกชาวยุโรปผู้ออกแบบและก่อสร้างอาคาร ซึ่งอาจมีรูปแบบที่สวยงามแต่ได้ถูกแปรเปลี่ยนไปโดยกาลเวลา
สวนและงานภูมิสถาปัตยกรรมได้หยุดนิ่งมาตั้งแต่ยุคเศรษฐกิจโลกตกต่ำในปลายรัชกาลที่ 7 และเริ่มขยับตัวขึ้นใหม่ในสมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ที่เริ่มพัฒนาประเทศและสมัยเริ่มสงครามเวียดนาม การใช้ประเทศไทยเป็นฐานทัพแห่งหนึ่งของสหรัฐฯ ทำให้มีความต้องการบ้านเช่าที่มีสวน ต่างประเทศที่เข้ามาลงทุนสร้างโรงแรม เช่น โรงแรมสยามอินเตอร์คอนติเน็นตัล (ปัจจุบันถูกรื้อกลายเป็นศูนย์การค้าสยามพารากอน) และโครงการเงินกู้ได้เผยโฉมของภูมิสถาปัตยกรรมให้ปรากฏ ช่างจัดสวนไทยจึงได้เคยเห็นและรู้จักวิชาชีพภูมิสถาปัตยกรรมที่เป็นสากลเป็นครั้งแรก ในขณะเดียวกัน เทศบาลนครกรุงเทพ ก็ได้เริ่มรณรงค์จัดสวนตามมุมต่างๆ ของถนน เรียกว่า “” โดยเลียนแบบ “” ซึ่งเป็นที่นิยมมากในสมัยนั้น
การเร่งรัดพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะด้านการท่องเที่ยวและความเสื่อมโทรมของสภาพแวดล้อมที่จะต้องเร่งแก้ไขทำให้ภูมิสถาปัตยกรรมได้รับการยอมรับมากขึ้นในประเทศไทย
วิชาชีพภูมิสถาปัตยกรรม
ภูมิสถาปนิกถือว่าเป็นนักวิชาชีพในลักษณะเดียวกันกับแพทย์และนักกฎหมายเนื่องจากบุคคลเหล่านี้ จะต้องได้รับการศึกษาเป็นการพิเศษเฉพาะและจะต้องมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเช่นเดียวกับผู้ประกอบวิชาชีพอื่น
ในสหรัฐฯ และที่อื่นๆ การเข้าสู่สายวิชาชีพจะต้องผ่านการศึกษาเล่าเรียนขั้นสูง ผ่านการฝึกหัดงานและผ่านการสอบรับใบอนุญาต ทั้งนี้เพื่อเป็นการปกป้องประโยชน์แห่งสาธารณชนจากความเสียหายที่อาจได้รับจากผู้ไม่มีความรู้ความสามารถและไม่มี ผู้ปฏิบัติวิชาชีพภูมิสถาปัตยกรรมจะรวมตัวกันตั้งสมาคมวิชาชีพขึ้นเพื่อร่วมกันจรรโลงสาขาวิชาชีพแห่งตนให้เข้มแข็ง ในสหรัฐฯ คือสมาคมภูมิสถาปนิกอเมริกัน (American Society of Landscape Architects - ASLA) ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2442 นับเป็นสมาคมวิชาชีพภูมิสถาปัตยกรรมแห่งแรกของโลก
ประเทศไทยได้ก่อตั้ง “สมาคมภูมิสถาปนิกประเทศไทย” Thai Association of Landscape Architects-TALA เมื่อ พ.ศ. 2530 หลังสหรัฐฯ 88 ปี การควบคุมวิชาชีพกระทำโดยใช้กฎหมายบังคับให้ผู้ปฏิบัติวิชาชีพภูมิสถาปัตยกรรมต้องมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
อาจกล่าวได้วิชาชีพภูมิสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ในประเทศไทยที่มีการออกแบบเฉพาะโดยภูมิสถาปนิกโดยตรง และมีการแยกสัญญาจากงานสถาปัตยกรรมเริ่มเมื่อประมาณ พ.ศ. 2515 โดยข้อกำหนดของธนาคารโลกในโครงการเงินกู้เพื่อพัฒนาวิทยาเขตใหม่ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ที่บ่งให้ใช้ภูมิสถาปนิก
ปัจจุบัน ประเทศไทยมีสำนักงานภูมิสถาปนิกมากกว่า 30 แห่ง วิชาชีพภูมิสถาปัตยกรรมของประเทศไทยอยู่ภายใต้การควบคุมของสภาสถาปนิกตาม ซึ่งใช้แทนพระราชบัญญัติควบคุมวิชาชีพสถาปัตยกรรม พ.ศ. 2508
การศึกษาด้านภูมิสถาปัตยกรรม
สหรัฐอเมริกาเป็นประเทศแรกในโลกที่เปิดสอนวิชาภูมิสถาปัตยกรรมในระดับมหาวิทยาลัย โดยเปิดสอนระดับปริญญาตรี เมื่อ พ.ศ. 2443 ที่มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด รัฐแมสซาชูเซตส์ ปัจจุบันได้มีการเปิดสอนในเกือบทุกประเทศในโลก จากการสำรวจของ (IFLA) เมื่อ พ.ศ. 2547 พบว่ามีสถาบันระดับมหาวิทยาลัย 204 แห่งใน 43 ประเทศของโลก (ที่ส่งแบบสอบถามกลับ) [1] 2007-01-25 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน ที่เปิดสอนวิชาภูมิสถาปัตยกรรมระดับวิชาชีพปริญญาตรี โทและเอก รวมทั้งหลักสูตร 4 ปี (Pre-professional degree)
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้เปิดสอนวิชาภูมิสถาปัตยกรรมระดับปริญญาตรีหลักสูตร 5 ปีเป็นแห่งแรกในภูมิภาคตะวันออกเฉียงใต้ในปี พ.ศ. 2521 ปัจจุบัน ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรมในคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผลิตบัณฑิตออกไปรับใช้สังคมแล้วมากกว่า 25 รุ่น หรือประมาณ 500 คน ต่อมาได้มีการเปิดสอนที่คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่ ในปี พ.ศ. 2538 และที่คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เปิดสอนระดับปริญญาตรีวิชาชีพหลักสูตร 5 ปีเช่นกัน นอกจากนี้ยังมีการเปิดสอนระดับปริญญาโทเพิ่มขึ้นที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
หลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรมศาสตร์บัณฑิต (ภูมิสถาปัตยกรรม) ปัจจุบันคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้เปิดหลักสูตรด้านภูมิสถาปัตยกรรมในระดับปริญญาตรีหลักสูตร 4 ปี เป็นที่แรกของประเทศไทยแล้วเพื่อเพิ่มทางเลือกทางการศึกษาสาขานี้ให้มีความหลากหลายขึ้น โดยจะเปิดรับนักศึกษาในปีการศึกษา พ.ศ. 2550 เป็นปีแรก
ในปีการศึกษา 2557 สาขาวิชาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ได้ทำการเปิดหลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต (ภ.สถ.บ.) ระดับปริญญาตรีวิชาชีพหลักสูตร 5 ปี เป็นรุ่นแรก ซึ่งจะเป็นอีกทางเลือกหนึ่งสำหรับผู้ที่สนใจเข้าศึกษาในศาสตร์ด้านภูมิสถาปัตยกรรม
ในปีการศึกษา 2563 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ได้เปิดหลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต (ภ.สถ.บ.) หลักสูตรนานาชาติ ในระดับปริญญาตรีวิชาชีพหลักสูตร 5 ปี ซึ่งถือว่าเป็นมหาวิทยาลัยแห่งเดียวในประเทศไทย ที่เปิดสอนสาขาภูมิสถาปัตยกรรมเป็นหลักสูตรนานาชาติอีกด้วย
อ้างอิง
- Guide to International Opportunities in landscape Archiecture Education and Internship: editor, Annaliese Bischoff. 2007-01-25 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
ดูเพิ่ม
แหล่งข้อมูลอื่น
- TALA 2009-02-15 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน สมาคมภูมิสถาปนิกประเทศไทย
- เว็บไซต์ทางการของสหพันธ์ภูมิสถาปนิกนานาชาติ (IFLA) 2006-09-29 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir phumisthaptykrrm xngkvs landscape architecture xanxxkesiyngwa phu mi sa tha pd ta ya km epnsilpaaelawithyasastrwadwykarxxkaebbwangaephn karxnurksaelacdkarphunthiichsxyphaynxkxakhar rwmthngphunthibangswnphayinhruxbndadfaxakharephuxkhwamphasuk swsdiphaphaelakhwamplxdphykhxngprachachneruxnsminphrarachwngaewrsaynlksnaodyrwmngankhxngphumisthapnikxackhrxbkhlumtngaetkarsrrkhsrangswnsatharnaaelathnnxuthyanipcnthungkarwangphngbriewnklumxakharsankngan cakkarxxkaebbthiphkxasyipcnthungkarxxkaebbokhrngsrangphunthankhxngemuxngaelakarcdkarphunthithrrmchatikhnadihy hruxkarfunfuphumithsnthiesiyhay echn ehmuxngaereka briewnfngklbkhya phumisthaptykrrmthbsxnkbkarcdswn kcring aetcaepnnganwichachiphthimipccyphicarnainkarxxkaebbaelamikhxbekhtkwangkhwangkwa phumisthapnikthanganinphunthiphaynxkxakharekuxbthukchnidaelaphunbangswnphayinhruxbndadfaxakhar thngihyaelaelk inemuxngaelachnbth thngdwywsdu aekhng hardscape num softscape phumisthapnikthangankhrxbkhlum rupthrng khnadswnaelakarwangphngokhrngkarihm nganthiphkxasyswnbukhkhl tamkdhmaypraethsithysamarthxxkaebbthixyuxasyidimekin 3 chn ngansatharna karxxkaebbphngbriewnorngeriyn mhawithyalyaelaorngaerm swnsatharna snamkxlf swnsnukaelasnamelnkilatang briewnokhrngkarekhha nikhmxutsahkrrmaelaokhrngkarechingkarkha thanghlwng okhrngsrangthangkarkhnsng saphanaelathangphan lanemuxngaelalanchumchnaelarabbthangedinetha okhrngkarfunfuchumchnemuxngkhnadelkaelaihy pa aehlngthxngethiyw phumithsnprawtisastr aelakarpraeminthangphumithsnhruxkarsuksadankarxnurks phumithsnwthnthrrm Cultural Landscape xangekbna ekhuxn sthaniiffa bxkhudwsduthangxutsahkrrmhruxokhrngkarthangxutsahkrrmkhnadihy rwmthngbriewnbrikarnkthxngethiywinxuthyanaehngchati karpraeminsphaphaewdlxm karihkhapruksanganwangaephnphumithsnaelakarthakhxesnxinkarcdkarphunaephndin okhrngkarphthnaphunthichayfngaelaekaa khunkhathisakhythisudkhxngphumisthaptykrrmmkekidkhuninchwngaerkkhxngkarwangphngaembthokhrngkar chwngthixyuinrahwangkarradmkhwamkhidinkarklnkrxngsingthidithisudekiywkbkarsrangsrrkhkarichsxyphunthi phumisthapniksamarthihaenwkhidrwmaelacdetriymphnghlkebuxngtnthiaesdngihehnraylaexiydidchdecnaelangaythicaekhaicinkhntx ma phumisthapniksamarthcdthaaebbkxsrangprakxbsyyacang cdthakarsuksaphlkrathbsingaewdlxm ihkhapruksa epnphyanphuchanaykarindankarichthidinechingniews nxkcakniphumisthapnikyngsamarthcdetriymexksaribsmkhrephuxkarcdhaaehlngenginlngthunsahrbokhrngkardwykhwamchanayechphaainnganphumisthaptykrrmnkxxkaebbphumisthaptykrrmaela ekiywkhxngkbkarcdkarthrphyakrthangkayphaphthimixyu aelathimikhwamsmphnthkbxngkhprakxbthangkayphaphthimnusysrangsrrkhkhun epnphuwangaephnphng kahndcdwang khadkarnkarichnganxyangepnehtu phl epnphuthirusungthungkhwamsmphnrahwangkarcdwangxngkhprakxbthangthrrmchatiaelakickrrmihekidpraoychn mikhwamehmaasm thngruthrngkhxngphunthi thiwang tlxdcnrksaiwsungsingaewdlxmthidi sungrwmipthungnganphumithsnxxn nganphuchphrrn echn karxxkaebbpluktnim aelakarsrrkhsrangphunthisiekhiywklangaecngthukpraephth bukhkhlehlanithanganphakhrththnginswnklangaelaswnthxngthin bangkhnxacthanganphakhexkchnhruxthanganxisra rbepnthipruksaswnrachkar xutsahkrrm phanichkrrmaelaexkchnraybukhkhl phucdkarphumithsn ichkhwamrudanwsduphuchphrrnaelasingaewdlxmthrrmchatiinkarihkhaaenanainkarduaelrksarayayawaelainkarphthnaphumithsn bukhkhlehlanithanganekiywkbphuchswn karcdkarsthanthi pa karxnurksthrrmchatiaelaekstrkrrm nkwithyasastrphumithsn mithksaphiessechn xuthkwithya hruxphvkssastrthimiswnekiywkhxnginkaraekpyhainnganphumithsn ngankhxngbukhkhlehlanixaciltngaetkarsarwcbriewnipcnthungkarpraeminsingaewdlxmkhxngbriewnkhnadihyephuxkarwangaephnhruxkarcdkar aelaxactharaynganphlkrathbinokhrngkarphthnahruxinkhwamsakhyechphaakhxngphrrnimhruxstwbangchnidinphunthi nkwangaephnphumithsn ekiywkhxngaeladuaelindantaaehnngthitng wiwthiwthsn niewswithyaaelakarichthidininechingnnthnakarkhxngemuxng chnbth aela nganthibukhkhlklumnitharwmthungkarekhiynrayngandannoybayaelayuththwithi aelalngthaydwykarsngphngrwmsahrbkarphthnaokhrngkarihm karpraeminaelaaelapramankhaphrxmthngkarcdthaaephnkarcdkarephuxnaipichinkarthaaephnnoybay bangkhnxacmisrangsmkhwamchanayechphaaephimetim echn nganphumithsnobrankhdi hruxkdhmaythiekiywkhxngkbphumithsnprawtimnusychatithwolktangkidsrangswnmanannbshswrrs aelaswnswrrkhepxresiy swnswrrkhehlaninbepntwxyangkhxngswnpraephniobran swnlxybabiolnsrangody praman 600 pikxnkhristkal inyuorp ernasxngsidnamasungyukhaehngkarxxkaebbthiyingihy rwmthngswnephuxkhwampititang echn willa edxexset thi thiowli swnernasxngsthisrangrahwangkhriststwrrsthi 16 aela 17 ph s 2043 2243 idbrrluthungkhidsungsudaehngkhwamyingihy sungepnphlngankhxng xngedr elx ontr n ww elx wikkxng aela aewrsay inkhriststwrrsthi 18 rahwang ph s 2244 2343 xngkvserimennsitlihmkhxng swnphumithsn bukhkhl echn wileliym ekhnth rwmthngocesf aephkstn aelaphumichuxesiyngmakthisudxikkhnhnungkhux laneslxt brawn phusamarth idaeprepliynxuthyankhvhasthiyingihykhxngxngkvsihklayepnthrrmchatithieriybaelasaxadngdngam xuthyanehlaniyngkhngehluxihchminpccubnhlayaehng khawaphumisthaptykrrminphasaxngkvskhux Landscape Architecture idthukeriykepnkhrngaerkodychawskxtchux misn inhnngsuxchuxeruxng phumisthaptykrrmaehngcitrkrrmxnyingihyaehngxitali lxndxn ph s 2371 epneruxngekiywkbpraephthkhxngsthaptykrrmthipraktinphaphekhiynphumithsn khawa phumisthaptykrrm idrbkartxbrbnamaichtxmaody aela sahrbpraethsithyerimichkhawa phumisthaptykrrm praman ph s 2498 emuxerimmikarepidsxnwichaniinchnpithi 3 khxnghlksutrsthaptykrrmsastrbn thitinculalngkrnmhawithyalysungepidsxnepnkhrngaerkodyxacary sungcbpriyyaothdanphumisthaptykrrmcakmhawithyalykhxrenll shrthxemrika lwngsukhriststwrrsthi 19 ph s 2344 2443 karwangaephnchumchnemuxngerimmibthbathsakhyodyepnkarphsmphsanrahwangkarwangaephnsmyihmrwmkbswnphumithsnpraephni sungthaihphumisthaptykrrmklayepncudrwmsakhythimilksnaechphaakhxngtwexngkhun inchwngkhrunghlngkhxngstwrrs efredxrik lxw xxlmsetd idxxkaebbswnsatharnahlayaehngxxkmaxyangtxenuxng sungepnklayepnphlthimixiththiphlxyangsakhytxkarptibtiwichachiphphumisthaptykrrminyukhpccubn swnsatharnadngklawbangaehngidaek esnthrlpark innkhrniwyxrk phrxsepkpark in aelainnkhrbxstn thiidchuxeriykknwa rabbswnsatharna srxyhykekhiyw phumisthaptykrrmidphthnatwexngmaepnsakhawichachiphkarxxkaebbechphaa idsnxngtxbtxkhbwnkarxxkaebbaelasthaptykrrmtlxdchwngewlainkhriststwrrsthi 20 ph s 2444 2543 pccubn karkhnkhidsingihm miphlihkaraekpyhathangphumisthaptykrrminthangthikawhnakhunsahrbinnganphumithsnthnn swnsatharnaaelaxuthyan phlngankhxng inshrth aelainyuorp echn chuebirkplin inrxtetxrdam epntwxyangthinasnic prawtikhwamepnmakhxngphumisthaptykrrminpraethsithy prawtikhwamepnmakhxngphumisthaptykrrmkhxngpraethsithyimepnthichdecnnk xacepndwyhlkthanthngthangprawtisastraelaobrankhdithukthalayininsngkhramithy phmathikrungsrixyuthyaodyechphaaemux ph s 2310 insilacarukphxkhunramkhaaehngsmysuokhthyklawiwephiyngkarpluktnimechingekstrkrrmiwebuxngehnuxebuxngit miklawthungtraphnghruxswnnaiwbangaetimphrrnnarupaebbaelakhwamswyngam bathhlwngchawfrngessbnthukeruxngrawekiywkbswninsmyphranaraynmharachiwphxkhwr wamichawtangpraethsnaphrrnimaeplk mathway aelathrnglngmuxthaswndwyphraxngkhexnginphrarachwnglphburi imklawthungrupaebbaelakhwamswyngamthiminysakhyiwechnkn smytnrtnoksinthrmikarnarupaebbmasranginphrabrmmharachwngaelawdsakhy eriykwa mikarsrang erimmikarsrangswnephuxkhwampitiinsmyrchkalthi 5 erimmiswnaelamirupaebbkhxngswnpraktchdecnkhun mikarnarupaebbswnyuorpsungkalngphankhwamrungeruxngkhxngyukherxenssxngs odyminaychangfrngthiekhamarbrachkar echn nayehnri xalbasetxr hruxphraeswtsila tntrakuleswtsilarwmthngkhnxun maepnphuxxkaebbaelakxsrangswnhlayaehng xuthyansrayrmyepntwxyangswnthiynghlngehluxaelaidrbkarburnaihswyngaminpccubn phrabathsmedcphraculcxmeklaecaxyuhwxacepnphuihkaenidkarphngemuxngaelaphumisthaptykrrmepnphraxngkhaerkkwaid thungrahwang ph s 2444 2452 epnkhxphisucnidepnxyangdiwaphraxngkhthrngechiywchayinnganthngsxngsakhanixyangir thrngrucktnim phrxmthngchuxaelaxupnisyphrrnimtang thiichplukthnginswnaelainemuxngnbidekuxbrxychnid nganswnaelasthaptykrrmthiidrbxiththiphlyuorpinrchkalthi 4 5 idtxenuxngmathungsmyrchkalthi 6 aela 7 echn wngvdurxntang epntnwa phrarachwngbanpun aelaphrarachniewsnmvkhthaywn ephchrburi phrarachwngsnamcnthr nkhrpthmaelawngiklkngwl epntn rupaebbkhxngswnimepnthiednchdwamirupaebbxyangir klawknwaepnnganprakxbthithaodysthapnikchawyuorpphuxxkaebbaelakxsrangxakhar sungxacmirupaebbthiswyngamaetidthukaeprepliynipodykalewla swnaelanganphumisthaptykrrmidhyudningmatngaetyukhesrsthkicolktktainplayrchkalthi 7 aelaerimkhybtwkhunihminsmycxmphlsvsdi thnarchtthierimphthnapraethsaelasmyerimsngkhramewiydnam karichpraethsithyepnthanthphaehnghnungkhxngshrth thaihmikhwamtxngkarbanechathimiswn tangpraethsthiekhamalngthunsrangorngaerm echn orngaermsyamxinetxrkhxntienntl pccubnthukruxklayepnsunykarkhasyampharakxn aelaokhrngkarenginkuidephyochmkhxngphumisthaptykrrmihprakt changcdswnithycungidekhyehnaelaruckwichachiphphumisthaptykrrmthiepnsaklepnkhrngaerk inkhnaediywkn ethsbalnkhrkrungethph kiderimrnrngkhcdswntammumtang khxngthnn eriykwa odyeliynaebb sungepnthiniymmakinsmynn karerngrdphthnapraeths odyechphaadankarthxngethiywaelakhwamesuxmothrmkhxngsphaphaewdlxmthicatxngerngaekikhthaihphumisthaptykrrmidrbkaryxmrbmakkhuninpraethsithywichachiphphumisthaptykrrmphumisthapnikthuxwaepnnkwichachiphinlksnaediywknkbaephthyaelankkdhmayenuxngcakbukhkhlehlani catxngidrbkarsuksaepnkarphiessechphaaaelacatxngmiibxnuyatprakxbwichachiphechnediywkbphuprakxbwichachiphxun inshrth aelathixun karekhasusaywichachiphcatxngphankarsuksaelaeriynkhnsung phankarfukhdnganaelaphankarsxbrbibxnuyat thngniephuxepnkarpkpxngpraoychnaehngsatharnchncakkhwamesiyhaythixacidrbcakphuimmikhwamrukhwamsamarthaelaimmi phuptibtiwichachiphphumisthaptykrrmcarwmtwkntngsmakhmwichachiphkhunephuxrwmkncrrolngsakhawichachiphaehngtnihekhmaekhng inshrth khuxsmakhmphumisthapnikxemrikn American Society of Landscape Architects ASLA kxtngemux ph s 2442 nbepnsmakhmwichachiphphumisthaptykrrmaehngaerkkhxngolk praethsithyidkxtng smakhmphumisthapnikpraethsithy Thai Association of Landscape Architects TALA emux ph s 2530 hlngshrth 88 pi karkhwbkhumwichachiphkrathaodyichkdhmaybngkhbihphuptibtiwichachiphphumisthaptykrrmtxngmiibxnuyatprakxbwichachiph xacklawidwichachiphphumisthaptykrrmsmyihminpraethsithythimikarxxkaebbechphaaodyphumisthapnikodytrng aelamikaraeyksyyacakngansthaptykrrmerimemuxpraman ph s 2515 odykhxkahndkhxngthnakharolkinokhrngkarenginkuephuxphthnawithyaekhtihmkhxngmhawithyalyekstrsastrthibngihichphumisthapnik pccubn praethsithymisanknganphumisthapnikmakkwa 30 aehng wichachiphphumisthaptykrrmkhxngpraethsithyxyuphayitkarkhwbkhumkhxngsphasthapniktam sungichaethnphrarachbyytikhwbkhumwichachiphsthaptykrrm ph s 2508karsuksadanphumisthaptykrrmshrthxemrikaepnpraethsaerkinolkthiepidsxnwichaphumisthaptykrrminradbmhawithyaly odyepidsxnradbpriyyatri emux ph s 2443 thimhawithyalyharward rthaemssachuests pccubnidmikarepidsxninekuxbthukpraethsinolk cakkarsarwckhxng IFLA emux ph s 2547 phbwamisthabnradbmhawithyaly 204 aehngin 43 praethskhxngolk thisngaebbsxbthamklb 1 2007 01 25 thi ewyaebkaemchchin thiepidsxnwichaphumisthaptykrrmradbwichachiphpriyyatri othaelaexk rwmthnghlksutr 4 pi Pre professional degree culalngkrnmhawithyalyidepidsxnwichaphumisthaptykrrmradbpriyyatrihlksutr 5 piepnaehngaerkinphumiphakhtawnxxkechiyngitinpi ph s 2521 pccubn phakhwichaphumisthaptykrrminkhnasthaptykrrmsastr culalngkrnmhawithyaly phlitbnthitxxkiprbichsngkhmaelwmakkwa 25 run hruxpraman 500 khn txmaidmikarepidsxnthikhnasthaptykrrmsastr aelakarxxkaebbsingaewdlxm mhawithyalyaemoc cnghwdechiyngihm inpi ph s 2538 aelathikhnasthaptykrrmsastr mhawithyalyekstrsastrepidsxnradbpriyyatriwichachiphhlksutr 5 piechnkn nxkcakniyngmikarepidsxnradbpriyyaothephimkhunthiculalngkrnmhawithyalyaelamhawithyalyekstrsastr hlksutrphumisthaptykrrmsastrbnthit phumisthaptykrrm pccubnkhnasthaptykrrmsastraelakarphngemuxng mhawithyalythrrmsastridepidhlksutrdanphumisthaptykrrminradbpriyyatrihlksutr 4 pi epnthiaerkkhxngpraethsithyaelwephuxephimthangeluxkthangkarsuksasakhaniihmikhwamhlakhlaykhun odycaepidrbnksuksainpikarsuksa ph s 2550 epnpiaerk inpikarsuksa 2557 sakhawichasthaptykrrmaelakarwangaephn khnasthaptykrrmsastr sthabnethkhonolyiphracxmeklaecakhunthharladkrabng idthakarepidhlksutrphumisthaptykrrmsastrbnthit ph sth b radbpriyyatriwichachiphhlksutr 5 pi epnrunaerk sungcaepnxikthangeluxkhnungsahrbphuthisnicekhasuksainsastrdanphumisthaptykrrm inpikarsuksa 2563 mhawithyalyethkhonolyiphracxmeklathnburi idepidhlksutrphumisthaptykrrmsastrbnthit ph sth b hlksutrnanachati inradbpriyyatriwichachiphhlksutr 5 pi sungthuxwaepnmhawithyalyaehngediywinpraethsithy thiepidsxnsakhaphumisthaptykrrmepnhlksutrnanachatixikdwyxangxingGuide to International Opportunities in landscape Archiecture Education and Internship editor Annaliese Bischoff 2007 01 25 thi ewyaebkaemchchinduephimphakhwichaphumisthaptykrrm singkxsrangtkaetng nganphumithsnaehlngkhxmulxunTALA 2009 02 15 thi ewyaebkaemchchin smakhmphumisthapnikpraethsithy ewbistthangkarkhxngshphnthphumisthapniknanachati IFLA 2006 09 29 thi ewyaebkaemchchin