ศาสตราจารย์เกียรติคุณ สกล พันธุ์ยิ้ม (เกิด 31 มีนาคม พ.ศ. 2486 - 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2563) เกิดที่อำเภอป่าโมก จังหวัดอ่างทอง เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวไทย ที่มีผลงานวิจัยดีเด่นในสาขาชีวเคมี อณูชีววิทยา พันธุศาสตร์ และพันธุวิศวกรรม เป็นเจ้าของรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทย สาขาชีวเคมี ประจำปี พ.ศ. 2528 และรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช ประจำปี พ.ศ. 2549 เป็นนักวิจัยในกลุ่มพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรมผลิตกุ้งกุลาดำ ที่ได้รับรางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่น ของมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ ประจำปี 2546 เป็นนักวิจัยของประเทศไทยที่ตีพิมพ์บทความซึ่งมีความถี่ของการอ้างอิงมากที่สุด จากผลงานวิจัยเรื่อง High Resolution Arylamide Gel Electrophoresis of Histones ตีพิมพ์ในวารสาร Archives of Biochemistry and Biophysics 130: 337-346 (1969) และได้รับการอ้างอิงสูงสุดมากกว่า 3,500 ครั้ง จัดเป็นบทความ Citation Classic จนได้รับรางวัลผลงานวิจัยเกียรติยศ สกว. เมื่อปี พ.ศ. 2542 อดีตศาสตราจารย์เกียรติคุณ สกล พันธุ์ยิ้ม เป็นอาจารย์อยู่ที่ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ประวัติ
ศาสตราจารย์ สกล พันธุ์ยิ้ม หรือ ศาสตราจารย์ ดร.สกล พันธุ์ยิ้ม เป็นบุตรคนที่ 4 ในจำนวน 6 คน ของนายเจริญ และนางสอาด พันธุ์ยิ้ม สมรสกับนางพูนพันธ์ (อัตตะนันทน์) ธิดาของจอมพลเกรียงไกร อัตตะนันทน์ และคุณหญิงกานดา อัตตะนันทน์ มีบุตร 3 คน คือ นายธีรธร นายก่อพร และ นายธัชทร พันธุ์ยิ้ม
ประวัติการศึกษา
- ประถมศึกษาจากโรงเรียนวัดป่าโมกข์ อำเภอป่าโมกจังหวัดอ่างทอง
- มัธยมต้นจาก โรงเรียนปาโมกข์วิทยาภูมิ
- มัธยมปลายจาก โรงเรียนเทพศิรินทร์ และโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
- หลังจากเข้าศึกษาเตรียมแพทยศาสตร์ อยู่ 2 ปี ได้รับทุนรัฐบาลไทย (ก.พ.) ไปศึกษา ณ สหรัฐอเมริกา
- พ.ศ. 2510 - ปริญญาตรี สาขาชีวเคมี จากมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ เมืองเบิร์กลีย์ สหรัฐอเมริกา
- พ.ศ. 2514 - ปริญญาเอก สาขาชีวเคมี จากมหาวิทยาลัยไอโอวา เมืองไอโอวาซิตี สหรัฐอเมริกา
- พ.ศ. 2544 - ปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาชีวเคมี จากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ประวัติการทำงาน
ตำแหน่งวิชาการ
- พ.ศ. 2514–2517 - อาจารย์โท คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
- พ.ศ. 2518–2520 - ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
- พ.ศ. 2521–2535 - รองศาสตราจารย์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
- พ.ศ. 2535–2538 - ศาสตราจารย์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
- พ.ศ. 2538–2563 - ศาสตราจารย์ ระดับ 11 คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ตำแหน่งบริหาร
- พ.ศ. 2527–2531 - หัวหน้าภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
- พ.ศ. 2532–2537 - รองผู้อำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหิดล
- พ.ศ. 2528–2542 - หัวหน้าหน่วยปฏิบัติการพันธุวิศวกรรมด้านจุลินทรีย์ กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
- พ.ศ. 2537–2541 - ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหิดล
- พ.ศ. 2541–2546 - ผู้อำนวยการสถาบันอณูชีววิทยาและพันธุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ตำแหน่งในสมาคมและองค์กรต่างๆ
- พ.ศ. 2529–2536 - กรรมการบริหารสมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย
- พ.ศ. 2533–2563 - คณะกรรมการบรรณาธิการวารสาร Southeast Asian Journal of Tropical Medicine and Public Health
- พ.ศ. 2535–2563 - คณะกรรมการบรรณาธิการวารสาร Asia–Pacific Journal of Molecular Biology and Biotechnology
- พ.ศ. 2538-2543 - ประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตรปริญญาโทและปริญญาเอก สาขาอณูพันธุศาสตร์และพันธุวิศวกรรมศาสตร์ (หลักสูตรนานาชาติ)
- พ.ศ. 2543–2545 - กรรมการสภาวิจัยแห่งชาติ สาขาเคมีและเภสัช
- พ.ศ. 2543–2546 - หัวหน้าโครงการพัฒนาบุคลากรด้านพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพ สวทช.
- พ.ศ. 2543–2546 - ประธานคณะอนุกรรมการเพื่อความปลอดภัยทางชีวภาพด้านจุลินทรีย์ ศูนย์ความหลากหลายทางชีวภาพ สวทช.
- พ.ศ. 2546–2563 - ที่ปรึกษาคณะอนุกรรมการเพื่อความปลอดภัยทางชีวภาพด้านจุลินทรีย์ ศูนย์ความหลากหลายทางชีวภาพ สวทช.
- พ.ศ. 2546-2563 - อ.ก.ม. วิสามัญเกี่ยวกับการพัฒนาศักยภาพคณาจารย์ในการทำวิจัย สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
- พ.ศ. 2546–2563 - ที่ปรึกษาสถาบันอณูชีววิทยาและพันธุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
- พ.ศ. 2545–2563 - ที่ปรึกษาคณะกรรมการบริหารหลักสูตรปริญญาโท-ปริญญาเอก สาขาอณูพันธุศาสตร์และพันธุวิศวกรรมศาสตร์ (หลักสูตรนานาชาติ)
- ได้รับเชิญเป็นวิทยากรพิเศษใน Gordon Research Conference ประเทศสหรัฐอเมริกา
- ได้รับเชิญเป็นกรรมการบริหารโครงการ Human Genome Project ของ UNESCO
เกียรติคุณและรางวัล
- พ.ศ. 2528 - ได้รับรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น สาขาชีวเคมี
- พ.ศ. 2539 - ได้รับรางวัลผลงานประดิษฐ์คิดค้น รางวัลที่ 1 ประเภททั่วไป ของสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ จากผลงานเรื่อง "ชุดตรวจหาเชื้อมาลาเรียด้วยเทคนิคดีเอ็นเอ"
- พ.ศ. 2539 - เมธีวิจัยอาวุโส สกว. สาขาชีวเคมี
- พ.ศ. 2543 - เมธีวิจัยอาวุโส สกว. สาขาอณูชีววิทยา
- พ.ศ. 2542 - รางวัลผลงานวิจัยตีพิมพ์ที่ได้รับการอ้างอิงสูงสุดในประเทศไทย จากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
- พ.ศ. 2545 - รางวัล TTF AWARD สาขาวิทยาศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และ
- พ.ศ. 2546 - เมธีวิจัยอาวุโส สกว. ระยะที่สอง สาขาอณูชีววิทยา
- พ.ศ. 2546 - รางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่น จากมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์
- พ.ศ. 2546 - รางวัลมหิดลทยากร จากสมาคมศิษย์เก่าบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล
- พ.ศ. 2547 - รางวัลศิษย์เก่าดีเด่น คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
- พ.ศ. 2549 - รางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช จากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
ผลงานวิจัย
- ศาสตราจารย์ ดร. สกล พันธุ์ยิ้ม ได้ทำการวิจัยด้านอณูชีววิทยา โดยมีผลงานเรื่อง การศึกษาโปรตีน histones และการหาวิธีจำแนกโปรตีนเหล่านี้ออกเป็น 5 ชนิดได้ด้วยการแยกโดยกระแสไฟฟ้า เป็นผลงานเด่นที่มีผู้นำไปใช้อ้างอิงมากกว่า 2,558 ครั้ง * ศาสตราจารย์ ดร. สกล พันธุ์ยิ้ม มีผลงานตีพิมพ์ในวารสารนานาชาติ 167 เรื่อง โดยมีผู้นำไปอ้างอิงในวารสารวิชาการระดับนานาชาติมากกว่า 4,673 ครั้ง
- ได้ศึกษาหาวิธีการจำแนกความหลายหลายของยุงก้นปล่องโดย DNA probe โดยการใช้วิธีการทางพันธุวิศวกรรม และพัฒนาขึ้นเป็น DNA probe สำหรับการตรวจหาและจำแนกสปีซีส์ของยุงก้นปล่อง โดยสามารถตรวจหาได้จากชิ้นส่วนของยุงหรือลูกน้ำ
- การค้นพบวิธีการตรวจหาเชื้อมาลาเรียจากเลือด โดยการตรวจสอบ DNA
- การศึกษายีนฆ่าลุกน้ำยุงจากแบคทีเรีย Bacillus thuringiensis ซึ่งฆ่าลูกน้ำยุงอย่างจำเพาะโดยไม่เป็นอันตรายต่อคนและสัตว์
- การแยกและเพิ่มปริมาณของยีนสร้าง growth hormone เพื่อเร่งการเจริญเติบโตของปลาบึก
- มีผลงานร่วมวิจัยศึกษาวิธีการสร้างลายพิมพ์ DNA ในคนและแบคทีเรีย จนได้วิธีจำแนกบุคคลจากลักษณะลายพิมพ์ DNA
- การศึกษาอณูชีววิทยาของไวรัส ที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ ได้แก่ไวรัสหัวเหลือง และไวรัสตัวแดงจุดขาว ซึ่งก่อโรคสำคัญในกุ้งกุลาดำ โดยศึกษาสารพันธุกรรมของไวรัส การบุกรุกเซลล์กุ้งของไวรัส การเพิ่มจำนวนไวรัสในเซลล์กุ้ง และการตอบสนองของเซลล์กุ้งต่อการบุกรุกของไวรัส เป็นองค์ความรู้ใหม่ที่จะช่วยสร้างความเข้าใจการติดเชื้อไวรัสของกุ้ง และการพัฒนาการเพาะเลี้ยงกุ้งปราศจากเชื้อไวรัสในอนาคต
- การศึกษาไวรัสในมะละกอ (Papaya Ringspot Virus) ศึกษากลไกการเกิดความสามารถต้านทานไวรัส เพื่อส่งเสริมการเพาะปลูกมะละกอที่ปราศจากโรคไวรัสในอนาคต
- การพัฒนาเทคโนโลยี SiRNA (small interference RNA) สำหรับเป็นวัคซีนป้องกันโรคไวรัสในกุ้ง เพื่อประโยชน์ในอุตสาหกรรมเพาะเลี้ยงกุ้ง ป้องกันการเสียหายจากโรคไวรัสหัวเหลืองและโรคตัวแดงจุดขาว นอกจากนี้เทคโนโลยี SiRNA อาจจะพัฒนาขึ้นเป็นวัคซีนป้องกันไวรัสในสัตว์เศรษฐกิจอื่นๆ ด้วย เช่น โรคปากเท้าเปื่อยในวัว ควาย โรคท้องร่วงในสุกร โรคไวรัสหวัดในไก่ เป็นต้น
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
- พ.ศ. 2540 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นสูงสุด มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)
- พ.ศ. 2537 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นสูงสุด มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.)
- พ.ศ. 2550 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ ชั้นที่ 4 จตุตถดิเรกคุณาภรณ์ (จ.ภ.)
- พ.ศ. 2551 – เหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา (ร.ด.ม.(ศ)) สาขาวิทยาศาสตร์
- พ.ศ. 2539 – เหรียญจักรพรรดิมาลา (ร.จ.พ.)
อ้างอิง
- ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ 2015-09-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๑๔ ตอนที่ ๒๗ ข หน้า ๗, ๓ ธันวาคม ๒๕๔๐
- ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ 2007-01-08 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๑๑ ตอนที่ ๒๑ ข หน้า ๑๓, ๓ ธันวาคม ๒๕๓๗
- ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ ประจำปี ๒๕๕๐, เล่ม ๑๒๕ ตอนที่ ๒ ข หน้า ๑๒๑, ๗ มกราคม ๒๕๕๑
- ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา ประจำปี ๒๕๕๑ 2018-02-08 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๒๖ ตอนที่ ๙ ข หน้า ๑๒๖, ๑๐ มิถุนายน ๒๕๕๒
- ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญจักรมาลาและเหรียญจักรพรรดิมาลา, เล่ม ๑๑๓ ตอนที่ ๒๕ ข หน้า ๖๖๙, ๒๕ ธันวาคม ๒๕๓๙
แหล่งข้อมูลอื่น
- เมธีวิจัยอาวุโส สกว. 2546. กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2546.
- เมธีวิจัยอาวุโส สกว. 2543. TRF Senior Research Scholar 2000. กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2543.
- รวมงานวิจัยและผลงานตีพิมพ์
ดูเพิ่ม
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
sastracaryekiyrtikhun skl phnthuyim ekid 31 minakhm ph s 2486 27 krkdakhm ph s 2563 ekidthixaephxpaomk cnghwdxangthxng epnnkwithyasastrchawithy thimiphlnganwicydiedninsakhachiwekhmi xnuchiwwithya phnthusastr aelaphnthuwiswkrrm epnecakhxngrangwlnkwithyasastrdiednkhxngithy sakhachiwekhmi pracapi ph s 2528 aelarangwlnkwicydiednaehngchati sakhawithyasastrekhmiaelaephsch pracapi ph s 2549 epnnkwicyinklumphthnaethkhonolyiephuxxutsahkrrmphlitkungkulada thiidrbrangwlnkethkhonolyidiedn khxngmulnithisngesrimwithyasastraelaethkhonolyiinphrabrmrachupthmph pracapi 2546 epnnkwicykhxngpraethsithythitiphimphbthkhwamsungmikhwamthikhxngkarxangxingmakthisud cakphlnganwicyeruxng High Resolution Arylamide Gel Electrophoresis of Histones tiphimphinwarsar Archives of Biochemistry and Biophysics 130 337 346 1969 aelaidrbkarxangxingsungsudmakkwa 3 500 khrng cdepnbthkhwam Citation Classic cnidrbrangwlphlnganwicyekiyrtiys skw emuxpi ph s 2542 xditsastracaryekiyrtikhun skl phnthuyim epnxacaryxyuthi khnawithyasastr mhawithyalymhidlprawtisastracary skl phnthuyim hrux sastracary dr skl phnthuyim epnbutrkhnthi 4 incanwn 6 khn khxngnayecriy aelanangsxad phnthuyim smrskbnangphunphnth xttannthn thidakhxngcxmphlekriyngikr xttannthn aelakhunhyingkanda xttannthn mibutr 3 khn khux naythirthr naykxphr aela naythchthr phnthuyim prawtikarsuksa prathmsuksacakorngeriynwdpaomkkh xaephxpaomkcnghwdxangthxng mthymtncak orngeriynpaomkkhwithyaphumi mthymplaycak orngeriynethphsirinthr aelaorngeriynetriymxudmsuksa hlngcakekhasuksaetriymaephthysastr xyu 2 pi idrbthunrthbalithy k ph ipsuksa n shrthxemrika ph s 2510 priyyatri sakhachiwekhmi cakmhawithyalyaekhlifxreniy ebirkliy emuxngebirkliy shrthxemrika ph s 2514 priyyaexk sakhachiwekhmi cakmhawithyalyixoxwa emuxngixoxwasiti shrthxemrika ph s 2544 priyyadusdibnthitkittimskdi sakhachiwekhmi cakmhawithyalysngkhlankhrinthrprawtikarthangantaaehnngwichakar ph s 2514 2517 xacaryoth khnawithyasastr mhawithyalymhidl ph s 2518 2520 phuchwysastracary khnawithyasastr mhawithyalymhidl ph s 2521 2535 rxngsastracary khnawithyasastr mhawithyalymhidl ph s 2535 2538 sastracary khnawithyasastr mhawithyalymhidl ph s 2538 2563 sastracary radb 11 khnawithyasastr mhawithyalymhidltaaehnngbrihar ph s 2527 2531 hwhnaphakhwichachiwekhmi khnawithyasastr mhawithyalymhidl ph s 2532 2537 rxngphuxanwykarsthabnwicyaelaphthnawithyasastraelaethkhonolyi mhawithyalymhidl ph s 2528 2542 hwhnahnwyptibtikarphnthuwiswkrrmdanculinthriy krathrwngwithyasastrethkhonolyiaelasingaewdlxm ph s 2537 2541 phuxanwykarsthabnwicyaelaphthnawithyasastraelaethkhonolyi mhawithyalymhidl ph s 2541 2546 phuxanwykarsthabnxnuchiwwithyaaelaphnthusastr mhawithyalymhidltaaehnnginsmakhmaelaxngkhkrtang ph s 2529 2536 krrmkarbriharsmakhmwithyasastraehngpraethsithy ph s 2533 2563 khnakrrmkarbrrnathikarwarsar Southeast Asian Journal of Tropical Medicine and Public Health ph s 2535 2563 khnakrrmkarbrrnathikarwarsar Asia Pacific Journal of Molecular Biology and Biotechnology ph s 2538 2543 prathankhnakrrmkarbriharhlksutrpriyyaothaelapriyyaexk sakhaxnuphnthusastraelaphnthuwiswkrrmsastr hlksutrnanachati ph s 2543 2545 krrmkarsphawicyaehngchati sakhaekhmiaelaephsch ph s 2543 2546 hwhnaokhrngkarphthnabukhlakrdanphnthuwiswkrrmaelaethkhonolyichiwphaph swthch ph s 2543 2546 prathankhnaxnukrrmkarephuxkhwamplxdphythangchiwphaphdanculinthriy sunykhwamhlakhlaythangchiwphaph swthch ph s 2546 2563 thipruksakhnaxnukrrmkarephuxkhwamplxdphythangchiwphaphdanculinthriy sunykhwamhlakhlaythangchiwphaph swthch ph s 2546 2563 x k m wisamyekiywkbkarphthnaskyphaphkhnacaryinkarthawicy sankngankhnakrrmkarkarxudmsuksa krathrwngsuksathikar ph s 2546 2563 thipruksasthabnxnuchiwwithyaaelaphnthusastr mhawithyalymhidl ph s 2545 2563 thipruksakhnakrrmkarbriharhlksutrpriyyaoth priyyaexk sakhaxnuphnthusastraelaphnthuwiswkrrmsastr hlksutrnanachati idrbechiyepnwithyakrphiessin Gordon Research Conference praethsshrthxemrika idrbechiyepnkrrmkarbriharokhrngkar Human Genome Project khxng UNESCOekiyrtikhunaelarangwlph s 2528 idrbrangwlnkwithyasastrdiedn sakhachiwekhmi ph s 2539 idrbrangwlphlnganpradisthkhidkhn rangwlthi 1 praephththwip khxngsankngankhnakrrmkarwicyaehngchati cakphlnganeruxng chudtrwchaechuxmalaeriydwyethkhnikhdiexnex ph s 2539 emthiwicyxawuos skw sakhachiwekhmi ph s 2543 emthiwicyxawuos skw sakhaxnuchiwwithya ph s 2542 rangwlphlnganwicytiphimphthiidrbkarxangxingsungsudinpraethsithy caksankngankxngthunsnbsnunkarwicy ph s 2545 rangwl TTF AWARD sakhawithyasastr cakmhawithyalythrrmsastraela ph s 2546 emthiwicyxawuos skw rayathisxng sakhaxnuchiwwithya ph s 2546 rangwlnkethkhonolyidiedn cakmulnithisngesrimwithyasastraelaethkhonolyiinphrabrmrachupthmph ph s 2546 rangwlmhidlthyakr caksmakhmsisyekabnthitwithyaly mhawithyalymhidl ph s 2547 rangwlsisyekadiedn khnawithyasastr mhawithyalymhidl ph s 2549 rangwlnkwicydiednaehngchati sakhawithyasastrekhmiaelaephsch caksankngankhnakrrmkarwicyaehngchatiphlnganwicysastracary dr skl phnthuyim idthakarwicydanxnuchiwwithya odymiphlnganeruxng karsuksaoprtin histones aelakarhawithicaaenkoprtinehlanixxkepn 5 chnididdwykaraeykodykraaesiffa epnphlnganednthimiphunaipichxangxingmakkwa 2 558 khrng sastracary dr skl phnthuyim miphlngantiphimphinwarsarnanachati 167 eruxng odymiphunaipxangxinginwarsarwichakarradbnanachatimakkwa 4 673 khrngidsuksahawithikarcaaenkkhwamhlayhlaykhxngyungknplxngody DNA probe odykarichwithikarthangphnthuwiswkrrm aelaphthnakhunepn DNA probe sahrbkartrwchaaelacaaenkspisiskhxngyungknplxng odysamarthtrwchaidcakchinswnkhxngyunghruxlukna karkhnphbwithikartrwchaechuxmalaeriycakeluxd odykartrwcsxb DNA karsuksayinkhaluknayungcakaebkhthieriy Bacillus thuringiensis sungkhaluknayungxyangcaephaaodyimepnxntraytxkhnaelastw karaeykaelaephimprimankhxngyinsrang growth hormone ephuxerngkarecriyetibotkhxngplabuk miphlnganrwmwicysuksawithikarsranglayphimph DNA inkhnaelaaebkhthieriy cnidwithicaaenkbukhkhlcaklksnalayphimph DNA karsuksaxnuchiwwithyakhxngiwrs thimikhwamsakhythangesrsthkic idaekiwrshwehluxng aelaiwrstwaedngcudkhaw sungkxorkhsakhyinkungkulada odysuksasarphnthukrrmkhxngiwrs karbukrukesllkungkhxngiwrs karephimcanwniwrsinesllkung aelakartxbsnxngkhxngesllkungtxkarbukrukkhxngiwrs epnxngkhkhwamruihmthicachwysrangkhwamekhaickartidechuxiwrskhxngkung aelakarphthnakarephaaeliyngkungprascakechuxiwrsinxnakht karsuksaiwrsinmalakx Papaya Ringspot Virus suksaklikkarekidkhwamsamarthtanthaniwrs ephuxsngesrimkarephaaplukmalakxthiprascakorkhiwrsinxnakht karphthnaethkhonolyi SiRNA small interference RNA sahrbepnwkhsinpxngknorkhiwrsinkung ephuxpraoychninxutsahkrrmephaaeliyngkung pxngknkaresiyhaycakorkhiwrshwehluxngaelaorkhtwaedngcudkhaw nxkcakniethkhonolyi SiRNA xaccaphthnakhunepnwkhsinpxngkniwrsinstwesrsthkicxun dwy echn orkhpakethaepuxyinww khway orkhthxngrwnginsukr orkhiwrshwdinik epntnekhruxngrachxisriyaphrnph s 2540 ekhruxngrachxisriyaphrnxnepnthiechidchuyingchangephuxk chnsungsud mhaprmaphrnchangephuxk m p ch ph s 2537 ekhruxngrachxisriyaphrnxnmiekiyrtiysyingmngkudithy chnsungsud mhawchirmngkud m w m ph s 2550 ekhruxngrachxisriyaphrnxnepnthisrresriyyingdierkkhunaphrn chnthi 4 ctutthdierkkhunaphrn c ph ph s 2551 ehriyydusdimala ekhmsilpwithya r d m s sakhawithyasastr ph s 2539 ehriyyckrphrrdimala r c ph xangxingrachkiccanuebksa prakassanknaykrthmntri eruxng phrarachthanekhruxngrachxisriyaphrn 2015 09 27 thi ewyaebkaemchchin elm 114 txnthi 27 kh hna 7 3 thnwakhm 2540 rachkiccanuebksa prakassanknaykrthmntri eruxng phrarachthanekhruxngrachxisriyaphrn 2007 01 08 thi ewyaebkaemchchin elm 111 txnthi 21 kh hna 13 3 thnwakhm 2537 rachkiccanuebksa prakassanknaykrthmntri eruxng phrarachthanekhruxngrachxisriyaphrnxnepnthisrresriyyingdierkkhunaphrn pracapi 2550 elm 125 txnthi 2 kh hna 121 7 mkrakhm 2551 rachkiccanuebksa prakassanknaykrthmntri eruxng phrarachthanehriyydusdimala ekhmsilpwithya pracapi 2551 2018 02 08 thi ewyaebkaemchchin elm 126 txnthi 9 kh hna 126 10 mithunayn 2552 rachkiccanuebksa prakassanknaykrthmntri eruxng phrarachthanehriyyckrmalaaelaehriyyckrphrrdimala elm 113 txnthi 25 kh hna 669 25 thnwakhm 2539aehlngkhxmulxunemthiwicyxawuos skw 2546 krungethph sankngankxngthunsnbsnunkarwicy 2546 emthiwicyxawuos skw 2543 TRF Senior Research Scholar 2000 krungethph sankngankxngthunsnbsnunkarwicy 2543 rwmnganwicyaelaphlngantiphimphduephimnkwithyasastrdiednkhxngithy