เวกเตอร์ไวรัส (อังกฤษ: Viral vector) เป็นวิธีที่นักชีววิทยาใช้ส่งยีน (genetic material) เข้าไปในเซลล์ ซึ่งสามารถทำกับสิ่งมีชีวิตที่ยังเป็น (in vivo) หรือกับเซลล์ที่เพาะเลี้ยง (in vitro) ไวรัสได้วิวัฒนาการจนมีกลไกพิเศษเพื่อส่งจีโนมของตนเข้าไปในเซลล์ที่ติดเชื้อ การส่งยีนหรือวัสดุยีน (genetic material) อื่น ๆ โดยใช้เวกเตอร์เป็นกระบวนการที่เรียกว่า การถ่ายโอนยีน (transduction) ซึ่งนักอณูชีววิทยาได้ใช้เป็นครั้งแรกในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1970 นักชีวเคมีชาวอเมริกันผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาเคมีได้ใช้ไวรัส SV40 ที่ดัดแปลงเพื่อให้มีดีเอ็นเอของไวรัสทำลายแบคทีเรีย λ (lambda phage) เพื่อส่งยีนเข้าไปในเซลล์ไตของลิงที่เพาะไว้
นอกจากจะใช้ในงานวิจัยทางอณูชีววิทยาแล้ว เวกเตอร์ไวรัสยังใช้ในยีนบำบัด (gene therapy) และวัคซีน
คุณสมบัติ
แม้เวกเตอร์ไวรัสจะดัดแปลงเพื่อประยุกต์ใช้โดยเฉพาะ ๆ แต่ปกติก็มีคุณสมบัติสำคัญบางอย่างคล้าย ๆ กัน
- ปลอดภัย - ถึงเวกเตอร์ไวรัสบางครั้งจะทำมาจากไวรัสก่อโรค แต่ก็จะดัดแปลงทางพันธุกรรมเพื่อลดความเสี่ยงในการจัดการไวรัส ปกติเป็นการลบ (deletion) จีโนมที่ขาดไม่ได้ในการถ่ายแบบ/การขยายพันธุ์ไวรัส (viral replication) ไวรัสเช่นนี้จึงสามารถทำให้เซลล์ติดเชื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพ แต่หลังจากเซลล์ติดเชื้อแล้ว ก็จะต้องมีไวรัสตัวช่วยอื่นเป็นผู้ให้โปรตีนที่ขาดหายไปเพื่อผลิตอนุภาคไวรัส (virion) ซึ่งเป็นเวกเตอร์ใหม่ ๆ
- มีพิษน้อย - เวกเตอร์ไวรัสควรมีผลทางสรีรวิทยาน้อยต่อเซลล์ที่ติดเชื้อ
- เสถียร - ไวรัสบางอย่างไม่เสถียรคือสามารถจัดวางจีโนมของตนใหม่ได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งยังกิจที่ทำโดยใช้ไวรัสให้คาดการและทำซ้ำไม่ได้ ปกติจึงต้องหลีกเลี่ยงไวรัสเช่นนี้
- เฉพาะเจาะจงต่อชนิดเซลล์ - เวกเตอร์ไวรัสโดยมากสร้างเพื่อทำให้เซลล์ชนิดต่าง ๆ มากที่สุดติดเชื้อ แต่บางครั้ง ก็ต้องการคุณสมบัติตรงกันข้าม หน่วยรับของไวรัส (viral receptor) สามารถดัดแปลงให้เล็งเป้าที่เซลล์ชนิดใดชนิดหนึ่งโดยเฉพาะ การดัดแปลงไวรัสเช่นนี้เป็นกระบวนการ pseudotyping
- มีตัวระบุ - เวกเตอร์ไวรัสมักประกอบกับยีนที่ช่วยระบุว่าเซลล์ใดติดเชื้อไวรัสนั้น ยีนเช่นนี้เรียกว่า marker (ยีนส่อ) ยีนส่อที่สามัญเป็นการดื้อยาปฏิชีวนะบางชนิด เซลล์ที่ติดเชื้อและไม่ติดเชื้อจึงสามารถแยกออกจากกันได้ง่าย เพราะเซลล์ที่ไม่ได้ยีนของเวกเตอร์ไวรัสก็จะไม่ดื้อยาปฏิชีวนะ จึงไม่สามารถขยายพันธุ์ในที่เพาะอันมียาปฏิชีวนะนั้น ๆ
การประยุกต์ใช้
งานวิจัยพื้นฐาน
เวกเตอร์ไวรัสดั้งเดิมพัฒนาขึ้นเพื่อใช้เป็นทางเลือกของกระบวนการ transfection เพื่อส่ง naked DNA เข้าไปในเซลล์ในการทดลองทางอณูพันธุศาสตร์ เทียบกับวิธีการ transfection ธรรมดา (เช่น calcium phosphate precipitation) การถ่ายโอนยีนผ่านไวรัส (transduction) สามารถทำให้เซลล์เกือบเต็มร้อยติดเชื้อโดยไม่มีผลอย่างรุนแรงต่อความอยู่รอดของเซลล์[] อนึ่ง ไวรัสบางอย่างรวมกลายเป็นส่วนจีโนมของเซลล์จึงทำให้ยีนของไวรัสคงอยู่ได้อย่างเสถียร
ยีนที่เข้ารหัสโปรตีนสามารถให้เซลล์แสดงออกได้โดยใช้เวกเตอร์ไวรัส บ่อยครั้งเพื่อศึกษาการทำงานของโปรตีนนั้น ๆ เวกเตอร์ไวรัสโดยเฉพาะรีโทรไวรัส (retrovirus) ซึ่งแสดงออกยีนส่อ (marker gene) อย่างเสถียรโดยเป็นยีนเช่น Green fluorescent protein (GFP) ได้ใช้อย่างกว้างขวางเพื่อ "ติดป้าย" เซลล์แล้วติดตามเซลล์และลูกหลานของมัน เช่น ในการทดลอง xenotransplantation ที่เซลล์อันติดเชื้อไวรัสจะปลูกถ่ายให้กับสัตว์ถูกเบียน (host)
การแทรกยีน (gene insertion) ที่สามารถทำได้ด้วยเวกเตอร์ไวรัส มีค่าใช้จ่ายน้อยกว่าวิธีการน๊อกเอาท์ยีน (gene knockout) แต่ถ้าต้องการลดระดับการแสดงออกของยีน (gene silencing) การแทรกยีนบางครั้งก็มีผลที่ไม่เฉพาะเจาะจงต่อยีนอื่น ๆ จึงอาจให้ผลที่ไม่แน่นอน
ยีนบำบัด
ยีนบำบัดเป็นเทคนิคแก้ไขยีนที่ก่อโรค ในอนาคต อาจเป็นวิธีรักษาโรคทางพันธุกรรมต่าง ๆ เช่น ภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่องหลายอย่างรวมกันแบบรุนแรง (SCID) ซิสติกไฟโบรซิส หรือแม้แต่ฮีโมฟิเลียชนิดเอ เพราะโรคเหล่านี้เกิดจากการกลายพันธุ์ของลำดับดีเอ็นเอที่เข้ารหัสยีนโดยเฉพาะ ๆ ยีนบำบัดที่ทดลองได้ใช้ไวรัสเพื่อส่งยีนที่ปกติคือไร้โรคเข้าไปในเซลล์ร่างกายของคนไข้ ซึ่งแม้จะประสบความสำเร็จอย่างมาก แต่ก็ยังต้องแก้ไขปัญหาเนื่องกับวิธีหลายอย่างก่อนจะนำมาใช้ได้อย่างทั่วไป เช่น พบว่า การตอบสนองของภูมิคุ้มกันต่อไวรัสไม่เพียงขัดขวางการส่งยีนไปยังเซลล์เป้าหมาย แต่ยังสามารถสร้างภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงด้วย การทดลองยีนบำบัดแรก ๆ ในปี 1999 ทำให้วัยรุ่นชายคนหนึ่งเสียชีวิตเมื่อรักษาด้วยเวกเตอร์ที่เป็นอะดีโนไวรัส
เวกเตอร์ไวรัสบางอย่าง เช่น รีโทรไวรัสแกมมา (gamma retrovirus) แทรกจีโนมของตนเข้ากับโครโมโซมของเซลล์ถูกเบียนที่ตำแหน่งอันเหมือนจะเป็นสุ่ม ซึ่งขัดขวางการทำงานปกติของยีนแล้วก่อมะเร็ง ในการทดลองยีนบำบัดที่ใช้ไวรัสนี้เพื่อรักษาโรค SCID ในปี 2002 คนไข้ 4 คนเกิดมะเร็งเม็ดเลือดขาวโดยเป็นผลของการรักษา แต่ 3 คนก็รักษาหายด้วยเคมีบำบัดเวกเตอร์ที่เป็น adeno-associated virus ปลอดภัยมากกว่าในเรื่องนี้เพราะประกอบเข้ากับจีโนมมนุษย์ที่ตำแหน่งเดียวกัน และสามารถใช้กับโรคหลายอย่าง เช่น โรคอัลไซเมอร์
วัคซีน
วัคซีนมีเวกเตอร์เป็น ๆ (live vector vaccine) เป็นวัคซีนที่ใช้ไวรัสที่ทำให้อ่อนแอด้วยสารเคมีเพื่อส่งส่วนของจุลชีพก่อโรคแล้วกระตุ้นภูมิคุ้มกันให้ตอบสนอง ปัจจจุบันกำลังพัฒนาไวรัสที่แสดงออกโปรตีนของจุลชีพก่อโรคเป็นวัคซีนต่อต้านจุลชีพเหล่านั้น โดยมีข้อดีเช่นเดียวกับวัคซีนดีเอ็นเอ ยีนที่ใช้ในวัคซีนนี้ปกติจะเข้ารหัสโปรตีนที่ผิวของจุลชีพก่อโรคซึ่งเป็นแอนติเจน แล้วก็จะแทรกยีนเข้าไปในจีโนมของไวรัสที่ไม่ก่อโรคเพื่อใช้เป็นพาหะนำยีน เมื่อไวรัสที่ไม่ก่อโรคเข้าไปในเซลล์ร่างกายแล้ว ยีนก็จะแสดงออกเป็นโปรตีน (คือเป็นแอนติเจน) ที่ผิวของเซลล์แล้วก่อการตอบสนองของภูมิต้านทาน
ตัวอย่างก็คือ วัคซีนโควิด-19 AZD1222 ของมหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด/บริษัทแอสตราเซเนกา เวกเตอร์ไวรัสในกรณีนี้เป็นอะดีโนไวรัสของชิมแปนซีที่ปกติไม่ก่อโรคในมนุษย์ แล้วนำมาดัดแปลงใส่ยีนโปรตีน spike ซึ่งมีอยู่ที่ผิวของอนุภาคไวรัสโควิด SARS-CoV-2 โดยอะดีโนไวรัสจะทำให้แพร่พันธุ์ต่อไปไม่ได้ อะดีโนไวรัสนี้ใช้เป็นเวกเตอร์/พาหะส่งยีนโปรตีนของไวรัสโควิด-19 ไปที่เซลล์ของมนุษย์ซึ่งก็จะแสดงออกโปรตีนนี้ แล้วทำให้ภูมิคุ้มกันตอบสนอง ดังนั้น ถ้าคนที่ได้วัคซีนติดเชื้อโควิดต่อมา ภูมิคุ้มกันก็จะรู้จักโปรตีนของไวรัสโควิด-19 แล้วจึงตอบสนองป้องกันโรคได้อย่างรวดเร็ว
ลิมโฟไซต์แบบ T สามารถระบุเซลล์ที่ติดเชื้ออาศัยโปรตีนแปลกปลอมที่เซลล์ผลิต การตอบสนองของเซลล์ T สำคัญอย่างยิ่งเพื่อป้องกันการติดเชื้อไวรัสและโรคต่าง ๆ เช่น มาลาเรีย วัคซีนที่ใช้ไวรัสเป็นเวกเตอร์จะก่อให้เซลล์สร้างโปรตีนแปลกปลอมของจุลชีพคล้ายกับวัคซีนเชื้อตาย (attenuated vaccine) อื่น ๆ เช่น วัคซีนโปลิโอ แต่เพราะวัคซีนไวรัสมียีนของจุลชีพเพียงแค่ส่วนเล็ก ๆ จึงปลอดภัยกว่า เช่น การติดเชื้อแบบประปรายเนื่องกับวัคซีนก็เป็นไปไม่ได้เลย
การส่งยา
ไวรัสนก คือ canarypox สายพันธุ์หนึ่งได้ดัดแปลงเพื่อใช้ส่งโปรตีน interleukin-2 ของแมวเพื่อรักษาแมวที่มีมะเร็งเส้นใย (fibrosarcoma)
ประเภท
รีโทรไวรัส
รีโทรไวรัส (retrovirus) ใช้เป็นเวกเตอร์หลักอย่างหนึ่งในยีนบำบัดปัจจุบัน รีโทรไวรัสลูกผสม เช่น Moloney murine leukemia virus สามารถรวมยีนเข้ากับจีโนมของเซลล์ถูกเบียนอย่างเสถียร โดยมีโปรตีนรีเวิร์สแทรนสคริปเทส (RT) เพื่อสร้างก๊อปปี้ที่เป็นดีเอ็นเอจากจีโนมที่เป็นอาร์เอ็นเอ และมีโปรตีน integrase ที่ทำให้สามารถรวมก๊อปปี้นั้นเข้ากับจีโนมของเซลล์ได้ ซึ่งได้ใช้ในการทดลองทางคลินิกที่องค์การอาหารและยาสหรัฐอนุมัติหลายงานรวมทั้งโรค X-linked severe combined immunodeficiency (SCID-X1)
เวกเตอร์ที่เป็นรีโทรไวรัสอาจแพร่พันธุ์ได้หรือไม่ได้ แบบแพร่พันธุ์ไม่ได้สามัญที่สุดในงานศึกษาต่าง ๆ เป็นไวรัสอันแทนที่ยีนซึ่งจำเป็นในการสร้างอนุภาพไวรัส (virion replication and packaging) ด้วยยีนอื่น ๆ หรือลบยีนตรงนั้นเสีย ไวรัสเช่นนี้สามารถทำให้เซลล์เป้าหมายติดเชื้อแล้วส่งยีนเข้าไปในเซลล์ แต่ก็ไม่สามารถดำเนินการตามวิถีการสลายเซลล์ธรรมดา (lytic pathway) ซึ่งทำให้เซลล์สลายแล้วตาย
ในนัยตรงข้าม เวกเตอร์ไวรัสที่สามารถแพร่พันธุ์ได้มียีนที่จำเป็นในการสร้างอนุภาคไวรัส จึงสามารถแพร่พันธุ์ต่อไปได้เมื่อเซลล์ติดเชื้อแล้ว เพราะจีโนมของไวรัสสำหรับเวกเตอร์เช่นนี้ยาวกว่ามาก ยีนที่สามารถแทรกเข้าไปในจีโนมจึงยาวจำกัดเทียบกับเวกเตอร์ที่ไม่สามารถแพร่พันธุ์ได้ โดยขึ้นอยู่กับเวกเตอร์ ลำดับดีเอ็นเอที่แทรกเข้าไปในไวรัสที่แพร่พันธุ์ได้ปกติจะยาวประมาณ 8-10 กิโลเบส (kB) แม้นี่จะจำกัดลำดับจีโนมที่สามารถแทรกเข้าไปได้หลายอย่าง แต่ลำดับ Complementary DNA ต่าง ๆ ก็ยังได้
ข้อเสียหลักในการใช้รีโทรไวรัสเป็นเวกเตอร์ก็คือ เซลล์ถูกเบียนจะต้องแบ่งตัวอย่างแอ๊กถีฟเพื่อถ่ายโอนยีนของไวรัส ดังนั้น เซลล์ที่ปกติไม่แบ่งตัวเช่นเซลล์ประสาทก็จะทนทานไม่ติดเชื้อและไม่ถ่ายโอนยีนของไวรัส
มีความกังวลตั้งแต่ต้นว่าการกลายพันธุ์โดยแทรกยีน (insertional mutagenesis) เนื่องกับการรวมยีนไวรัสเข้ากับจีโนมของเซลล์อาจก่อมะเร็งหรือมะเร็งเม็ดเลือดขาว ซึ่งเป็นเพียงทฤษฎีจนกระทั่งทดลองยีนบำบัดกับคนไข้ SCID-X1 10 คนโดยใช้ Maloney murine leukemia virus มีผลเป็นคนไข้สองคนเกิดมะเร็งเม็ดเลือดขาวเพราะวัคซีนที่รวมเข้ากับจีโนมได้กระตุ้นการทำงานของยีนมะเร็งคือ LMO2 ที่อยู่ใกล้ ๆ
เล็นทิไวรัส
เล็นทิไวรัส (lentivirus) เป็นกลุ่มย่อยของรีโทรไวรัส ซึ่งบางครั้งใช้เป็นเวกเตอร์ในยีนบำบัดเพราะสมรรถภาพในการรวมเข้ากับจีโนมของเซลล์ที่ไม่แบ่งตัว เป็นลักษณะพิเศษของไวรัสนี้เพราะรีโทรไวรัสอื่น ๆ สามารถทำการกับเซลล์ที่กำลังแบ่งตัวเท่านั้น จีโนมของไวรัสในรูปแบบอาร์เอ็นเอจะผ่านกระบวนการ reverse transcription เมื่อไวรัสเข้าไปในเซลล์เพื่อสร้างดีเอ็นเอจากอาร์เอ็นเอโดยใช้เอนไซม์รีเวิร์สแทรนสคริปเทส (RT) แล้วก็จะแทรกเข้าไปในจีโนมของเซลล์ที่ตำแหน่งสุ่ม (แต่งานศึกษาปี 2015 ก็แสดงว่า การแทรกดีเอ็นเอของไวรัสไม่ใช่ที่ตำแหน่งสุ่ม แต่จะเล็งยีนที่แอ๊กถีฟโดยสัมพันธ์กับการจัดระเบียบของจีโนม) โดยใช้เอนไซม์ integrase ของไวรัส
ในขั้นนี้ เวกเตอร์ซึ่งเรียกว่าโปรไวรัส (provirus) จะคงอยู่ในจีโนมแล้วสืบทอดไปยังลูกหลานของเซลล์เมื่อแบ่งตัว ยังไม่มีเทคนิคกำหนดตำแหน่งที่ไวรัสเข้ารวมกับจีโนมซึ่งอาจก่อปัญหา เพราะโปรไวรัสอาจขัดการทำงานของยีน ทำให้ยีนมะเร็งทำงานแล้วก่อมะเร็ง ซึ่งเป็นข้อกังวลอย่างหนึ่งในการประยุกต์ใช้เล็นทิไวรัสในยีนบำบัด แต่งานศึกษาต่าง ๆ ก็แสดงว่า เวกเตอร์เล็นทิไวรัสมีแนวโน้มน้อยกว่าในการรวมเข้ากับยีนในตำแหน่งที่อาจก่อเมื่อมะเร็งเทียบกับเวกเตอร์รีโทรไวรัสแกมมา โดยเฉพาะก็คือ งานศึกษาหนึ่งพบว่าเวกเตอร์เล็นทิไวรัสไม่เพิ่มอุบัติการณ์เนื้องอก หรือทำเนื้องอกให้เกิดเร็วขึ้นในสายพันธุ์หนูที่มีอุบัติการณ์เนื้องอกสูง อนึ่ง การทดลองทางคลินิกที่ใช้เวกเตอร์เล็นทิไวรัสในยีนบำบัดเพื่อรักษาเอชไอวีไม่ก่อการกลายพันธุ์ยีนหรือก่อมะเร็งที่สูงขึ้น
เพื่อความปลอดภัย เวกเตอร์เล็นทิไวรัสจะไม่มียีนที่จำเป็นในการแพร่พันธุ์ไวรัส เพื่อผลิตเล็นทิไวรัส พลาสมิดหลายชนิดจะนำ (transfection) เข้าไปในเซลล์สร้างอนุภาคไวรัสที่เรียกว่า packaging cell line โดยปกติเป็นเซลล์ไตตัวอ่อนมนุษย์สาย HEK 293 (เซลล์ซ้ายในรูป) พลาสมิดอย่างน้อยหนึ่งตัว (พลาสมิดซ้ายในเซลล์ซ้ายในรูป) ทั่วไปเรียกว่าพลาสมิดบรรจุ (packaging plasmid) จะเข้ารหัสโปรตีนของอนุภาคไวรัส (virion) เช่น แค็ปซิด (capsid) และรีเวิร์สแทรนสคริปเทส พลาสมิดอีกอย่าง (พลาสมิดขวาในเซลล์ซ้ายในรูป) มีวัสดุยีนที่มุ่งหมายให้เวกเตอร์เป็นตัวส่ง ซึ่งถอดรหัสเป็นอาร์เอ็นเอสายเดี่ยวโดยมีเครื่องหมายเป็นลำดับยีน ψ (psi) แล้วบรรจุเข้าไปในอนุภาคไวรัส (อนุภาคไวรัสนอกเซลล์ทั้งสองในรูป)
อะดีโนไวรัส
ไม่เหมือนกับเล็นทิไวรัส ดีเอ็นเอของอะดีโนไวรัสจะไม่รวมเข้ากับจีโนมของเซลล์ถูกเบียน จึงไม่แพร่พันธุ์คือไม่ถ่ายแบบเมื่อเซลล์แบ่งตัว ซึ่งจำกัดให้ใช้ไวรัสแต่ในงานวิจัยพื้นฐาน แต่ก็ยังใช้ในการทดลองในกาย (in vitro) และนอกกาย (in vivo) ได้ด้วยเหมือนกัน เวกเตอร์อะดีโนไวรัสโดยหลักจะใช้ในยีนบำบัดและวัคซีน แต่เพราะมนุษย์ประสบกับอะดีโนไวรัสที่เป็นเหตุการติดเชื้อทางเดินหายใจ ทางเดินอาหาร และตาบ่อย ๆ คนโดยมากก็จะมีสารภูมิต้านทานแบบกำจัดฤทธิ์ (neutralizing antibody) ซึ่งสามารถฆ่าไวรัสก่อนเข้าไปถึงเซลล์เป้าหมาย เพื่อแก้ปัญหานี้ นักวิทยาศาสตร์ปัจจุบันกำลังตรวจสอบอะดีโนไวรัสที่ติดสัตว์สปีชีส์อื่น (เช่น วัคซีนโควิด-19 AZD1222) ที่มนุษย์ยังไม่มีภูมิคุ้มกัน
Adeno-associated viruses
adeno-associated virus (AAV) เป็นไวรัสเล็ก ๆ ที่ทำให้มนุษย์และไพรเมตสปีชีส์อื่น ๆ ติดเชื้อ โดยมีชื่อเช่นนั้นเพราะเริ่มแรกนึกว่าเป็นสิ่งปนเปื้อนที่อยู่กับอะดีโนไวรัส จนถึงปัจจุบัน AAV ยังไม่ปรากฏว่าทำให้ติดโรค และเป็นเหตุให้ภูมิคุ้มกันตอบสนองแบบอ่อนมาก แต่ก็สามารถทำให้เซลล์ทั้งที่แบ่งตัวและไม่แบ่งตัวติดเชื้อ และอาจรวมเข้ากับจีโนมของเซลล์ถูกเบียน แต่ไวรัสที่แปลงเป็นเวกเตอร์ปกติจะดำรงอยู่ในสภาพพลาสมิดที่ไม่ประกอบเข้ากับจีโนมของเซลล์ โดยยังสามารถแสดงออกโปรตีนได้ในระยะยาวอย่างเสถียร คุณลักษณะเช่นนี้ ทำให้ AAV เป็นแคนดิเดตที่ดีเพื่อใช้สร้างเวกเตอร์ไวรัสสำหรับยีนบำบัด แต่ก็สามารถแทรกยีนใส่ไวรัสได้เพียง 5 กิโลเบส ซึ่งเล็กมากเทียบกับจีโนมของไวรัสเอง
เพราะไวรัสสมารถใช้เป็นเวกเตอร์สำหรับยีนบำบัดได้ นักวิจัยจึงได้สร้าง AAV แปลงรูปที่เรียกว่า self-complementary adeno-associated virus (scAAV) เพราะ AAV ดั้งเดิมประกอบด้วยดีเอ็นเองเพียงสายเดียว จึงต้องผ่านกระบวนการสังเคราะห์สายที่สอง เทียบกับ scAAV ซึ่งมีดีเอ็นเอทั้งสองสายประกอบเข้าด้วยกันผ่านกระบวนการ annealing เมื่อไม่ต้องสังเคราะห์ดีเอ็นเอสายที่สอง scAAV จึงยังให้เซลล์แสดงออกโปรตีนที่ต้องการได้อย่างรวดเร็ว นอกจากนี้แล้ว scAAV ก็มีลักษณะต่าง ๆ ของ AAV ด้วย
ไวรัสของพืช
ไวรัสที่ติดพืชสามารถแปลงเป็นเวกเตอร์ไวรัส เพื่อใช้ส่งยีนเข้าไปในเซลล์พืช และยังเป็นแหล่งวัสดุทางชีวภาพและนาโนเทคโนโลยี ไวรัสติดพืชรวมทั้งยาสูบคือ tobacco mosaic virus (TMV) เป็นไวรัสแรกสุดที่ได้ค้นพบ
ลูกผสม (ไฮบริด)
เวกเตอร์ลูกผสม (เวกเตอร์ไฮบริด) เป็นเวกเตอร์ไวรัสที่ผ่านพันธุวิศวกรรมเพื่อให้มีคุณสมบัติของเวกเตอร์มากกว่าหนึ่งอย่าง คือจะดัดแปลงไวรัสไม่ให้มีข้อเสียของเวกเตอร์ไวรัสทั่วไป ซึ่งอาจมีความจุยีนจำกัด (limited loading capacity) ก่อปฏิกิริยาของภูมิคุ้มกัน (immunogenicity) เป็นพิษต่อยีน (genotoxicity) และไม่รองรับการแสดงออกของยีนลูกผสม (transgenic expression) ในระยะยาวได้ เพราะทดแทนสิ่งที่ไม่ต้องการด้วยสมรรถภาพที่ต้องการ เวกเตอร์ลูกผสมในอนาคตอาจจะทำการได้ดีกว่าเวกเตอร์มาตรฐานในด้านความปลอดภัยและประสิทธิภาพการรักษาโรค
ข้อท้าทายในการประยุกต์ใช้
การเลือกเวกเตอร์ไวรัสเพื่อส่งยีนเข้าในเซลล์มีปัญหาหลายอย่าง มีเวกเตอร์ไวรัสจำกัดชนิดที่ใช้เพื่อรักษาได้ ซึ่งก็ล้วนอาจทำให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันถ้าเห็นว่ามันเป็นสิ่งแปลกปลอม เมื่อใช้แล้ว เวกเตอร์ไวรัสนี้ก็จะไม่สามารถใช้กับบุคคลนั้นได้อีกเพราะร่างกายรู้จักมันแล้ว เช่น ถ้าวัคซีนหรือยีนบำบัดหนึ่งล้มเหลวในการทดลองทางคลินิก ไวรัสนี้จะไม่สามารถใช้สำหรับบุคคลนั้นอีกเพื่อเป็นวัคซีนหรือยีนบำบัดอย่างอื่นในอนาคต
อนึ่ง บุคคลอาจมีภูมิคุ้มกันต่อต้านไวรัสนั้นก่อนแล้วทำให้การรักษาไม่ได้ผล แต่เพราะการเตรียมฉีดวัคซีนดีเอ็นเอเปล่า (priming) แล้วตามด้วยวัคซีนเวกเตอร์ไวรัส (boosting) พบว่า ทำให้ภูมิคุ้มกันตอบสนองอย่างเข้มแข็ง (กลไกยังไม่ชัดเจน) แม้จะมีภูมิคุ้มกันต่อเวกเตอร์ไวรัสอยู่แล้ว กลยุทธ์นี้จึงสามารถใช้แก้ปัญหานี้ได้ โดยอาจเพิ่มค่าใช้จ่ายและอุปสรรคในการแจกจำหน่ายวัคซีน ภูมิคุ้มกันที่มีอยู่แล้วก็อาจแก้ได้โดยเพิ่มขนาดวัคซีนหรือเปลี่ยนช่องทางการให้วัคซีน
จุดด้อยของเวกเตอร์ไวรัสบางอย่าง (เช่น เป็นพิษต่อยีน และแสดงออกยีนลูกผสมน้อย) อาจแก้ได้ด้วยการใช้เวกเตอร์ลูกผสม
เชิงอรรถ
- transfection เป็นกระบวนการนำกรดนิวคลีอิกบริสุทธิ์เข้าไปในเซลล์ยูแคริโอตอย่างจงใจเพื่อประกอบเข้ากับโครโมโซมของเซลล์
- Naked DNA เป็นดีเอ็นเอไร้ฮิสโตนที่ส่งจากเซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่งในกระบวนการถ่ายโอนยีนที่เรียกว่า transformation หรือ transfection
- xenotransplantation เป็นการปลูกถ่ายเซลล์ เนื้อเยื่อ หรืออวัยวะเป็น ๆ จากสิ่งมีชีวิตสปีชีส์หนึ่งให้แก่อีกสปีชีส์หนึ่ง
- reverse transcription (RT) เป็นกระบวนการที่ใช้เอนไซม์รีเวิร์สแทรนสคริปเทส (RT) เพื่อสร้าง complementary DNA (cDNA) จากแบบที่เป็นอาร์เอ็นเอ ซึ่งปกติเกิดในรีโทรไวรัส แต่ก็เกิดในไวรัสอื่น ๆ ด้วย
อ้างอิง
- Goff, SP; Berg, P (December 1976). "Construction of hybrid viruses containing SV40 and lambda phage DNA segments and their propagation in cultured monkey cells". Cell. 9 (4 PT 2): 695–705. doi:10.1016/0092-8674(76)90133-1. PMID 189942. S2CID 41788896.
- "Xenotransplantation". World Health Organization.
- Beardsley, T (February 2000). "A tragic death clouds the future of an innovative treatment method". Scientific American.
- McDowell, N (2003-01-15). . New Scientist. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-10-22. สืบค้นเมื่อ 2021-01-19.
- Hacein-Bey-Abina, S; Hauer, J; Lim, A; Picard, C; Wang, GP; Berry, CC; และคณะ (July 2010). "Efficacy of gene therapy for X-linked severe combined immunodeficiency". The New England Journal of Medicine. 363 (4): 355–64. doi:10.1056/NEJMoa1000164. PMC 2957288. PMID 20660403.
- Sasmita, AO (April 2019). "Current viral-mediated gene transfer research for treatment of Alzheimer's disease". Biotechnology & Genetic Engineering Reviews. 35 (1): 26–45. doi:10.1080/02648725.2018.1523521. PMID 30317930. S2CID 52978228.
- . amfAR, The Foundation for AIDS Research. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-01-12. สืบค้นเมื่อ 2021-01-19.
- Arashkia, A; Jalilvand, S; Mohajel, N; Afchangi, A; Azadmanesh, K; Salehi-Vaziri, M; และคณะ (2020). "Severe acute respiratory syndrome-coronavirus-2 spike (S) protein based vaccine candidates: State of the art and future prospects". Reviews in Medical Virology. n/a (n/a): e2183. doi:10.1002/rmv.2183. PMC 7646037.
- "Exeter Fellow Dr Catherine Green leads the production of a potential COVID-19 vaccine in Oxford". Exeter College (ภาษาอังกฤษ). 2020-04-06. สืบค้นเมื่อ 2020-04-24.
- "AZD1222 vaccine met primary efficacy endpoint in preventing COVID-19". www.astrazeneca.com (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2020-11-27.
- "EPAR summary for the public: Oncept IL-2 (Feline interleukin-2 recombinant canary pox virus) [EMA/151380/2013 EMEA/V/C/002562]" (PDF). European Medical Agency. 2013.
- Cavazzana-Calvo, M; Hacein-Bey, S; de Saint Basile, G; Gross, F; Yvon, E; Nusbaum, P; และคณะ (April 2000). "Gene therapy of human severe combined immunodeficiency (SCID) -X1 disease". Science. 288 (5466): 669–72. Bibcode:2000Sci...288..669C. doi:10.1126/science.288.5466.669. PMID 10784449.
- Varmus, Harold; Coffin, John M.; Hughes, Stephen H., บ.ก. (1997). "Principles of Retroviral Vector Design". Retroviruses. Plainview, N.Y: Cold Spring Harbor Laboratory Press. ISBN .
- Hacein-Bey-Abina, S; F, Le Deist; Carlier, F; Bouneaud, C; Hue, C; De Villartay, JP; และคณะ (April 2002). "Sustained correction of X-linked severe combined immunodeficiency by ex vivo gene therapy". The New England Journal of Medicine. 346 (16): 1185–93. doi:10.1056/NEJMoa012616. PMID 11961146.
- Hacein-Bey-Abina, S; Von Kalle, C; Schmidt, M; McCormack, MP; Wulffraat, N; Leboulch, P; และคณะ (October 2003). "LMO2-associated clonal T cell proliferation in two patients after gene therapy for SCID-X1". Science. 302 (5644): 415–9. Bibcode:2003Sci...302..415H. doi:10.1126/science.1088547. PMID 14564000. S2CID 9100335.
- Marini, B; Kertesz-Farkas, A; Ali, H; Lucic, B; Lisek, K; Manganaro, L; และคณะ (May 2015). "Nuclear architecture dictates HIV-1 integration site selection". Nature. 521 (7551): 227–31. Bibcode:2015Natur.521..227M. doi:10.1038/nature14226. PMID 25731161. S2CID 974969.
- Cattoglio, C; Facchini, G; Sartori, D; Antonelli, A; Miccio, A; Cassani, B; และคณะ (September 2007). "Hot spots of retroviral integration in human CD34+ hematopoietic cells". Blood. 110 (6): 1770–8. doi:10.1182/blood-2007-01-068759. PMID 17507662.
- Montini, E; Cesana, D; Schmidt, M; Sanvito, F; Ponzoni, M; Bartholomae, C; และคณะ (June 2006). "Hematopoietic stem cell gene transfer in a tumor-prone mouse model uncovers low genotoxicity of lentiviral vector integration". Nature Biotechnology. 24 (6): 687–96. doi:10.1038/nbt1216. PMID 16732270. S2CID 8966580.
- Lidonnici, MR; Paleari, Y; Tiboni, F; Mandelli, G; Rossi, C; Vezzoli, M; และคณะ (December 2018). "Multiple Integrated Non-clinical Studies Predict the Safety of Lentivirus-Mediated Gene Therapy for β-Thalassemia". Molecular Therapy. Methods & Clinical Development (ภาษาอังกฤษ). 11: 9–28. doi:10.1016/j.omtm.2018.09.001. PMC 6178212. PMID 30320151.
- Ramos-Kuri, M; Rapti, K; Mehel, H; Zhang, S; Dhandapany, PS; Liang, L; และคณะ (November 2015). "Dominant negative Ras attenuates pathological ventricular remodeling in pressure overload cardiac hypertrophy". Biochimica et Biophysica Acta (BBA) - Molecular Cell Research. 1853 (11 Pt A): 2870–84. doi:10.1016/j.bbamcr.2015.08.006. PMC 4715892. PMID 26260012.
- "Adeno- associated virus vector integration". 2010. PMID 19649989.
{{}}
: Cite journal ต้องการ|journal=
((help)) - Nussbaum, Robert L; McInnes, Roderick R; Willard, Huntington F (2015). Thompson & Thompson Genetics in Medicine. Canada: ELSEVIER. p. 278. ISBN .
- McCarty, DM; Monahan, PE; Samulski, RJ (August 2001). "Self-complementary recombinant adeno-associated virus (scAAV) vectors promote efficient transduction independently of DNA synthesis". Gene Therapy. 8 (16): 1248–54. doi:10.1038/sj.gt.3301514. PMID 11509958.
- Abrahamian, Peter; Hammond, Rosemarie W.; Hammond, John (2020-06-10). "Plant Virus-Derived Vectors: Applications in Agricultural and Medical Biotechnology". Annual Review of Virology. 7. doi:10.1146/annurev-virology-010720-054958. ISSN 2327-0578. PMID 32520661.
- Pasin, Fabio; Menzel, Wulf; Daròs, José-Antonio (June 2019). "Harnessed viruses in the age of metagenomics and synthetic biology: an update on infectious clone assembly and biotechnologies of plant viruses". Plant Biotechnology Journal. 17 (6): 1010–1026. doi:10.1111/pbi.13084. ISSN 1467-7652. PMC 6523588. PMID 30677208.
- Huang, S; Kamihira, M (2013). "Development of hybrid viral vectors for gene therapy". Biotechnology Advances. 31 (2): 208–23. doi:10.1016/j.biotechadv.2012.10.001. PMID 23070017.
- Nayak, S; Herzog, RW (March 2010). "Progress and prospects: immune responses to viral vectors". Gene Therapy. 17 (3): 295–304. doi:10.1038/gt.2009.148. PMC 3044498. PMID 19907498.
- Zhou, HS; Liu, DP; Liang, CC (November 2004). "Challenges and strategies: the immune responses in gene therapy". Medicinal Research Reviews. 24 (6): 748–61. doi:10.1002/med.20009. PMID 15250039. S2CID 17622444.
- Crommelin, DJ; Sindelar, RD; Meibohm, B (2008). Pharmaceutical Biotechnology: Fundamentals and application. London: Taylor & Francis. ISBN .
- Yang, ZY; Wyatt, LS; Kong, WP; Moodie, Z; Moss, B; Nabel, GJ (January 2003). "Overcoming immunity to a viral vaccine by DNA priming before vector boosting". Journal of Virology. 77 (1): 799–803. doi:10.1128/JVI.77.1.799-803.2003. PMC 140625. PMID 12477888.
- Pandey, A; Singh, N; Vemula, SV; Couëtil, L; Katz, JM; Donis, R; และคณะ (2012). Subbiah, Elankumaran (บ.ก.). "Impact of preexisting adenovirus vector immunity on immunogenicity and protection conferred with an adenovirus-based H5N1 influenza vaccine". PLOS ONE. 7 (3): e33428. Bibcode:2012PLoSO...733428P. doi:10.1371/journal.pone.0033428. PMC 3303828. PMID 22432020.
แหล่งข้อมูลอื่น
- Torashima, T.; Koyama, C.; Higashida, H.; Hirai, H. (2007). "Production of neuron-preferential lentiviral vectors". Protocol Exchange. doi:10.1038/nprot.2007.89.
- Okada, Y.; Ikawa, M. (2007). "Placenta specific gene manipulation by transducing zona-free blastocyst using lentiviral vector". Protocol Exchange. doi:10.1038/nprot.2007.62.
- Fry, JW; Wood, KJ (1999-06-08). "A comparison of vectors in use for clinical gene transfer". Expert Reviews in Molecular Medicine.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamnixangxingkhristskrach khristthswrrs khriststwrrs sungepnsarasakhykhxngenuxha ewketxriwrs xngkvs Viral vector epnwithithinkchiwwithyaichsngyin genetic material ekhaipinesll sungsamarththakbsingmichiwitthiyngepn in vivo hruxkbesllthiephaaeliyng in vitro iwrsidwiwthnakarcnmiklikphiessephuxsngcionmkhxngtnekhaipinesllthitidechux karsngyinhruxwsduyin genetic material xun odyichewketxrepnkrabwnkarthieriykwa karthayoxnyin transduction sungnkxnuchiwwithyaidichepnkhrngaerkinchwngkhristthswrrs 1970 nkchiwekhmichawxemriknphuidrbrangwloneblsakhaekhmiidichiwrs SV40 thiddaeplngephuxihmidiexnexkhxngiwrsthalayaebkhthieriy l lambda phage ephuxsngyinekhaipinesllitkhxnglingthiephaaiw nxkcakcaichinnganwicythangxnuchiwwithyaaelw ewketxriwrsyngichinyinbabd gene therapy aelawkhsinkhunsmbtiaemewketxriwrscaddaeplngephuxprayuktichodyechphaa aetpktikmikhunsmbtisakhybangxyangkhlay kn plxdphy thungewketxriwrsbangkhrngcathamacakiwrskxorkh aetkcaddaeplngthangphnthukrrmephuxldkhwamesiynginkarcdkariwrs pktiepnkarlb deletion cionmthikhadimidinkarthayaebb karkhyayphnthuiwrs viral replication iwrsechnnicungsamarththaiheslltidechuxidxyangmiprasiththiphaph aethlngcakeslltidechuxaelw kcatxngmiiwrstwchwyxunepnphuihoprtinthikhadhayipephuxphlitxnuphakhiwrs virion sungepnewketxrihm miphisnxy ewketxriwrskhwrmiphlthangsrirwithyanxytxesllthitidechux esthiyr iwrsbangxyangimesthiyrkhuxsamarthcdwangcionmkhxngtnihmidxyangrwderw sungyngkicthithaodyichiwrsihkhadkaraelathasaimid pkticungtxnghlikeliyngiwrsechnni echphaaecaacngtxchnidesll ewketxriwrsodymaksrangephuxthaihesllchnidtang makthisudtidechux aetbangkhrng ktxngkarkhunsmbtitrngknkham hnwyrbkhxngiwrs viral receptor samarthddaeplngihelngepathiesllchnididchnidhnungodyechphaa karddaeplngiwrsechnniepnkrabwnkar pseudotyping mitwrabu ewketxriwrsmkprakxbkbyinthichwyrabuwaesllidtidechuxiwrsnn yinechnnieriykwa marker yinsx yinsxthisamyepnkarduxyaptichiwnabangchnid esllthitidechuxaelaimtidechuxcungsamarthaeykxxkcakknidngay ephraaesllthiimidyinkhxngewketxriwrskcaimduxyaptichiwna cungimsamarthkhyayphnthuinthiephaaxnmiyaptichiwnann karprayuktichnganwicyphunthan ewketxriwrsdngedimphthnakhunephuxichepnthangeluxkkhxngkrabwnkar transfection ephuxsng naked DNA ekhaipinesllinkarthdlxngthangxnuphnthusastr ethiybkbwithikar transfection thrrmda echn calcium phosphate precipitation karthayoxnyinphaniwrs transduction samarththaihesllekuxbetmrxytidechuxodyimmiphlxyangrunaerngtxkhwamxyurxdkhxngesll txngkarxangxing xnung iwrsbangxyangrwmklayepnswncionmkhxngesllcungthaihyinkhxngiwrskhngxyuidxyangesthiyr yinthiekharhsoprtinsamarthihesllaesdngxxkidodyichewketxriwrs bxykhrngephuxsuksakarthangankhxngoprtinnn ewketxriwrsodyechphaariothriwrs retrovirus sungaesdngxxkyinsx marker gene xyangesthiyrodyepnyinechn Green fluorescent protein GFP idichxyangkwangkhwangephux tidpay esllaelwtidtamesllaelalukhlankhxngmn echn inkarthdlxng xenotransplantation thiesllxntidechuxiwrscaplukthayihkbstwthukebiyn host karaethrkyin gene insertion thisamarththaiddwyewketxriwrs mikhaichcaynxykwawithikarnxkexathyin gene knockout aetthatxngkarldradbkaraesdngxxkkhxngyin gene silencing karaethrkyinbangkhrngkmiphlthiimechphaaecaacngtxyinxun cungxacihphlthiimaennxn yinbabd yinbabdepnethkhnikhaekikhyinthikxorkh inxnakht xacepnwithirksaorkhthangphnthukrrmtang echn phawaphumikhumknbkphrxnghlayxyangrwmknaebbrunaerng SCID sistikifobrsis hruxaemaethiomfieliychnidex ephraaorkhehlaniekidcakkarklayphnthukhxngladbdiexnexthiekharhsyinodyechphaa yinbabdthithdlxngidichiwrsephuxsngyinthipktikhuxirorkhekhaipinesllrangkaykhxngkhnikh sungaemcaprasbkhwamsaercxyangmak aetkyngtxngaekikhpyhaenuxngkbwithihlayxyangkxncanamaichidxyangthwip echn phbwa kartxbsnxngkhxngphumikhumkntxiwrsimephiyngkhdkhwangkarsngyinipyngesllepahmay aetyngsamarthsrangphawaaethrksxnthirunaerngdwy karthdlxngyinbabdaerk inpi 1999 thaihwyrunchaykhnhnungesiychiwitemuxrksadwyewketxrthiepnxadioniwrs ewketxriwrsbangxyang echn riothriwrsaekmma gamma retrovirus aethrkcionmkhxngtnekhakbokhromosmkhxngesllthukebiynthitaaehnngxnehmuxncaepnsum sungkhdkhwangkarthanganpktikhxngyinaelwkxmaerng inkarthdlxngyinbabdthiichiwrsniephuxrksaorkh SCID inpi 2002 khnikh 4 khnekidmaerngemdeluxdkhawodyepnphlkhxngkarrksa aet 3 khnkrksahaydwyekhmibabdewketxrthiepn adeno associated virus plxdphymakkwaineruxngniephraaprakxbekhakbcionmmnusythitaaehnngediywkn aelasamarthichkborkhhlayxyang echn orkhxlisemxr wkhsin wkhsinmiewketxrepn live vector vaccine epnwkhsinthiichiwrsthithaihxxnaexdwysarekhmiephuxsngswnkhxngculchiphkxorkhaelwkratunphumikhumknihtxbsnxng pcccubnkalngphthnaiwrsthiaesdngxxkoprtinkhxngculchiphkxorkhepnwkhsintxtanculchiphehlann odymikhxdiechnediywkbwkhsindiexnex yinthiichinwkhsinnipkticaekharhsoprtinthiphiwkhxngculchiphkxorkhsungepnaexntiecn aelwkcaaethrkyinekhaipincionmkhxngiwrsthiimkxorkhephuxichepnphahanayin emuxiwrsthiimkxorkhekhaipinesllrangkayaelw yinkcaaesdngxxkepnoprtin khuxepnaexntiecn thiphiwkhxngesllaelwkxkartxbsnxngkhxngphumitanthan twxyangkkhux wkhsinokhwid 19 AZD1222 khxngmhawithyalyxxksfxrd bristhaexstraesenka ewketxriwrsinkrniniepnxadioniwrskhxngchimaepnsithipktiimkxorkhinmnusy aelwnamaddaeplngisyinoprtin spike sungmixyuthiphiwkhxngxnuphakhiwrsokhwid SARS CoV 2 odyxadioniwrscathaihaephrphnthutxipimid xadioniwrsniichepnewketxr phahasngyinoprtinkhxngiwrsokhwid 19 ipthiesllkhxngmnusysungkcaaesdngxxkoprtinni aelwthaihphumikhumkntxbsnxng dngnn thakhnthiidwkhsintidechuxokhwidtxma phumikhumknkcaruckoprtinkhxngiwrsokhwid 19 aelwcungtxbsnxngpxngknorkhidxyangrwderw limofistaebb T samarthrabuesllthitidechuxxasyoprtinaeplkplxmthiesllphlit kartxbsnxngkhxngesll T sakhyxyangyingephuxpxngknkartidechuxiwrsaelaorkhtang echn malaeriy wkhsinthiichiwrsepnewketxrcakxihesllsrangoprtinaeplkplxmkhxngculchiphkhlaykbwkhsinechuxtay attenuated vaccine xun echn wkhsinopliox aetephraawkhsiniwrsmiyinkhxngculchiphephiyngaekhswnelk cungplxdphykwa echn kartidechuxaebbpraprayenuxngkbwkhsinkepnipimidely karsngya iwrsnk khux canarypox sayphnthuhnungidddaeplngephuxichsngoprtin interleukin 2 khxngaemwephuxrksaaemwthimimaerngesniy fibrosarcoma praephthriothriwrs riothriwrs retrovirus ichepnewketxrhlkxyanghnunginyinbabdpccubn riothriwrslukphsm echn Moloney murine leukemia virus samarthrwmyinekhakbcionmkhxngesllthukebiynxyangesthiyr odymioprtinriewirsaethrnskhripeths RT ephuxsrangkxppithiepndiexnexcakcionmthiepnxarexnex aelamioprtin integrase thithaihsamarthrwmkxppinnekhakbcionmkhxngesllid sungidichinkarthdlxngthangkhlinikthixngkhkarxaharaelayashrthxnumtihlaynganrwmthngorkh X linked severe combined immunodeficiency SCID X1 ewketxrthiepnriothriwrsxacaephrphnthuidhruximid aebbaephrphnthuimidsamythisudinngansuksatang epniwrsxnaethnthiyinsungcaepninkarsrangxnuphaphiwrs virion replication and packaging dwyyinxun hruxlbyintrngnnesiy iwrsechnnisamarththaihesllepahmaytidechuxaelwsngyinekhaipinesll aetkimsamarthdaeninkartamwithikarslayesllthrrmda lytic pathway sungthaihesllslayaelwtay innytrngkham ewketxriwrsthisamarthaephrphnthuidmiyinthicaepninkarsrangxnuphakhiwrs cungsamarthaephrphnthutxipidemuxeslltidechuxaelw ephraacionmkhxngiwrssahrbewketxrechnniyawkwamak yinthisamarthaethrkekhaipincionmcungyawcakdethiybkbewketxrthiimsamarthaephrphnthuid odykhunxyukbewketxr ladbdiexnexthiaethrkekhaipiniwrsthiaephrphnthuidpkticayawpraman 8 10 kiolebs kB aemnicacakdladbcionmthisamarthaethrkekhaipidhlayxyang aetladb Complementary DNA tang kyngid khxesiyhlkinkarichriothriwrsepnewketxrkkhux esllthukebiyncatxngaebngtwxyangaexkthifephuxthayoxnyinkhxngiwrs dngnn esllthipktiimaebngtwechnesllprasathkcathnthanimtidechuxaelaimthayoxnyinkhxngiwrs mikhwamkngwltngaettnwakarklayphnthuodyaethrkyin insertional mutagenesis enuxngkbkarrwmyiniwrsekhakbcionmkhxngesllxackxmaernghruxmaerngemdeluxdkhaw sungepnephiyngthvsdicnkrathngthdlxngyinbabd kbkhnikh SCID X1 10 khnodyich Maloney murine leukemia virus miphlepnkhnikhsxngkhnekidmaerngemdeluxdkhawephraawkhsinthirwmekhakbcionmidkratunkarthangankhxngyinmaerngkhux LMO2 thixyuikl elnthiiwrs karsrangxnuphakhiwrs packaging aelakarthayoxnyin transduction khxngewketxrelnthiiwrs Packaging cell esllbrrcuiwrs sungmkichesllmnusysay HEK 293 Target cell esllthitxngkarihtidechuxiwrsthiepnewketxr elnthiiwrs lentivirus epnklumyxykhxngriothriwrs sungbangkhrngichepnewketxrinyinbabdephraasmrrthphaphinkarrwmekhakbcionmkhxngesllthiimaebngtw epnlksnaphiesskhxngiwrsniephraariothriwrsxun samarththakarkbesllthikalngaebngtwethann cionmkhxngiwrsinrupaebbxarexnexcaphankrabwnkar reverse transcription emuxiwrsekhaipinesllephuxsrangdiexnexcakxarexnexodyichexnismriewirsaethrnskhripeths RT aelwkcaaethrkekhaipincionmkhxngesllthitaaehnngsum aetngansuksapi 2015 kaesdngwa karaethrkdiexnexkhxngiwrsimichthitaaehnngsum aetcaelngyinthiaexkthifodysmphnthkbkarcdraebiybkhxngcionm odyichexnism integrase khxngiwrs inkhnni ewketxrsungeriykwaopriwrs provirus cakhngxyuincionmaelwsubthxdipynglukhlankhxngesllemuxaebngtw yngimmiethkhnikhkahndtaaehnngthiiwrsekharwmkbcionmsungxackxpyha ephraaopriwrsxackhdkarthangankhxngyin thaihyinmaerngthanganaelwkxmaerng sungepnkhxkngwlxyanghnunginkarprayuktichelnthiiwrsinyinbabd aetngansuksatang kaesdngwa ewketxrelnthiiwrsmiaenwonmnxykwainkarrwmekhakbyinintaaehnngthixackxemuxmaerngethiybkbewketxrriothriwrsaekmma odyechphaakkhux ngansuksahnungphbwaewketxrelnthiiwrsimephimxubtikarnenuxngxk hruxthaenuxngxkihekiderwkhuninsayphnthuhnuthimixubtikarnenuxngxksung xnung karthdlxngthangkhlinikthiichewketxrelnthiiwrsinyinbabdephuxrksaexchixwiimkxkarklayphnthuyinhruxkxmaerngthisungkhun ephuxkhwamplxdphy ewketxrelnthiiwrscaimmiyinthicaepninkaraephrphnthuiwrs ephuxphlitelnthiiwrs phlasmidhlaychnidcana transfection ekhaipinesllsrangxnuphakhiwrsthieriykwa packaging cell line odypktiepnesllittwxxnmnusysay HEK 293 esllsayinrup phlasmidxyangnxyhnungtw phlasmidsayinesllsayinrup thwiperiykwaphlasmidbrrcu packaging plasmid caekharhsoprtinkhxngxnuphakhiwrs virion echn aekhpsid capsid aelariewirsaethrnskhripeths phlasmidxikxyang phlasmidkhwainesllsayinrup miwsduyinthimunghmayihewketxrepntwsng sungthxdrhsepnxarexnexsayediywodymiekhruxnghmayepnladbyin ps psi aelwbrrcuekhaipinxnuphakhiwrs xnuphakhiwrsnxkesllthngsxnginrup xadioniwrs imehmuxnkbelnthiiwrs diexnexkhxngxadioniwrscaimrwmekhakbcionmkhxngesllthukebiyn cungimaephrphnthukhuximthayaebbemuxesllaebngtw sungcakdihichiwrsaetinnganwicyphunthan aetkyngichinkarthdlxnginkay in vitro aelanxkkay in vivo iddwyehmuxnkn ewketxrxadioniwrsodyhlkcaichinyinbabdaelawkhsin aetephraamnusyprasbkbxadioniwrsthiepnehtukartidechuxthangedinhayic thangedinxahar aelatabxy khnodymakkcamisarphumitanthanaebbkacdvththi neutralizing antibody sungsamarthkhaiwrskxnekhaipthungesllepahmay ephuxaekpyhani nkwithyasastrpccubnkalngtrwcsxbxadioniwrsthitidstwspichisxun echn wkhsinokhwid 19 AZD1222 thimnusyyngimmiphumikhumkn Adeno associated viruses adeno associated virus AAV epniwrselk thithaihmnusyaelaiphremtspichisxun tidechux odymichuxechnnnephraaerimaerknukwaepnsingpnepuxnthixyukbxadioniwrs cnthungpccubn AAV yngimpraktwathaihtidorkh aelaepnehtuihphumikhumkntxbsnxngaebbxxnmak aetksamarththaihesllthngthiaebngtwaelaimaebngtwtidechux aelaxacrwmekhakbcionmkhxngesllthukebiyn aetiwrsthiaeplngepnewketxrpkticadarngxyuinsphaphphlasmidthiimprakxbekhakbcionmkhxngesll odyyngsamarthaesdngxxkoprtinidinrayayawxyangesthiyr khunlksnaechnni thaih AAV epnaekhndiedtthidiephuxichsrangewketxriwrssahrbyinbabd aetksamarthaethrkyinisiwrsidephiyng 5 kiolebs sungelkmakethiybkbcionmkhxngiwrsexng ephraaiwrssmarthichepnewketxrsahrbyinbabdid nkwicycungidsrang AAV aeplngrupthieriykwa self complementary adeno associated virus scAAV ephraa AAV dngedimprakxbdwydiexnexngephiyngsayediyw cungtxngphankrabwnkarsngekhraahsaythisxng ethiybkb scAAV sungmidiexnexthngsxngsayprakxbekhadwyknphankrabwnkar annealing emuximtxngsngekhraahdiexnexsaythisxng scAAV cungyngihesllaesdngxxkoprtinthitxngkaridxyangrwderw nxkcakniaelw scAAV kmilksnatang khxng AAV dwy iwrskhxngphuch iwrsthitidphuchsamarthaeplngepnewketxriwrs ephuxichsngyinekhaipinesllphuch aelayngepnaehlngwsduthangchiwphaphaelanaonethkhonolyi iwrstidphuchrwmthngyasubkhux tobacco mosaic virus TMV epniwrsaerksudthiidkhnphb lukphsm ihbrid ewketxrlukphsm ewketxrihbrid epnewketxriwrsthiphanphnthuwiswkrrmephuxihmikhunsmbtikhxngewketxrmakkwahnungxyang khuxcaddaeplngiwrsimihmikhxesiykhxngewketxriwrsthwip sungxacmikhwamcuyincakd limited loading capacity kxptikiriyakhxngphumikhumkn immunogenicity epnphistxyin genotoxicity aelaimrxngrbkaraesdngxxkkhxngyinlukphsm transgenic expression inrayayawid ephraathdaethn singthiimtxngkardwysmrrthphaphthitxngkar ewketxrlukphsminxnakhtxaccathakariddikwaewketxrmatrthanindankhwamplxdphyaelaprasiththiphaphkarrksaorkhkhxthathayinkarprayuktichkareluxkewketxriwrsephuxsngyinekhainesllmipyhahlayxyang miewketxriwrscakdchnidthiichephuxrksaid sungklwnxacthaihrangkaysrangphumikhumknthaehnwamnepnsingaeplkplxm emuxichaelw ewketxriwrsnikcaimsamarthichkbbukhkhlnnidxikephraarangkayruckmnaelw echn thawkhsinhruxyinbabdhnunglmehlwinkarthdlxngthangkhlinik iwrsnicaimsamarthichsahrbbukhkhlnnxikephuxepnwkhsinhruxyinbabdxyangxuninxnakht xnung bukhkhlxacmiphumikhumkntxtaniwrsnnkxnaelwthaihkarrksaimidphl aetephraakaretriymchidwkhsindiexnexepla priming aelwtamdwywkhsinewketxriwrs boosting phbwa thaihphumikhumkntxbsnxngxyangekhmaekhng klikyngimchdecn aemcamiphumikhumkntxewketxriwrsxyuaelw klyuththnicungsamarthichaekpyhaniid odyxacephimkhaichcayaelaxupsrrkhinkaraeckcahnaywkhsin phumikhumknthimixyuaelwkxacaekidodyephimkhnadwkhsinhruxepliynchxngthangkarihwkhsin cuddxykhxngewketxriwrsbangxyang echn epnphistxyin aelaaesdngxxkyinlukphsmnxy xacaekiddwykarichewketxrlukphsmechingxrrthtransfection epnkrabwnkarnakrdniwkhlixikbrisuththiekhaipinesllyuaekhrioxtxyangcngicephuxprakxbekhakbokhromosmkhxngesll Naked DNA epndiexnexirhisotnthisngcakesllhnungipyngxikesllhnunginkrabwnkarthayoxnyinthieriykwa transformation hrux transfection xenotransplantation epnkarplukthayesll enuxeyux hruxxwywaepn caksingmichiwitspichishnungihaekxikspichishnung reverse transcription RT epnkrabwnkarthiichexnismriewirsaethrnskhripeths RT ephuxsrang complementary DNA cDNA cakaebbthiepnxarexnex sungpktiekidinriothriwrs aetkekidiniwrsxun dwyxangxingGoff SP Berg P December 1976 Construction of hybrid viruses containing SV40 and lambda phage DNA segments and their propagation in cultured monkey cells Cell 9 4 PT 2 695 705 doi 10 1016 0092 8674 76 90133 1 PMID 189942 S2CID 41788896 Xenotransplantation World Health Organization Beardsley T February 2000 A tragic death clouds the future of an innovative treatment method Scientific American McDowell N 2003 01 15 New Scientist khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2008 10 22 subkhnemux 2021 01 19 Hacein Bey Abina S Hauer J Lim A Picard C Wang GP Berry CC aelakhna July 2010 Efficacy of gene therapy for X linked severe combined immunodeficiency The New England Journal of Medicine 363 4 355 64 doi 10 1056 NEJMoa1000164 PMC 2957288 PMID 20660403 Sasmita AO April 2019 Current viral mediated gene transfer research for treatment of Alzheimer s disease Biotechnology amp Genetic Engineering Reviews 35 1 26 45 doi 10 1080 02648725 2018 1523521 PMID 30317930 S2CID 52978228 amfAR The Foundation for AIDS Research khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2021 01 12 subkhnemux 2021 01 19 Arashkia A Jalilvand S Mohajel N Afchangi A Azadmanesh K Salehi Vaziri M aelakhna 2020 Severe acute respiratory syndrome coronavirus 2 spike S protein based vaccine candidates State of the art and future prospects Reviews in Medical Virology n a n a e2183 doi 10 1002 rmv 2183 PMC 7646037 Exeter Fellow Dr Catherine Green leads the production of a potential COVID 19 vaccine in Oxford Exeter College phasaxngkvs 2020 04 06 subkhnemux 2020 04 24 AZD1222 vaccine met primary efficacy endpoint in preventing COVID 19 www astrazeneca com phasaxngkvs subkhnemux 2020 11 27 EPAR summary for the public Oncept IL 2 Feline interleukin 2 recombinant canary pox virus EMA 151380 2013 EMEA V C 002562 PDF European Medical Agency 2013 Cavazzana Calvo M Hacein Bey S de Saint Basile G Gross F Yvon E Nusbaum P aelakhna April 2000 Gene therapy of human severe combined immunodeficiency SCID X1 disease Science 288 5466 669 72 Bibcode 2000Sci 288 669C doi 10 1126 science 288 5466 669 PMID 10784449 Varmus Harold Coffin John M Hughes Stephen H b k 1997 Principles of Retroviral Vector Design Retroviruses Plainview N Y Cold Spring Harbor Laboratory Press ISBN 978 0 87969 571 2 Hacein Bey Abina S F Le Deist Carlier F Bouneaud C Hue C De Villartay JP aelakhna April 2002 Sustained correction of X linked severe combined immunodeficiency by ex vivo gene therapy The New England Journal of Medicine 346 16 1185 93 doi 10 1056 NEJMoa012616 PMID 11961146 Hacein Bey Abina S Von Kalle C Schmidt M McCormack MP Wulffraat N Leboulch P aelakhna October 2003 LMO2 associated clonal T cell proliferation in two patients after gene therapy for SCID X1 Science 302 5644 415 9 Bibcode 2003Sci 302 415H doi 10 1126 science 1088547 PMID 14564000 S2CID 9100335 Marini B Kertesz Farkas A Ali H Lucic B Lisek K Manganaro L aelakhna May 2015 Nuclear architecture dictates HIV 1 integration site selection Nature 521 7551 227 31 Bibcode 2015Natur 521 227M doi 10 1038 nature14226 PMID 25731161 S2CID 974969 Cattoglio C Facchini G Sartori D Antonelli A Miccio A Cassani B aelakhna September 2007 Hot spots of retroviral integration in human CD34 hematopoietic cells Blood 110 6 1770 8 doi 10 1182 blood 2007 01 068759 PMID 17507662 Montini E Cesana D Schmidt M Sanvito F Ponzoni M Bartholomae C aelakhna June 2006 Hematopoietic stem cell gene transfer in a tumor prone mouse model uncovers low genotoxicity of lentiviral vector integration Nature Biotechnology 24 6 687 96 doi 10 1038 nbt1216 PMID 16732270 S2CID 8966580 Lidonnici MR Paleari Y Tiboni F Mandelli G Rossi C Vezzoli M aelakhna December 2018 Multiple Integrated Non clinical Studies Predict the Safety of Lentivirus Mediated Gene Therapy for b Thalassemia Molecular Therapy Methods amp Clinical Development phasaxngkvs 11 9 28 doi 10 1016 j omtm 2018 09 001 PMC 6178212 PMID 30320151 Ramos Kuri M Rapti K Mehel H Zhang S Dhandapany PS Liang L aelakhna November 2015 Dominant negative Ras attenuates pathological ventricular remodeling in pressure overload cardiac hypertrophy Biochimica et Biophysica Acta BBA Molecular Cell Research 1853 11 Pt A 2870 84 doi 10 1016 j bbamcr 2015 08 006 PMC 4715892 PMID 26260012 Adeno associated virus vector integration 2010 PMID 19649989 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a Cite journal txngkar journal help Nussbaum Robert L McInnes Roderick R Willard Huntington F 2015 Thompson amp Thompson Genetics in Medicine Canada ELSEVIER p 278 ISBN 978 1 4377 0696 3 McCarty DM Monahan PE Samulski RJ August 2001 Self complementary recombinant adeno associated virus scAAV vectors promote efficient transduction independently of DNA synthesis Gene Therapy 8 16 1248 54 doi 10 1038 sj gt 3301514 PMID 11509958 Abrahamian Peter Hammond Rosemarie W Hammond John 2020 06 10 Plant Virus Derived Vectors Applications in Agricultural and Medical Biotechnology Annual Review of Virology 7 doi 10 1146 annurev virology 010720 054958 ISSN 2327 0578 PMID 32520661 Pasin Fabio Menzel Wulf Daros Jose Antonio June 2019 Harnessed viruses in the age of metagenomics and synthetic biology an update on infectious clone assembly and biotechnologies of plant viruses Plant Biotechnology Journal 17 6 1010 1026 doi 10 1111 pbi 13084 ISSN 1467 7652 PMC 6523588 PMID 30677208 Huang S Kamihira M 2013 Development of hybrid viral vectors for gene therapy Biotechnology Advances 31 2 208 23 doi 10 1016 j biotechadv 2012 10 001 PMID 23070017 Nayak S Herzog RW March 2010 Progress and prospects immune responses to viral vectors Gene Therapy 17 3 295 304 doi 10 1038 gt 2009 148 PMC 3044498 PMID 19907498 Zhou HS Liu DP Liang CC November 2004 Challenges and strategies the immune responses in gene therapy Medicinal Research Reviews 24 6 748 61 doi 10 1002 med 20009 PMID 15250039 S2CID 17622444 Crommelin DJ Sindelar RD Meibohm B 2008 Pharmaceutical Biotechnology Fundamentals and application London Taylor amp Francis ISBN 978 1420044379 Yang ZY Wyatt LS Kong WP Moodie Z Moss B Nabel GJ January 2003 Overcoming immunity to a viral vaccine by DNA priming before vector boosting Journal of Virology 77 1 799 803 doi 10 1128 JVI 77 1 799 803 2003 PMC 140625 PMID 12477888 Pandey A Singh N Vemula SV Couetil L Katz JM Donis R aelakhna 2012 Subbiah Elankumaran b k Impact of preexisting adenovirus vector immunity on immunogenicity and protection conferred with an adenovirus based H5N1 influenza vaccine PLOS ONE 7 3 e33428 Bibcode 2012PLoSO 733428P doi 10 1371 journal pone 0033428 PMC 3303828 PMID 22432020 aehlngkhxmulxunTorashima T Koyama C Higashida H Hirai H 2007 Production of neuron preferential lentiviral vectors Protocol Exchange doi 10 1038 nprot 2007 89 Okada Y Ikawa M 2007 Placenta specific gene manipulation by transducing zona free blastocyst using lentiviral vector Protocol Exchange doi 10 1038 nprot 2007 62 Fry JW Wood KJ 1999 06 08 A comparison of vectors in use for clinical gene transfer Expert Reviews in Molecular Medicine