บทความนี้ไม่มีจาก |
จิตวิทยา (อังกฤษ: psychology) คือ ศาสตร์ที่ว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับจิตใจ (กระบวนการของจิต), กระบวนความคิด, และพฤติกรรม ของมนุษย์ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เนื้อหาที่นักจิตวิทยาศึกษาเช่น การรับรู้ (กระบวนการรับข้อมูลของมนุษย์), อารมณ์, บุคลิกภาพ, พฤติกรรม, และรูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล จิตวิทยายังมีความหมายรวมไปถึงการประยุกต์ใช้ความรู้กับกิจกรรมในด้านต่าง ๆ ของมนุษย์ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน (เช่นกิจกรรมที่เกิดขึ้นในครอบครัว, ระบบการศึกษา, การจ้างงานเป็นต้น) และยังรวมถึงการใช้ความรู้ทางจิตวิทยาสำหรับการรักษาปัญหาสุขภาพจิต นักจิตวิทยามีความพยายามที่จะศึกษาทำความเข้าใจถึงหน้าที่หรือจุดประสงค์ต่าง ๆ ของพฤติกรรมที่เกิดขึ้นจากตัวบุคคลและพฤติกรรมที่เกิดขึ้นในสังคม ขณะเดียวกันก็ทำการศึกษาขั้นตอนของระบบประสาทซึ่งมีผลต่อการควบคุมและแสดงออกของพฤติกรรม
บทนำ
จิตวิทยาเป็นศาสตร์ที่ศึกษาค้นคว้าเพื่อนำข้อมูลความรู้มาเสนอ อธิบาย และเพื่อควบคุมและเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของมนุษย์และสัตว์ จิตวิทยามุ่งศึกษาด้านความสัมพันธ์ระหว่างกระบวนการของร่างกายกับจิตใจ ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ที่เป็นระเบียบแบบแผน เพราะร่างกายและจิตใจมักมีการแสดงออกร่วมกัน อีกทั้งยังแสดงออกในแนวทางที่สามารถทำนายได้
ภาษาทางจิตวิทยา
จิตวิทยาก็มีการบัญญัติศัพท์ขึ้นมาเพื่อใช้ในการศึกษาเช่นเดียวกับศาสตร์อื่น ๆ คำศัพท์บางส่วนประกอบด้วยคำศัพท์ที่คนทั่วไปใช้กันอยู่ในชีวิตประจำวัน คำศัพท์บางคำก็เป็นคำศัพท์ทางวิชาการที่คุ้นเคย ถึงแม้ศัพท์บางคำจะเป็นที่เข้าใจ และคุ้นเคยของคนทั่วไป แต่นักจิตวิทยาก็ได้ให้ความหมายเฉพาะเพื่อให้เกิดความเข้าใจอย่างถ่องแท้ในการศึกษาจิตวิทยา
ปัญหาและการเลือกปัญหาของนักจิตวิทยา
เหมือนกับกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ทั่วไป กระบวนการทางจิตวิทยา เริ่มจากการเลือกปัญหาที่สนใจ แล้วจึง สังเกต ศึกษา หรือทดลอง อย่างเป็นระบบ เพื่อรวบรวมข้อเท็จจริงที่จำเป็นต่อการแก้ปัญหา แล้วทำการรวบรวม เรียบเรียง และตีความข้อเท็จจริงที่ได้ หากนักจิตวิทยาพบแนวทางที่จะแก้ปัญหาหรือตอบคำถามที่กำหนด และสามารถนำมาสัมพันธ์ เกี่ยวข้องเป็นคำตอบของคำถามกว้าง ๆ ได้ นักจิตวิทยาก็จะสนใจ และลงมือศึกษาทันที แต่บางครั้งปัญหาก็เกิดขึ้นจากการสังเกตสิ่งรอบๆ ตัว
นักจิตวิทยาได้แบ่งความคิดเห็นเกี่ยวกับการศึกษาทางจิตวิทยาออกเป็น 3 ฝ่าย ได้แก่ กลุ่มแรกเห็นว่า การเลือกปัญหานั้น ขึ้นอยู่กับสถานการณ์เฉพาะหน้าของนักจิตวิทยา กลุ่มที่สองนั้นกลับเห็นว่า การเลือกปัญหาและการตั้งคำถามควรจะเป็นไปตามทฤษฎี และกลุ่มหลังเห็นว่าความอยากรู้อยากเห็นที่เกิดขึ้นเอง เป็นแรงจูงใจที่ดีที่สุดสำหรับการค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์ แต่เมื่อเรามองโดยรวมแล้ว จะเห็นว่าทั้งความอยากรู้อยากเห็นและทฤษฎี ต่างก็มีส่วนช่วยในการสังเกต อธิบาย และตีความข้อเท็จจริงต่าง ๆ เพราะทฤษฎีนั้นมีบทบาทที่ช่วยให้เราเข้าใจสิ่งที่สังเกต และชี้ให้เห็นคำถามใหม่ ๆ อีกทั้งยังชี้ให้เห็นความเป็นไปได้ของข้อมูลต่าง ๆ ดังนั้นทฤษฎีจึงมีประโยชน์และมีบทบาทเป็นที่ยอมรับทั่วไปและทั่วโลกก็ต่างกันยอมรับ
ทฤษฎีสำหรับผู้ป่วยทางด้านจิตวิทยา
ในทางจิตวิทยานั้นมีทฤษฎีสำหรับผู้ป่วยทางด้านจิตวิทยาอยู่มากมาย หลักนั้นมีทฤษฎีความสับสน คือ ผู้ป่วยนั้นจะเกิดความสับสนและแปรปรวนทางด้านอารมณ์ เกิดจากความไม่แน่นอนของจิต ซึ่งส่วนมากอาการที่แสดงออกมักจะเป็นการทำสิ่งที่ไม่ค่อยปกติ กังวล ไม่แน่นอน และอื่นๆ ทฤษฎีการปฏิเสธ คือ การที่ผู้ป่วยที่มีอาการทางจิตใจซึ่งอาจเกิดจากปัญหาทางบ้าน, ปัญหาทางด้านสังคม ซึ่งผู้ป่วยส่วนใหญ่มักจะโยนเอาปัญหาที่ตัวเองมีอยู่ให้กับผู้อื่น เนื่องจากการที่ไม่สามารถยอมรับปัญหาเหล่านั้นได้ โดยมากแล้วปัญหาเหล่านี้มักจะหายในระยะเวลาไม่นานนัก แต่หากยังมีอยู่ควรพบจิตแพทย์--ดร.แอล.ดี.ชลิปป
วิธีการทางวิทยาศาสตร์
เหมือนกับวิธีการทางวิทยาศาสตร์ทั่วไป วิธีการทางจิตวิทยาประกอบด้วย 2 ขั้นตอนใหญ่ ๆ คือ ขั้นการสังเกตองค์ประกอบหรือตัวแปรที่สำคัญ ๆ อย่างมีระบบ และขั้นการรวบรวมและตีความข้อมูลที่ได้มา ซึ่งการดำเนินการสังเกตอย่างมีระบบ คือ ความพยายามที่จะกำจัดอิทธิพลของอคติหรือความลำเอียงของผู้สังเกต และสามารถรับรองได้ว่า การสังเกตนั้นสามารถกระทำซ้ำได้
วิธีการสังเกตอย่างมีระบบนั้น มี 2 วิธี ได้แก่ วิธีการทดลอง (experimental method) โดยสร้างสถานการณ์ ขึ้นเพื่อสังเกตสิ่งต่าง ๆ ที่เกิดตามมา และวิธีการหาความสัมพันธ์ (correlation method) โดยการสังเกตเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ
วิธีการทดลอง
ผู้สังเกตจะถูกเรียกว่าผู้ทดลองที่จะสร้างสภาวะหรือตัวแปรขึ้นมา เพื่อแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์หรือผลกระทบต่อ ตัวแปรอื่น ๆ อาจเป็นการเปรียบเทียบตัวแปรระหว่างกลุ่มทดลอง 2 กลุ่มหรือมากกว่านั้น แล้วรายงานผลการทดลอง หรือผลจากการรวบรวมและตีความหมายของการเปรียบเทียบที่ได้จากการทดลอง วิธีการนี้นิยมกระทำในห้องทดลองหรือห้องปฏิบัติการ เพราะสามารถควบคุมตัวแปรหรือสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ได้ตามที่ต้องการ หรือให้เหลือน้อยที่สุด อีกทั้งการสังเกตก็ สามารถกระทำได้ง่ายและมีความถูกต้องแม่นยำ
ตัวแปรที่ใช้ในการทดลองแบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่ ตัวแปรอิสระ ซึ่งหมายถึงตัวแปรที่ถูกกำหนดขึ้น และ ตัวแปรตาม ซึ่งหมายถึงตัวแปรที่คาดว่าจะเป็นผลจากการกระทำกับตัวแปรอิสระ
หลังจากได้ทราบผลจากการทดลองแล้ว ผู้ทดลองต้องทำการสรุปแล้วรายงานผลการทดลองให้ผู้อื่นทราบ เพื่อให้ผู้อื่นสามารถนำผลดังกล่าวไปใช้ประโยชน์ หรือทำการศึกษาต่อยอดความรู้ออกไป
วิธีการหาความสัมพันธ์
วิธีการหาความสัมพันธ์ เป็นการศึกษาความสัมพันธ์ของตัวแปรตั้งแต่สองตัวขึ้นไป โดยที่ไม่ได้เจาะจงว่าตัวแปรใดมีอิทธิพลเหนือตัวแปรใด ค่าความสัมพันธ์ของตัวแปร 2 ตัว เรียกว่า ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (coefficient correlation) ซึ่งจะมีค่าระหว่าง -1.00 ถึง 1.00
วิธีการหาความสัมพันธ์ มีดังต่อไปนี้
- วิธีวัดทางจิตวิทยา (Psychometric techniques) ใช้แบบทดสอบทางจิตวิทยาและแบบสอบถาม เพื่อวัด ความแตกต่างของลักษณะต่างๆของบุคคล หรือความเปลี่ยนแปลงต่างๆของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง โดยทั่วไปแบบทดสอบที่ใช้ใน งานวิจัยด้านหาความสัมพันธ์สามารถทดสอบตัวแปรอิสระได้เป็นรายๆไป ดังนั้น วิธีวัดทางจิตวิทยานี้จึงแสดงให้เห็น ความสัมพันธ์ของตัวแปร 2 ตัว ด้วยผลที่ได้จากการทำแบบทดสอบหรือแบบสอบถามนั่นเอง
- การสังเกตในสภาพธรรมชาติ (Naturalistic Observation) การสังเกตในสภาพธรรมชาติจะให้ข้อ เท็จจริงได้มากกว่า เพราะเป็นการสังเกตพฤติกรรมที่เกิดขึ้นจริงในชีวิต ผู้ถูกสังเกตจะต้องไม่รู้ตัวว่าถูกสังเกต เพื่อให้พฤติกรรม ต่างๆเป็นไปตามธรรมชาติโดยแท้จริง แต่ต้องใช้ระยะเวลาในการสังเกตระยะหนึ่ง ซึ่งบางครั้งอาจค่อนข้างยาวนาน
- การสังเกตด้วยวิธีการทางคลีนิค (Clinical Method of Observation) เป็นการศึกษาประวัติรายบุคคล (กรณีศึกษา) ซึ่งจะช่วยให้นักจิตวิทยาเข้าใจประวัติความเป็นมา พื้นฐานการอบรมเลี้ยงดู รวมไปถึงพื้นฐานของการ เกิดพฤติกรรม เพื่อใช้ประกอบการบำบัดรักษาหรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
วิธีการสังเกตดังกล่าวอาจเกิดผิดพลาดด้วยเหตุปัจจัยต่าง ๆ ผู้ศึกษาจึงต้องมีการวางแผนและได้รับการฝึกฝนอย่างดี โดยเฉพาะการสังเกตวิธีทางคลีนิค ที่ไม่สามารถกระทำซ้ำได้
ทั้งวิธีการทดลองและวิธีการหาความสัมพันธ์ต่างก็มีประโยชน์และความเหมาะสม ซึ่งขึ้นอยู่กับแต่ละกรณี แต่หลายๆ ครั้งที่มีการผสมผสานทั้งสองวิธีเข้าด้วยกัน เพื่อการศึกษาที่ละเอียดหลายๆด้าน และเป็นประโยชน์ในทางจิตวิทยามากยิ่งขึ้น
โครงสร้างของจิตวิทยา
จิตวิทยาประกอบด้วยโครงสร้าง 3 ส่วนใหญ่ ๆ คือ
- ลักษณะเนื้อหาวิชา แบ่งเป็นเรื่องต่าง ๆ ได้แก่ พัฒนาการของมนุษย์, พันธุกรรม, ระบบการตอบสนอง, การรับรู้, การรู้สึก, แรงจูงใจ, อารมณ์, ภาษา การคิด และการแก้ปัญหา, เชาวน์ปัญญาและการทดสอบเชาวน์ปัญญา, บุคลิกภาพแบบต่าง ๆ และการประเมินบุคลิกภาพ, รูปแบบต่างๆของพยาธิสภาพทางพฤติกรรม, จิตบำบัด, และจิตวิทยาชุมชน
- เป้าหมายของจิตวิทยา เป้าหมายของการศึกษาได้มาจากวิธีการที่แตกต่างกัน 3 ประเภท ได้แก่
การวิจัยบริสุทธิ์หรือการวิจัยพื้นฐาน มาจากการค้นคว้าด้วยใจรัก ค้นหาหลักการของพฤติกรรมทั้งของมนุษย์และสัตว์ โดย ไม่ได้คำนึงว่าจะสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับสังคมได้หรือไม่ ผู้วิจัยต้องเป็นผู้มีระเบียบแบบแผน มีจรรยาบรรณของนักวิจัย มีจริยธรรมและความเป็นกลางทางสังคม
- การวิจัยประยุกต์ ให้ความสนใจในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในขณะนั้น ผลจากการวิจัยในปัญหานี้สามารถ นำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริงได้ การวิจัยดังกล่าวต้องได้รับการวางแผนดำเนินการ ควบคุมวิธีการด้วยความระมัดระวัง การวิจัย บริสุทธิ์ก่อให้เกิดการวิจัยประยุกต์อย่างมีแบบแผน
- การประยุกต์ใช้ เป็นการประยุกต์คำตอบที่ได้ ไปใช้ในสถานการณ์จริงๆ ในโลกซึ่งไม่มีการควบคุม สภาวะใดๆ นักจิตวิทยากลุ่มที่มีการประยุกต์ใช้มากที่สุด คือ นักจิตวิทยาคลินิก รองลงมาคือ นักจิตวิทยาการศึกษา
- สถานที่ดำเนินงานทางจิตวิทยา นักจิตวิทยาสาขาต่างๆทำงานในสถานที่แตกต่างกัน บางสาขาทำวิจัยและสอนในมหาวิทยาลัยและวิทยาลัย บาง สาขาทำงานในคลินิกและโรงพยาบาล, ศูนย์บริการให้คำแนะนำปรึกษาต่างๆในโรงเรียน, บริษัทหรือโรงงานอุตสาหกรรม, ศูนย์สุขภาพจิต ศูนย์ป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ศูนย์พักฟื้นคนไข้ที่เพิ่งถูกส่งออกจากโรงพยาบาล ศูนย์บริการประชาชน เป็นต้น
ความสัมพันธ์ของจิตวิทยากับศาสตร์อื่น
จิตวิทยามีความสัมพันธ์แน่นแฟ้นกับวิชาจิตเวชศาสตร์ (อันเป็นส่วนหนึ่งของวิชาแพทยศาสตร์ คือสาขาที่ว่าด้วยการรักษาจิตใจ) และกับศาสตร์ทางชีววิทยา ซึ่งได้แก่ สรีรวิทยา ประสาทวิทยาและชีวเคมี พฤติกรรม ของบุคคลจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องศึกษาจากบุคคลนั้นโดยตรงก่อน ทั้งทางด้านพันธุกรรม ระดับวุฒิภาวะ และสภาพการ เคลื่อนไหวของร่างกาย และปัจจุบันก็สัมพันธ์อย่างเด่นชัดกับมานุษยวิทยาและสังคมวิทยา โดยมานุษยวิทยาศึกษาจุดกำเนิด ของมนุษย์ และการสืบทอดวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี สิ่งแวดล้อมทางสังคม ส่วนด้านสังคมวิทยาจะเน้น ศึกษากลุ่มสังคมมากกว่าตัวบุคคล โดยศึกษาการปะทะสังสรรค์ของแต่ละบุคคลในกลุ่ม และศึกษาอิทธิพลของกลุ่มที่มีต่อ แต่ละบุคคล
จิตวิเคราะห์
จิตแพทย์ชาวออสเตรียเชื้อสายยิว คือ ซีคมุนท์ ฟร็อยท์ ได้พัฒนาวิธีการบำบัดทางจิตเรียกว่าจิตวิเคราะห์ การศึกษาของฟร็อยท์เป็นการรวบรวมข้อมูลจากการสังเกต และแปลความหมายพฤติกรรมของคนไข้ของเขา การศึกษาของเขาส่วนมากเป็นการทำความเข้าใจจิตไร้สำนึก การเจ็บป่วยทางจิต และ ทฤษฎีของฟร็อยท์เป็นทฤษฎีทางจิตวิทยาที่นำมาใช้อธิบายพัฒนาการทางพฤติกรรมของมนุษย์ และได้กลายเป็นทฤษฎีที่รู้จักและถกเถียงกันอย่างกว้างขวาง เพราะเรื่องที่เขาศึกษานั้นเกี่ยวข้องกับเรื่องทางเพศ การเก็บกดอารมณ์ทางเพศ และจิตไร้สำนึก ซึ่งในช่วงเวลานั้นเรื่องเหล่านี้ถือเป็นสิ่งต้องห้ามในสังคม แต่ฟร็อยท์ก็สามารถทำให้การศึกษาของเขาเป็นประเด็นสำหรับการสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันอย่างสุภาพได้
ประวัติความเป็นมาของจิตวิทยา
จิตวิทยาได้เริ่มขึ้นโดยนักปราชญ์ชาวกรีก ชื่อ เพลโต และอริสโตเติล เพลโตเชื่อว่าการคิดและการใช้เหตุผลเท่านั้น ที่ทำให้คนเกิดความเข้าใจในสิ่งที่เขาสามารถจะเข้าใจได้ โดยไม่สนใจวิธีการสังเกตหรือการทดลองใด ๆ แต่อริสโตเติลกลับเป็นนักสังเกตสิ่งรอบตัว เขาสนใจสิ่งภายนอกที่มองเห็นได้ การเข้าใจปรากฏการณ์ตามธรรมชาติที่เกี่ยวข้องกับคนต้องเริ่มด้วยการสังเกตอย่างมีระบบ
ในคริสต์ศตวรรษที่ 13 ศาสนาเริ่มเข้ามาเกี่ยวข้อง โดยแนวคิดทางศาสนาเน้นว่าจิตเป็นส่วนที่แยกออกจากร่างกาย
ในคริสต์ศตวรรษที่ 15 การฟื้นฟูการสืบสวนโดยวิธีทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งเป็นการละทิ้งความเชื่อแบบเดิม ๆ มีการค้นหาความรู้ใหม่ ๆ วิธีการก็เริ่มมีลักษณะที่เป็นวิทยาศาสตร์ ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 17 ฟรานซิส เบคอน กล่าวว่า “ทฤษฎีให้แนวทาง การวิจัยให้คำตอบ” โดยชี้ให้เห็นถึงความสำคัญระหว่างทฤษฎีและการวิจัย
กลางคริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 มีกลุ่มแนวคิดที่สำคัญเกิดขึ้น 2 กลุ่ม คือ (British Empiricism) ที่เชื่อว่า ความรู้ผ่านเข้ามาทางสื่อกลางของความรู้สึก จิตเป็นที่รวมของความคิดเห็น นักจิตวิทยากลุ่มนี้มีบทบาทสำคัญต่อการเกิด (Associationistic Psychology) นักจิตวิทยาอีกกลุ่มหนึ่งกลับสนใจทางชีวภาพ เช่น ความแตกต่างระหว่างประสาทส่วนรับความรู้สึกกับประสาทส่วนการเคลื่อนไหว และ ลักษณะทางกายที่แสดง (reflex) นักจิตวิทยากลุ่มนี้พยายามอธิบายการกระทำของมนุษย์ด้วยหลักการทางฟิสิกส์ คือ ซึ่งเป็นวิธีที่ใช้วัดความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพของสิ่งเร้ากับประสบการณ์รู้สึกที่ผู้ที่ถูกเร้ารายงานออกมา
การขยายตัวทางจิตวิทยา
ห้องปฏิบัติการทดลองทางจิตวิทยาห้องแรก ถูกสร้างขึ้นโดย ในปี ค.ศ. 1879 ที่เมืองไลพ์ซิจ ประเทศเยอรมนี โดยมีการจัดตั้งกลุ่มจิตวิทยาขึ้น คือ (Structuralism) การศึกษาจิตต้องศึกษาส่วนย่อย ๆ ที่ประกอบขึ้นมา ใช้วิธีการพื้นฐานทางจิตวิทยา คือ การสังเกตตนเอง หรือที่เรียกว่า (Introspection)
ในปี ค.ศ. 1890 ได้มีการจัดตั้งกลุ่มจิตวิทยาขึ้นใหม่อีก คือ (Functionalism) นักจิตวิทยากลุ่มนี้เห็นว่า จิตวิทยาควรเป็นการศึกษาวิธีการที่คนเราใช้ปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นวิธีการที่บุคคลนั้นพอใจ และเป็นการเพิ่ม ประสิทธิภาพของบุคคลนั้นด้วย นักจิตวิทยากลุ่มนี้ให้ความสนใจ ความรู้สำนึก (consciousness) เพราะความรู้สำนึกเป็นเครื่องมือที่ทำให้บุคคลเลือกกระทำพฤติกรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง ความรู้สำนึกเป็นกระบวนการที่ต่อเนื่องกัน ไม่สามารถแยกวิเคราะห์เป็นส่วนย่อยได้ นักจิตวิทยากลุ่มนี้สนใจศึกษาสาเหตุของพฤติกรรมมากกว่าการศึกษาพฤติกรรมที่ปรากฏออกมา ให้เห็น
ในช่วงเวลาเดียวกัน ซีคมุนท์ ฟร็อยท์ (Sigmund Freud) ได้เสนอ (Psychoanalysis theory) โดยมีวิธีการศึกษา จากการสังเกตและรวบรวมประวัติคนไข้ที่มารับการบำบัดรักษา ฟร็อยท์เชื่อว่าความไร้สำนึกมีอิทธิพลต่อการแสดงออกของพฤติกรรม และเน้นถึงความต้องการทางเพศตั้งแต่วัยเด็ก
ในช่วงต้นศตวรรษที่ 20 จอห์น บี วัตสัน (John B.Watson) ได้ก่อตั้ง (Behavioralism) โดยเห็นว่า การตรวจพินิจจิตเป็นวิธีการที่ไม่ดีพอ การศึกษาจิตวิทยาควรจะหลีกเลี่ยงการศึกษาจากความรู้สำนึก แล้วหันไปศึกษา พฤติกรรมที่มองเห็นได้ เพื่อให้สามารถทำนายและควบคุมพฤติกรรมของมนุษย์ได้ และเน้นถึงความสำคัญของสิ่งแวดล้อมว่ามี อิทธิพลต่อพฤติกรรมมากกว่าพันธุกรรมอีกด้วย
ในช่วงเวลาเดียวกัน ประเทศเยอรมนีได้เกิดกลุ่มจิตวิทยาขึ้น ได้แก่ จิตวิทยากลุ่มเกสตัลท์ (Gestalt Psychology) แนวคิดของจิตวิทยากลุ่มนี้เน้นว่า การทำงานของจิตเป็นการทำงานของส่วนรวม ดังนั้นจึงสนใจศึกษาส่วนรวมมากกว่าส่วน ย่อย แนวคิดนี้เริ่มมีบทบาทขึ้นเมื่อนักจิตวิทยาชาวอเมริกันเริ่มให้ความสนใจในปัญหาของการรับรู้ การคิดแก้ปัญหาและ บุคลิกภาพ จนนำไปสู่การเกิดขึ้นของ (Cognitive psychology) ซึ่งเกี่ยวข้องกับกลไกภายใน ที่มีอิทธิพลต่อการแสดงพฤติกรรมของบุคคล และต่อจากนั้นมา จิตวิทยาก็เป็นที่สนใจของบุคคลทั่วไปและนิสิตนักศึกษามากขึ้น
จิตวิทยาในประเทศไทย
สำหรับประเทศไทย การศึกษาทางด้านจิตวิทยาในระดับอุมดมศึกษานั้นได้ถือกำเนิดขึ้นมาตั้งแต่เมื่อประมาณ 50 ปีมาแล้ว ซึ่งสถาบันการศึกษาในระดับอุดมศึกษาที่ได้มีการจัดตั้งหลักสูตรจิตวิทยาในระดับปริญญาตรีขึ้นเป็นแห่งแรกในประเทศไทย คือมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยสถาปนาเป็นภาควิชาหนึ่งในคณะศิลปศาสตร์ (Faculty of Liberal Arts) ก่อตั้งเมื่อปีพุทธศักราช 2507 โดยภาควิชาจิตวิทยาฯ ได้รับการสนับสนุนด้านบุคลากรในการจัดทำหลักสูตรการเรียนการสอนจากสมาคมฟุลไบรท์ไทย หรือ Thai Fulbright Association (TFA) ทำให้หลักสูตรดังกล่าวมีมาตรฐาน มีความทันสมัย ทัดเทียมกับหลักสูตรการศึกษาจิตวิทยาในต่างประเทศ
กระทรวงศึกษาธิการพ.ศ. 2489 ด้วยความช่วยเหลือขององค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ได้จัดตั้ง สถาบันระหว่างชาติสำหรับการค้นคว้าเรื่องเด็กขึ้นในวิทยาลัยวิชาการศึกษา (ปัจจุบันคือมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ) ซึ่งนับว่าเป็นจุดเริ่มต้นของการศึกษาค้นคว้าและเผยแพร่วิชาเกี่ยวกับจิตวิทยาเด็ก ต่อมามีการศึกษาที่กว้างขวางมากขึ้น ใน สถาบันอื่นก็ได้เปิดหลักสูตรวิชาจิตวิทยาในหลายสาขา ในปัจจุบันและในอนาคต มีการคาดหวังไว้ว่าจิตวิทยาในประเทศไทย จะเจริญก้าวหน้า ช่วยพัฒนาทรัพยากรบุคคลของชาติต่อไป
ปัจจุบันการเรียนรู้ศาสตร์ด้านจิตวิทยาในประเทศไทยเป็นที่ยอมรับมากขึ้น เนื่องจากองค์ความรู้ต่างๆด้านจิตวิทยานำไปประยุกต์ใช้ได้กับการทำงานและการดำเนินชีวิต ไม่ว่าจะเป็น นักธุรกิจ การทำงานด้านการสื่อสารและการโฆษณา วิศวกร นักพัฒนาธุรกิจ นักพัฒนาองค์การ ครู ที่ปรึกษาทางด้านธุรกิจ สถาปนิก นักเขียน นักแสดง เป็นต้น นับว่าเป็นอีกศาสตร์ที่ช่วยให้บุคคล สังคม และประเทศชาติเติบโต
การก่อตั้งสมาคมจิตวิทยาในประเทศไทย
สมาคมจิตวิทยาแห่งประเทศไทย (เขียนโดย รศ. ดร.ประสาร มาลากุล ณ อยุธยา)
เริ่มก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2504 โดยมีศาสตราจารย์ ดร.หม่อมหลวงตุ้ย ชุมสาย ผู้เป็น อาจารย์จิตวิทยาที่มีชื่อเสียงที่สุดในช่วงนั้น เป็นนายกสมาคมคนแรก (พ.ศ. 2504-2506) ต่อมาศาสตราจารย์ นายแพทย์ประสพ รัตนากร ผู้เป็นแพทย์เฉพาะทางประสาทวิทยาและจิตวิทยาคนแรกของไทยได้รับหน้าที่ เป็นนายกสมาคมฯคนที่ 2 มาเป็นเวลายาวนานตั้งแต่ พ.ศ. 2507 ถึง 2531 จนมาถึงรองศาสตราจารย์ ดร. ประสาร มาลากุล ณ อยุธยา อดีตคณบดีคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับเลือกตั้งเป็นนายก สมาคมฯ คนที่ 3 ปรากฏว่าในช่วงนั้นต้องมีการดำเนินการขอจดทะเบียนจัดตั้งสมาคมใหม่ เนื่องจากตาม ระเบียบการจัดตั้งสมาคมวิชาชีพของราชการ ซึ่งขณะนั้นกระทรวงวัฒนธรรมรับผิดชอบดูแลอยู่ สถานภาพ ของสมาคมจิตวิทยาแห่งประเทศไทยได้สิ้นสุดไปแล้ว นายกสมาคมคนที่ 3 ได้พยายามดำเนินการจดทะเบียน จัดตั้งสมาคมจนเรียบร้อยเมื่อวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2536 แล้วจึงจัดการเลือกตั้งนายกสมาคมฯ คนที่4 ซึ่ง ได้แก่ศาสตราจารย์ ดร.ดวงเดือน พันธุมนาวินมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2536 – 2558 เป็นเวลา 22 ปี ได้มีอาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิจากสถาบันการศึกษาชั้นนำ ของประเทศ คือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และในช่วง 8 ปีหลัง คือ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัย (มจร.) ทำหน้าที่บริหารงานสมาคมฯ ต่อเนื่องกันด้วยดีตลอดมา
แต่เมื่อต้นปี พ.ศ. 2559 เมื่อมี การเตรียมจัดงานครบรอบสถาปนาสมาคม 55 ปี ก็ได้พบหลักฐานทางราชการว่า ชื่อนายกสมาคมจิตวิทยา แห่งประเทศไทยที่เป็นทางการในเอกสารราชการยังเป็น นางประสาร มาลากุล ณ อยุธยา ผู้จดทะเบียน จัดตั้งสมาคมฯ เมื่อวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2536 อยู่ ดังนั้นจึงเป็นเหตุจำเป็นที่ผู้ซึ่งมีนามปรากฏเป็นทางการยัง ต้องรับผิดชอบทำหน้าที่บริหารงานและดำเนินการต่อทะเบียนสมาคมฯ ให้เรียบร้อยต่อไป
ในปัจจุบัน นางประสาร มาลากุล ณ อยุธยา จึงทำหน้าที่นายกสมาคมฯ และได้ดำเนินการแต่งตั้ง กรรมการอำนวยการเลือกตั้งกรรมการกลาง และว่าที่นายกสมาคมฯ สำหรับวาระ พ.ศ. 2559-2560 ครบถ้วน ตามระเบียบการที่กำหนดไว้ในข้อบังคับของสมาคมจิตวิทยาแห่งประเทศไทย ฉบับที่จดทะเบียนไว้และใช้อยู่ในปัจจุบัน
สมาคมนักจิตวิทยาคลินิกแห่งประเทศไทย (สุพิน พรพิพัฒน์กุล, 2554)
นับตั้งแต่สำนักงานข้าราชการพลเรือนได้กำหนดให้มีตำแหน่งนักจิตวิทยาขึ้นในประเทศไทยในปีพุทธศักราช 2506 เป็นต้นมาจวบจนถึงปัจจุบันนับรวมได้48 ปี กล่าวคือ กระบวนการพัฒนาบทบาทหน้าที่ทางด้านจิตวิทยาคลินิกเริ่มเติบโตขึ้นอย่างค่อยเป็นค่อยไปโดยมีอาจารย์สมทรง สุวรรณเลิศ ( สกุลเดิม บุนนาค) ซึ่งดำรงตำแหน่งนักจิตวิทยาท่านแรกที่ได้วางรากฐานสาขาจิตวิทยาคลินิก ซึ่งเป็นทั้งแม่แบบ และผู้หล่อหลอมให้วิชาชีพนักจิตวิทยาคลินิกมีความเป็นวิชาชีพที่แท้จริง ด้วยความสำนึกและเคร่งครัดในจรรยาบรรณ คำนึงถึงความถูกต้องตามหลักวิชาการในการให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยอย่างใจเป็นกลาง เป็นสิ่งที่มีการปลูกฝังกันมาตั้งแต่เริ่มต้นและมีการถ่ายทอดกันมาจนถึงปัจจุบัน
ในปี พุทธศักราช 2512 เริ่มมีการก่อตั้งชมรมนักจิตวิทยาคลินิกขึ้น โดยมีอาจารย์สมทรง สุวรรณเลิศ เป็นประธานชมรมฯ กิจกรรมที่ทำต่อเนื่องกันมาทุกปี คือ การประชุมวิชาการประจำปี รวม 7 ครั้ง และเริ่มมีการจัดทำวารสารชมรมนักจิตวิทยาคลินิก โดยใช้ชื่อภาษาอังกฤษว่า Journal of The Clinical Psychologist Club มีกำหนดออก ปีละ 3 ฉบับ ฉบับแรกที่ออกเมื่อวันที่ 5 กันยายน 2513 การออกวารสารชมรมนักจิตวิทยาคลินิก มีจุดมุ่งหมาย เพื่อเผยแพร่ความรู้ทางจิตวิทยาคลินิก จิตเวช และศาสตร์ใกล้เคียงอื่น ๆ รวมถึงการรายงานข่าวความเคลื่อนไหวในวงการจิตวิทยาคลินิก ซึ่งก็มีผลงานใหม่ ๆ ด้านจิตวิทยาคลินิกและสุขภาพจิตที่เป็นประโยชน์แก่ชุมชนลงตีพิมพ์ โดยได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานหรือองค์กรอื่นทั้งในประเทศและต่างประเทศ
ต่อมาในปีพุทธศักราช 2519 ชมรมนักจิตวิทยาคลินิก เลื่อนฐานะจากชมรม ฯ ขึ้นมาเป็นสมาคมนักจิตวิทยาคลินิกไทยโดยใช้อักษรย่อว่า ส.น.ค.ท. และใช้ชื่อภาษาอังกฤษว่า "The Thai Psychologist Association ( TPA) โดยมีนางสาวอุ่นเรือน อำไพพัสตร์ เป็นนายกสมาคม ฯ และนับเป็นเกียรติอย่างยิ่งที่ได้รับความกรุณาจากศาสตราจารย์นายแพทย์ฝน แสงสิงแก้ว ศาสตราจารย์หม่อมหลวงตุ้ย ชุมสาย ศาสตราจารย์นายแพทย์ประสพ รัตนากร แพทย์หญิงคุณหญิงสุภา มาลากุล และนายแพทย์ประสิทธิ์ หะรินสุต มาเป็นที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ในขณะนั้น ส่วนที่ปรึกษาก็ยังคงได้รับความกรุณาจากนักจิตวิทยาอาวุโสคือ นางสมทรง สุวรรณเลิศ และนายณรงค์ศักดิ์ ตะละภัฏ และมีคณะกรรมการอำนวยการบริหารงานของสมาคม ฯ วาระละ 2 ปี ต่อมาได้มีการปรับเปลี่ยนชื่อวารสารใหม่มาเป็นวารสารจิตวิทยาคลินิก โดยใช้ชื่อภาษาอังกฤษว่า "Journal of Clinical Psychology" มาจนถึงปัจจุบัน และได้มีการพัฒนาให้สอดคล้องกับการพัฒนาการทางสังคม โดยมีวัตถุประสงค์ของการจัดทำวารสารสมาคม ฯ ดังนี้คือ
1. เพื่อเพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์ระหว่างสมาชิก
2. ส่งเสริมและดูแลคุณภาพงานด้านจิตวิทยาคลินิกและจิตวิทยาแก่สมาชิกทั้งด้านการปฏิบัติและวิชาการ
3. เพื่อร่วมมือกันผลิตผลงานการวิจัยทางด้านจิตวิทยาคลินิกและสุขภาพจิตให้เป็นประโยชน์ต่อชุมชน
4. เพื่อเผยแพร่ความรู้ทางด้านจิตวิทยาคลินิกและสุขภาพจิตแก่ประชาชน
5. ร่วมมือกับสมาคมและสถาบันอื่น ๆ ที่มีวัตถุประสงค์คล้ายคลึงกันทั้งในประเทศและต่างประเทศ
6. ไม่เกี่ยวข้องกับการเมือง
เนื่องจากวิชาชีพจิตวิทยาคลินิกมีลักษณะการทำงานที่มีแนวปฏิบัติแตกต่างจากวิชาชีพจิตวิทยาสาขาอื่น โดยเฉพาะในด้านการตรวจวินิจฉัยทางจิตวิทยา และเพื่อธำรงไว้ถึงความตระหนักในบทบาทวิชาชีพ ในปีเดียวกัน สมาคมฯ จึงได้มีการประกาศจรรยาบรรณของนักจิตวิทยาคลินิกและจัดพิมพ์เผยแพร่แก่สมาชิกสมาคม ในปี 2526 และในปีพุทธศักราช 2534 สมาคมนักจิตวิทยาคลินิกได้มีการทบทวนบทบาทและจัดทำมาตรฐานการปฏิบัติงานของวิชาชีพจิตวิทยาคลินิกใหม่ให้ชัดเจนขึ้น โดยกองสุขภาพจิต กรมการแพทย์ในขณะนั้น และได้มีการปรับปรุงหลายครั้งหลายสมัยต่อเนื่องกันมาเพื่อให้เป็นมาตรฐานสากล และเป็นหลักประกันคุณภาพการให้บริการของนักจิตวิทยาคลินิก
ในปีพุทธศักราช 2546 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชได้มีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้า ให้ตราพระราชกฤษฎีกากำหนดให้สาขาจิตวิทยาคลินิกเป็นสาขาการประกอบโรคศิลปะตามพระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. 2546 ณ วันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2546 ซึ่งเหตุผลหนึ่งในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาฉบับนี้คือ สาขาจิตวิทยาคลินิกเป็นสาขาหนึ่งที่กระทำต่อมนุษย์โดยตรง การวินิจฉัย การบำบัดความผิดปกติทางจิตอันเนื่องมาจากภาวะทางจิตใจ บุคลิกภาพ เชาวน์ปัญญา อารมณ์ พฤติกรรมการปรับตัว ความเครียด หรือพฤติกรรมผิดปกติอันเนื่องมาจากพยาธิสภาพทางสมอง ด้วยวิธีเฉพาะทางจิตวิทยาคลินิก อันเป็นประโยชน์ต่อประชาชนที่มารับบริการ จึงถือได้ว่าเป็นการพัฒนาอีกขั้นหนึ่งที่มีความสำคัญอย่างยิ่ง นับวันบทบาทของสมาคมนักจิตวิทยาคลินิกจึงมีเพิ่มขึ้นเพื่อทำหน้าที่เป็นหน่วยกลางในการพัฒนาวิชาชีพจิตวิทยาคลินิก รวมทั้งการดูแลนักจิตวิทยาคลินิก และในปีปัจจุบันมีนักจิตวิทยาคลินิกที่ผ่านการสอบและได้รับการอนุมัติให้ขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะสาขาจิตวิทยาคลินิกมีจำนวนทั้งสิ้น 480 ราย
สมาคมจิตวิทยาการปรึกษาในประเทศไทย
มีการก่อตั้งชมรมนักจิตวิทยาการปรึกษาในประเทศไทย เมื่อปี พ.ศ. 2559 เป็นการรวมตัวนักจิตวิทยาการปรึกษาจำนวนหนึ่งที่เห็นความสำคัญของศาสตร์จิตวิทยา และมีเป้าหมายเพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ทางจิตวิทยาเพื่อบรรเทาปัญหาสุขภาพจิตของคนไทย
ปัจจุบันประเทศไทยได้มีการจัดตั้งสมาคมจิตวิทยาการปรึกษาในประเทศไทย เมื่อวันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2561 โดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้
- ส่งเสริมความเป็นวิชาชีพจิตวิทยาการปรึกษาให้ก้าวหน้า
- ส่งเสริมและเผยแพร่ความรู้วิชาการเกี่ยวกับวิชาชีพจิตวิทยาการปรึกษา
- ส่งเสริมความสามัคคี ความเอื้ออาทร และเชิดชูเกียรติสมาชิก
- ส่งเสริม สนับสนุน ร่วมมือกับองค์การการกุศลอื่นๆ เพื่อสาธารณประโยชน์
- ไม่ดำเนินการใดๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเมือง
อ้างอิง
- บังอร ชินกุลกิจนิวัฒน์. "บทแนะนำจิตวิทยา (Introduction to Psychology)" ใน จำรอง เงินดี และทิพย์วัลย์ สุรินยา (บรรณาธิการ). จิตวิทยาทั่วไป. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ: คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2013-08-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. 2545.
- หลุย จำปาเทศ. จิตวิทยาการจูงใจ. ภาควิชาจิตวิทยา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร. 2533.
- หลุย จำปาเทศ. จิตวิทยาการบริหาร. โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร. 2542.
- หลุย จำปาเทศ. จิตวิทยาสัมพันธ์. โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร. 2533.
- ประวัติศาสตร์ของต้นกำเนิดภาควิชาจิตวิทยาแห่งแรกของประเทศไทย. ออนไลน์. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (สืบค้นเมื่อ สิงหาคม 2555) 2016-09-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
ดูเพิ่ม
แหล่งข้อมูลอื่น
- เว็บไซต์ ๕๐ ปี จิตวิทยา ม.ธรรมศาสตร์
- สมาคมจิตวิทยาแห่งประเทศไทย
- สมาคมนักจิตวิทยาคลินิกไทย
- สมาคมจิตวิทยาอเมริกัน
- จิตวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- หนังสือจิตวิทยา 2023-08-22 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir citwithya xngkvs psychology khux sastrthiwadwykarsuksaekiywkbcitic krabwnkarkhxngcit krabwnkhwamkhid aelaphvtikrrm khxngmnusydwykrabwnkarthangwithyasastr enuxhathinkcitwithyasuksaechn karrbru krabwnkarrbkhxmulkhxngmnusy xarmn bukhlikphaph phvtikrrm aelarupaebbkhwamsmphnthrahwangbukhkhl citwithyayngmikhwamhmayrwmipthungkarprayuktichkhwamrukbkickrrmindantang khxngmnusythiekidkhuninchiwitpracawn echnkickrrmthiekidkhuninkhrxbkhrw rabbkarsuksa karcangnganepntn aelayngrwmthungkarichkhwamruthangcitwithyasahrbkarrksapyhasukhphaphcit nkcitwithyamikhwamphyayamthicasuksathakhwamekhaicthunghnathihruxcudprasngkhtang khxngphvtikrrmthiekidkhuncaktwbukhkhlaelaphvtikrrmthiekidkhuninsngkhm khnaediywknkthakarsuksakhntxnkhxngrabbprasathsungmiphltxkarkhwbkhumaelaaesdngxxkkhxngphvtikrrmxksrpsi sylksnkhxngkarsuksacitwithyabthnacitwithyaepnsastrthisuksakhnkhwaephuxnakhxmulkhwamrumaesnx xthibay aelaephuxkhwbkhumaelaepliynaeplngphvtikrrmkhxngmnusyaelastw citwithyamungsuksadankhwamsmphnthrahwangkrabwnkarkhxngrangkaykbcitic dwywithikarthangwithyasastrthiepnraebiybaebbaephn ephraarangkayaelaciticmkmikaraesdngxxkrwmkn xikthngyngaesdngxxkinaenwthangthisamarththanayid phasathangcitwithya citwithyakmikarbyytisphthkhunmaephuxichinkarsuksaechnediywkbsastrxun khasphthbangswnprakxbdwykhasphththikhnthwipichknxyuinchiwitpracawn khasphthbangkhakepnkhasphththangwichakarthikhunekhy thungaemsphthbangkhacaepnthiekhaic aelakhunekhykhxngkhnthwip aetnkcitwithyakidihkhwamhmayechphaaephuxihekidkhwamekhaicxyangthxngaethinkarsuksacitwithya pyhaaelakareluxkpyhakhxngnkcitwithya ehmuxnkbkrabwnkarthangwithyasastrthwip krabwnkarthangcitwithya erimcakkareluxkpyhathisnic aelwcung sngekt suksa hruxthdlxng xyangepnrabb ephuxrwbrwmkhxethccringthicaepntxkaraekpyha aelwthakarrwbrwm eriyberiyng aelatikhwamkhxethccringthiid haknkcitwithyaphbaenwthangthicaaekpyhahruxtxbkhathamthikahnd aelasamarthnamasmphnth ekiywkhxngepnkhatxbkhxngkhathamkwang id nkcitwithyakcasnic aelalngmuxsuksathnthi aetbangkhrngpyhakekidkhuncakkarsngektsingrxb tw nkcitwithyaidaebngkhwamkhidehnekiywkbkarsuksathangcitwithyaxxkepn 3 fay idaek klumaerkehnwa kareluxkpyhann khunxyukbsthankarnechphaahnakhxngnkcitwithya klumthisxngnnklbehnwa kareluxkpyhaaelakartngkhathamkhwrcaepniptamthvsdi aelaklumhlngehnwakhwamxyakruxyakehnthiekidkhunexng epnaerngcungicthidithisudsahrbkarkhnkhwathangwithyasastr aetemuxeramxngodyrwmaelw caehnwathngkhwamxyakruxyakehnaelathvsdi tangkmiswnchwyinkarsngekt xthibay aelatikhwamkhxethccringtang ephraathvsdinnmibthbaththichwyiheraekhaicsingthisngekt aelachiihehnkhathamihm xikthngyngchiihehnkhwamepnipidkhxngkhxmultang dngnnthvsdicungmipraoychnaelamibthbathepnthiyxmrbthwipaelathwolkktangknyxmrbthvsdisahrbphupwythangdancitwithyainthangcitwithyannmithvsdisahrbphupwythangdancitwithyaxyumakmay hlknnmithvsdikhwamsbsn khux phupwynncaekidkhwamsbsnaelaaeprprwnthangdanxarmn ekidcakkhwamimaennxnkhxngcit sungswnmakxakarthiaesdngxxkmkcaepnkarthasingthiimkhxypkti kngwl imaennxn aelaxun thvsdikarptiesth khux karthiphupwythimixakarthangciticsungxacekidcakpyhathangban pyhathangdansngkhm sungphupwyswnihymkcaoynexapyhathitwexngmixyuihkbphuxun enuxngcakkarthiimsamarthyxmrbpyhaehlannid odymakaelwpyhaehlanimkcahayinrayaewlaimnannk aethakyngmixyukhwrphbcitaephthy dr aexl di chlipp withikarthangwithyasastr ehmuxnkbwithikarthangwithyasastrthwip withikarthangcitwithyaprakxbdwy 2 khntxnihy khux khnkarsngektxngkhprakxbhruxtwaeprthisakhy xyangmirabb aelakhnkarrwbrwmaelatikhwamkhxmulthiidma sungkardaeninkarsngektxyangmirabb khux khwamphyayamthicakacdxiththiphlkhxngxkhtihruxkhwamlaexiyngkhxngphusngekt aelasamarthrbrxngidwa karsngektnnsamarthkrathasaid withikarsngektxyangmirabbnn mi 2 withi idaek withikarthdlxng experimental method odysrangsthankarn khunephuxsngektsingtang thiekidtamma aelawithikarhakhwamsmphnth correlation method odykarsngektehtukarnthiekidkhuntamthrrmchati withikarthdlxng phusngektcathukeriykwaphuthdlxngthicasrangsphawahruxtwaeprkhunma ephuxaesdngihehnthungkhwamsmphnthhruxphlkrathbtx twaeprxun xacepnkarepriybethiybtwaeprrahwangklumthdlxng 2 klumhruxmakkwann aelwraynganphlkarthdlxng hruxphlcakkarrwbrwmaelatikhwamhmaykhxngkarepriybethiybthiidcakkarthdlxng withikarniniymkrathainhxngthdlxnghruxhxngptibtikar ephraasamarthkhwbkhumtwaeprhruxsphaphaewdlxmtang idtamthitxngkar hruxihehluxnxythisud xikthngkarsngektk samarthkrathaidngayaelamikhwamthuktxngaemnya twaeprthiichinkarthdlxngaebngepn 2 praephth idaek twaeprxisra sunghmaythungtwaeprthithukkahndkhun aela twaeprtam sunghmaythungtwaeprthikhadwacaepnphlcakkarkrathakbtwaeprxisra hlngcakidthrabphlcakkarthdlxngaelw phuthdlxngtxngthakarsrupaelwraynganphlkarthdlxngihphuxunthrab ephuxihphuxunsamarthnaphldngklawipichpraoychn hruxthakarsuksatxyxdkhwamruxxkip withikarhakhwamsmphnth withikarhakhwamsmphnth epnkarsuksakhwamsmphnthkhxngtwaeprtngaetsxngtwkhunip odythiimidecaacngwatwaepridmixiththiphlehnuxtwaeprid khakhwamsmphnthkhxngtwaepr 2 tw eriykwa khasmprasiththishsmphnth coefficient correlation sungcamikharahwang 1 00 thung 1 00 withikarhakhwamsmphnth midngtxipni withiwdthangcitwithya Psychometric techniques ichaebbthdsxbthangcitwithyaaelaaebbsxbtham ephuxwd khwamaetktangkhxnglksnatangkhxngbukhkhl hruxkhwamepliynaeplngtangkhxngbukhkhlidbukhkhlhnung odythwipaebbthdsxbthiichin nganwicydanhakhwamsmphnthsamarththdsxbtwaeprxisraidepnrayip dngnn withiwdthangcitwithyanicungaesdngihehn khwamsmphnthkhxngtwaepr 2 tw dwyphlthiidcakkarthaaebbthdsxbhruxaebbsxbthamnnexng karsngektinsphaphthrrmchati Naturalistic Observation karsngektinsphaphthrrmchaticaihkhx ethccringidmakkwa ephraaepnkarsngektphvtikrrmthiekidkhuncringinchiwit phuthuksngektcatxngimrutwwathuksngekt ephuxihphvtikrrm tangepniptamthrrmchatiodyaethcring aettxngichrayaewlainkarsngektrayahnung sungbangkhrngxackhxnkhangyawnan karsngektdwywithikarthangkhlinikh Clinical Method of Observation epnkarsuksaprawtiraybukhkhl krnisuksa sungcachwyihnkcitwithyaekhaicprawtikhwamepnma phunthankarxbrmeliyngdu rwmipthungphunthankhxngkar ekidphvtikrrm ephuxichprakxbkarbabdrksahruxaekikhepliynaeplngphvtikrrm withikarsngektdngklawxacekidphidphladdwyehtupccytang phusuksacungtxngmikarwangaephnaelaidrbkarfukfnxyangdi odyechphaakarsngektwithithangkhlinikh thiimsamarthkrathasaid thngwithikarthdlxngaelawithikarhakhwamsmphnthtangkmipraoychnaelakhwamehmaasm sungkhunxyukbaetlakrni aethlay khrngthimikarphsmphsanthngsxngwithiekhadwykn ephuxkarsuksathilaexiydhlaydan aelaepnpraoychninthangcitwithyamakyingkhunokhrngsrangkhxngcitwithyacitwithyaprakxbdwyokhrngsrang 3 swnihy khux lksnaenuxhawicha aebngepneruxngtang idaek phthnakarkhxngmnusy phnthukrrm rabbkartxbsnxng karrbru karrusuk aerngcungic xarmn phasa karkhid aelakaraekpyha echawnpyyaaelakarthdsxbechawnpyya bukhlikphaphaebbtang aelakarpraeminbukhlikphaph rupaebbtangkhxngphyathisphaphthangphvtikrrm citbabd aelacitwithyachumchn epahmaykhxngcitwithya epahmaykhxngkarsuksaidmacakwithikarthiaetktangkn 3 praephth idaek karwicybrisuththihruxkarwicyphunthan macakkarkhnkhwadwyicrk khnhahlkkarkhxngphvtikrrmthngkhxngmnusyaelastw ody imidkhanungwacasamarthnaipprayuktichkbsngkhmidhruxim phuwicytxngepnphumiraebiybaebbaephn micrryabrrnkhxngnkwicy micriythrrmaelakhwamepnklangthangsngkhm karwicyprayukt ihkhwamsnicinkaraekpyhathiekidkhuninkhnann phlcakkarwicyinpyhanisamarth namaprayuktichinchiwitcringid karwicydngklawtxngidrbkarwangaephndaeninkar khwbkhumwithikardwykhwamramdrawng karwicy brisuththikxihekidkarwicyprayuktxyangmiaebbaephn karprayuktich epnkarprayuktkhatxbthiid ipichinsthankarncring inolksungimmikarkhwbkhum sphawaid nkcitwithyaklumthimikarprayuktichmakthisud khux nkcitwithyakhlinik rxnglngmakhux nkcitwithyakarsuksa sthanthidaeninnganthangcitwithya nkcitwithyasakhatangthanganinsthanthiaetktangkn bangsakhathawicyaelasxninmhawithyalyaelawithyaly bang sakhathanganinkhlinikaelaorngphyabal sunybrikarihkhaaenanapruksatanginorngeriyn bristhhruxorngnganxutsahkrrm sunysukhphaphcit sunypxngknaelaprabpramyaesphtid sunyphkfunkhnikhthiephingthuksngxxkcakorngphyabal sunybrikarprachachn epntnkhwamsmphnthkhxngcitwithyakbsastrxun citwithyamikhwamsmphnthaennaefnkbwichacitewchsastr xnepnswnhnungkhxngwichaaephthysastr khuxsakhathiwadwykarrksacitic aelakbsastrthangchiwwithya sungidaek srirwithya prasathwithyaaelachiwekhmi phvtikrrm khxngbukhkhlcaepnxyangyingthicatxngsuksacakbukhkhlnnodytrngkxn thngthangdanphnthukrrm radbwuthiphawa aelasphaphkar ekhluxnihwkhxngrangkay aelapccubnksmphnthxyangednchdkbmanusywithyaaelasngkhmwithya odymanusywithyasuksacudkaenid khxngmnusy aelakarsubthxdwthnthrrm khnbthrrmeniympraephni singaewdlxmthangsngkhm swndansngkhmwithyacaenn suksaklumsngkhmmakkwatwbukhkhl odysuksakarpathasngsrrkhkhxngaetlabukhkhlinklum aelasuksaxiththiphlkhxngklumthimitx aetlabukhkhlcitwiekhraahcitaephthychawxxsetriyechuxsayyiw khux sikhmunth frxyth idphthnawithikarbabdthangciteriykwacitwiekhraah karsuksakhxngfrxythepnkarrwbrwmkhxmulcakkarsngekt aelaaeplkhwamhmayphvtikrrmkhxngkhnikhkhxngekha karsuksakhxngekhaswnmakepnkarthakhwamekhaiccitirsanuk karecbpwythangcit aela thvsdikhxngfrxythepnthvsdithangcitwithyathinamaichxthibayphthnakarthangphvtikrrmkhxngmnusy aelaidklayepnthvsdithiruckaelathkethiyngknxyangkwangkhwang ephraaeruxngthiekhasuksannekiywkhxngkberuxngthangephs karekbkdxarmnthangephs aelacitirsanuk sunginchwngewlanneruxngehlanithuxepnsingtxnghaminsngkhm aetfrxythksamarththaihkarsuksakhxngekhaepnpraednsahrbkarsnthnaaelkepliynkhwamkhidehnknxyangsuphaphidprawtikhwamepnmakhxngcitwithyacitwithyaiderimkhunodynkprachychawkrik chux ephlot aelaxrisotetil ephlotechuxwakarkhidaelakarichehtuphlethann thithaihkhnekidkhwamekhaicinsingthiekhasamarthcaekhaicid odyimsnicwithikarsngekthruxkarthdlxngid aetxrisotetilklbepnnksngektsingrxbtw ekhasnicsingphaynxkthimxngehnid karekhaicpraktkarntamthrrmchatithiekiywkhxngkbkhntxngerimdwykarsngektxyangmirabb inkhriststwrrsthi 13 sasnaerimekhamaekiywkhxng odyaenwkhidthangsasnaennwacitepnswnthiaeykxxkcakrangkay inkhriststwrrsthi 15 karfunfukarsubswnodywithithangwithyasastr sungepnkarlathingkhwamechuxaebbedim mikarkhnhakhwamruihm withikarkerimmilksnathiepnwithyasastr tnkhriststwrrsthi 17 fransis ebkhxn klawwa thvsdiihaenwthang karwicyihkhatxb odychiihehnthungkhwamsakhyrahwangthvsdiaelakarwicy klangkhriststwrrsthi 17 cnthungklangkhriststwrrsthi 19 miklumaenwkhidthisakhyekidkhun 2 klum khux British Empiricism thiechuxwa khwamruphanekhamathangsuxklangkhxngkhwamrusuk citepnthirwmkhxngkhwamkhidehn nkcitwithyaklumnimibthbathsakhytxkarekid Associationistic Psychology nkcitwithyaxikklumhnungklbsnicthangchiwphaph echn khwamaetktangrahwangprasathswnrbkhwamrusukkbprasathswnkarekhluxnihw aela lksnathangkaythiaesdng reflex nkcitwithyaklumniphyayamxthibaykarkrathakhxngmnusydwyhlkkarthangfisiks khux sungepnwithithiichwdkhwamsmphnthrahwanglksnathangkayphaphkhxngsingerakbprasbkarnrusukthiphuthithukeraraynganxxkmakarkhyaytwthangcitwithyahxngptibtikarthdlxngthangcitwithyahxngaerk thuksrangkhunody inpi kh s 1879 thiemuxngilphsic praethseyxrmni odymikarcdtngklumcitwithyakhun khux Structuralism karsuksacittxngsuksaswnyxy thiprakxbkhunma ichwithikarphunthanthangcitwithya khux karsngekttnexng hruxthieriykwa Introspection inpi kh s 1890 idmikarcdtngklumcitwithyakhunihmxik khux Functionalism nkcitwithyaklumniehnwa citwithyakhwrepnkarsuksawithikarthikhneraichprbtwekhakbsingaewdlxm sungepnwithikarthibukhkhlnnphxic aelaepnkarephim prasiththiphaphkhxngbukhkhlnndwy nkcitwithyaklumniihkhwamsnic khwamrusanuk consciousness ephraakhwamrusanukepnekhruxngmuxthithaihbukhkhleluxkkrathaphvtikrrmxyangidxyanghnung khwamrusanukepnkrabwnkarthitxenuxngkn imsamarthaeykwiekhraahepnswnyxyid nkcitwithyaklumnisnicsuksasaehtukhxngphvtikrrmmakkwakarsuksaphvtikrrmthipraktxxkma ihehn inchwngewlaediywkn sikhmunth frxyth Sigmund Freud idesnx Psychoanalysis theory odymiwithikarsuksa cakkarsngektaelarwbrwmprawtikhnikhthimarbkarbabdrksa frxythechuxwakhwamirsanukmixiththiphltxkaraesdngxxkkhxngphvtikrrm aelaennthungkhwamtxngkarthangephstngaetwyedk inchwngtnstwrrsthi 20 cxhn bi wtsn John B Watson idkxtng Behavioralism odyehnwa kartrwcphiniccitepnwithikarthiimdiphx karsuksacitwithyakhwrcahlikeliyngkarsuksacakkhwamrusanuk aelwhnipsuksa phvtikrrmthimxngehnid ephuxihsamarththanayaelakhwbkhumphvtikrrmkhxngmnusyid aelaennthungkhwamsakhykhxngsingaewdlxmwami xiththiphltxphvtikrrmmakkwaphnthukrrmxikdwy inchwngewlaediywkn praethseyxrmniidekidklumcitwithyakhun idaek citwithyaklumekstlth Gestalt Psychology aenwkhidkhxngcitwithyaklumniennwa karthangankhxngcitepnkarthangankhxngswnrwm dngnncungsnicsuksaswnrwmmakkwaswn yxy aenwkhidnierimmibthbathkhunemuxnkcitwithyachawxemriknerimihkhwamsnicinpyhakhxngkarrbru karkhidaekpyhaaela bukhlikphaph cnnaipsukarekidkhunkhxng Cognitive psychology sungekiywkhxngkbklikphayin thimixiththiphltxkaraesdngphvtikrrmkhxngbukhkhl aelatxcaknnma citwithyakepnthisnickhxngbukhkhlthwipaelanisitnksuksamakkhuncitwithyainpraethsithysahrbpraethsithy karsuksathangdancitwithyainradbxumdmsuksannidthuxkaenidkhunmatngaetemuxpraman 50 pimaaelw sungsthabnkarsuksainradbxudmsuksathiidmikarcdtnghlksutrcitwithyainradbpriyyatrikhunepnaehngaerkinpraethsithy khuxmhawithyalythrrmsastr odysthapnaepnphakhwichahnunginkhnasilpsastr Faculty of Liberal Arts kxtngemuxpiphuththskrach 2507 odyphakhwichacitwithya idrbkarsnbsnundanbukhlakrinkarcdthahlksutrkareriynkarsxncaksmakhmfulibrthithy hrux Thai Fulbright Association TFA thaihhlksutrdngklawmimatrthan mikhwamthnsmy thdethiymkbhlksutrkarsuksacitwithyaintangpraeths krathrwngsuksathikarph s 2489 dwykhwamchwyehluxkhxngxngkhkarsuksawithyasastraelawthnthrrmaehngshprachachati UNESCO idcdtng sthabnrahwangchatisahrbkarkhnkhwaeruxngedkkhuninwithyalywichakarsuksa pccubnkhuxmhawithyalysrinkhrinthrwiorth sungnbwaepncuderimtnkhxngkarsuksakhnkhwaaelaephyaephrwichaekiywkbcitwithyaedk txmamikarsuksathikwangkhwangmakkhun in sthabnxunkidepidhlksutrwichacitwithyainhlaysakha inpccubnaelainxnakht mikarkhadhwngiwwacitwithyainpraethsithy caecriykawhna chwyphthnathrphyakrbukhkhlkhxngchatitxip pccubnkareriynrusastrdancitwithyainpraethsithyepnthiyxmrbmakkhun enuxngcakxngkhkhwamrutangdancitwithyanaipprayuktichidkbkarthanganaelakardaeninchiwit imwacaepn nkthurkic karthangandankarsuxsaraelakarokhsna wiswkr nkphthnathurkic nkphthnaxngkhkar khru thipruksathangdanthurkic sthapnik nkekhiyn nkaesdng epntn nbwaepnxiksastrthichwyihbukhkhl sngkhm aelapraethschatietibotkarkxtngsmakhmcitwithyainpraethsithysmakhmcitwithyaaehngpraethsithy ekhiynody rs dr prasar malakul n xyuthya erimkxtngkhunemuxwnthi 9 singhakhm ph s 2504 odymisastracary dr hmxmhlwngtuy chumsay phuepn xacarycitwithyathimichuxesiyngthisudinchwngnn epnnayksmakhmkhnaerk ph s 2504 2506 txmasastracary nayaephthyprasph rtnakr phuepnaephthyechphaathangprasathwithyaaelacitwithyakhnaerkkhxngithyidrbhnathi epnnayksmakhmkhnthi 2 maepnewlayawnantngaet ph s 2507 thung 2531 cnmathungrxngsastracary dr prasar malakul n xyuthya xditkhnbdikhnakhrusastr culalngkrnmhawithyaly idrbeluxktngepnnayk smakhm khnthi 3 praktwainchwngnntxngmikardaeninkarkhxcdthaebiyncdtngsmakhmihm enuxngcaktam raebiybkarcdtngsmakhmwichachiphkhxngrachkar sungkhnannkrathrwngwthnthrrmrbphidchxbduaelxyu sthanphaph khxngsmakhmcitwithyaaehngpraethsithyidsinsudipaelw nayksmakhmkhnthi 3 idphyayamdaeninkarcdthaebiyn cdtngsmakhmcneriybrxyemuxwnthi 9 emsayn ph s 2536 aelwcungcdkareluxktngnayksmakhm khnthi4 sung idaeksastracary dr dwngeduxn phnthumnawinmhawithyalysrinkhrinthrwiorth prasanmitr tngaetpi ph s 2536 2558 epnewla 22 pi idmixacaryphuthrngkhunwuthicaksthabnkarsuksachnna khxngpraeths khuxculalngkrnmhawithyaly mhawithyalysrinkhrinthrwiorth prasanmitr mhawithyalythrrmsastr mhawithyalyekstrsastr aelainchwng 8 pihlng khux mhawithyalymhaculalngkrn rachwithyaly mcr thahnathibriharngansmakhm txenuxngkndwyditlxdma aetemuxtnpi ph s 2559 emuxmi karetriymcdngankhrbrxbsthapnasmakhm 55 pi kidphbhlkthanthangrachkarwa chuxnayksmakhmcitwithya aehngpraethsithythiepnthangkarinexksarrachkaryngepn nangprasar malakul n xyuthya phucdthaebiyn cdtngsmakhm emuxwnthi 9 emsayn ph s 2536 xyu dngnncungepnehtucaepnthiphusungminampraktepnthangkaryng txngrbphidchxbthahnathibriharnganaeladaeninkartxthaebiynsmakhm iheriybrxytxip inpccubn nangprasar malakul n xyuthya cungthahnathinayksmakhm aelaiddaeninkaraetngtng krrmkarxanwykareluxktngkrrmkarklang aelawathinayksmakhm sahrbwara ph s 2559 2560 khrbthwn tamraebiybkarthikahndiwinkhxbngkhbkhxngsmakhmcitwithyaaehngpraethsithy chbbthicdthaebiyniwaelaichxyuinpccubn smakhmnkcitwithyakhlinikaehngpraethsithy suphin phrphiphthnkul 2554 nbtngaetsankngankharachkarphleruxnidkahndihmitaaehnngnkcitwithyakhuninpraethsithyinpiphuththskrach 2506 epntnmacwbcnthungpccubnnbrwmid48 pi klawkhux krabwnkarphthnabthbathhnathithangdancitwithyakhlinikerimetibotkhunxyangkhxyepnkhxyipodymixacarysmthrng suwrrnelis skuledim bunnakh sungdarngtaaehnngnkcitwithyathanaerkthiidwangrakthansakhacitwithyakhlinik sungepnthngaemaebb aelaphuhlxhlxmihwichachiphnkcitwithyakhlinikmikhwamepnwichachiphthiaethcring dwykhwamsanukaelaekhrngkhrdincrryabrrn khanungthungkhwamthuktxngtamhlkwichakarinkarihkhwamchwyehluxphupwyxyangicepnklang epnsingthimikarplukfngknmatngaeterimtnaelamikarthaythxdknmacnthungpccubn inpi phuththskrach 2512 erimmikarkxtngchmrmnkcitwithyakhlinikkhun odymixacarysmthrng suwrrnelis epnprathanchmrm kickrrmthithatxenuxngknmathukpi khux karprachumwichakarpracapi rwm 7 khrng aelaerimmikarcdthawarsarchmrmnkcitwithyakhlinik odyichchuxphasaxngkvswa Journal of The Clinical Psychologist Club mikahndxxk pila 3 chbb chbbaerkthixxkemuxwnthi 5 knyayn 2513 karxxkwarsarchmrmnkcitwithyakhlinik micudmunghmay ephuxephyaephrkhwamruthangcitwithyakhlinik citewch aelasastriklekhiyngxun rwmthungkarrayngankhawkhwamekhluxnihwinwngkarcitwithyakhlinik sungkmiphlnganihm dancitwithyakhlinikaelasukhphaphcitthiepnpraoychnaekchumchnlngtiphimph odyidrbkhwamrwmmuxcakhnwynganhruxxngkhkrxunthnginpraethsaelatangpraeths txmainpiphuththskrach 2519 chmrmnkcitwithyakhlinik eluxnthanacakchmrm khunmaepnsmakhmnkcitwithyakhlinikithyodyichxksryxwa s n kh th aelaichchuxphasaxngkvswa The Thai Psychologist Association TPA odyminangsawxuneruxn xaiphphstr epnnayksmakhm aelanbepnekiyrtixyangyingthiidrbkhwamkrunacaksastracarynayaephthyfn aesngsingaekw sastracaryhmxmhlwngtuy chumsay sastracarynayaephthyprasph rtnakr aephthyhyingkhunhyingsupha malakul aelanayaephthyprasiththi harinsut maepnthipruksakittimskdiinkhnann swnthipruksakyngkhngidrbkhwamkrunacaknkcitwithyaxawuoskhux nangsmthrng suwrrnelis aelanaynrngkhskdi talapht aelamikhnakrrmkarxanwykarbriharngankhxngsmakhm warala 2 pi txmaidmikarprbepliynchuxwarsarihmmaepnwarsarcitwithyakhlinik odyichchuxphasaxngkvswa Journal of Clinical Psychology macnthungpccubn aelaidmikarphthnaihsxdkhlxngkbkarphthnakarthangsngkhm odymiwtthuprasngkhkhxngkarcdthawarsarsmakhm dngnikhux 1 ephuxephimphunkhwamruaelaprasbkarnrahwangsmachik 2 sngesrimaeladuaelkhunphaphngandancitwithyakhlinikaelacitwithyaaeksmachikthngdankarptibtiaelawichakar 3 ephuxrwmmuxknphlitphlngankarwicythangdancitwithyakhlinikaelasukhphaphcitihepnpraoychntxchumchn 4 ephuxephyaephrkhwamruthangdancitwithyakhlinikaelasukhphaphcitaekprachachn 5 rwmmuxkbsmakhmaelasthabnxun thimiwtthuprasngkhkhlaykhlungknthnginpraethsaelatangpraeths 6 imekiywkhxngkbkaremuxng enuxngcakwichachiphcitwithyakhlinikmilksnakarthanganthimiaenwptibtiaetktangcakwichachiphcitwithyasakhaxun odyechphaaindankartrwcwinicchythangcitwithya aelaephuxtharngiwthungkhwamtrahnkinbthbathwichachiph inpiediywkn smakhm cungidmikarprakascrryabrrnkhxngnkcitwithyakhlinikaelacdphimphephyaephraeksmachiksmakhm inpi 2526 aelainpiphuththskrach 2534 smakhmnkcitwithyakhlinikidmikarthbthwnbthbathaelacdthamatrthankarptibtingankhxngwichachiphcitwithyakhlinikihmihchdecnkhun odykxngsukhphaphcit krmkaraephthyinkhnann aelaidmikarprbprunghlaykhrnghlaysmytxenuxngknmaephuxihepnmatrthansakl aelaepnhlkpraknkhunphaphkarihbrikarkhxngnkcitwithyakhlinik inpiphuththskrach 2546 phrabathsmedcphraprminthrmhaphumiphlxdulyedchidmiphrabrmrachoxngkar oprdekla ihtraphrarachkvsdikakahndihsakhacitwithyakhlinikepnsakhakarprakxborkhsilpatamphrarachbyytikarprakxborkhsilpa ph s 2546 n wnthi 15 krkdakhm ph s 2546 sungehtuphlhnunginkarprakasichphrarachkvsdikachbbnikhux sakhacitwithyakhlinikepnsakhahnungthikrathatxmnusyodytrng karwinicchy karbabdkhwamphidpktithangcitxnenuxngmacakphawathangcitic bukhlikphaph echawnpyya xarmn phvtikrrmkarprbtw khwamekhriyd hruxphvtikrrmphidpktixnenuxngmacakphyathisphaphthangsmxng dwywithiechphaathangcitwithyakhlinik xnepnpraoychntxprachachnthimarbbrikar cungthuxidwaepnkarphthnaxikkhnhnungthimikhwamsakhyxyangying nbwnbthbathkhxngsmakhmnkcitwithyakhlinikcungmiephimkhunephuxthahnathiepnhnwyklanginkarphthnawichachiphcitwithyakhlinik rwmthngkarduaelnkcitwithyakhlinik aelainpipccubnminkcitwithyakhlinikthiphankarsxbaelaidrbkarxnumtiihkhunthaebiynaelarbibxnuyatepnphuprakxborkhsilpasakhacitwithyakhlinikmicanwnthngsin 480 ray smakhmcitwithyakarpruksainpraethsithy mikarkxtngchmrmnkcitwithyakarpruksainpraethsithy emuxpi ph s 2559 epnkarrwmtwnkcitwithyakarpruksacanwnhnungthiehnkhwamsakhykhxngsastrcitwithya aelamiepahmayephuxephyaephrxngkhkhwamruthangcitwithyaephuxbrrethapyhasukhphaphcitkhxngkhnithy pccubnpraethsithyidmikarcdtngsmakhmcitwithyakarpruksainpraethsithy emuxwnthi 6 thnwakhm ph s 2561 odymiwtthuprasngkhdngni sngesrimkhwamepnwichachiphcitwithyakarpruksaihkawhna sngesrimaelaephyaephrkhwamruwichakarekiywkbwichachiphcitwithyakarpruksa sngesrimkhwamsamkhkhi khwamexuxxathr aelaechidchuekiyrtismachik sngesrim snbsnun rwmmuxkbxngkhkarkarkuslxun ephuxsatharnpraoychn imdaeninkarid thiekiywkhxngkbkaremuxngxangxingbngxr chinkulkicniwthn bthaenanacitwithya Introduction to Psychology in carxng engindi aelathiphywly surinya brrnathikar citwithyathwip phimphkhrngthi 8 krungethph khnasngkhmsastr mhawithyalyekstrsastr 2013 08 07 thi ewyaebkaemchchin 2545 hluy capaeths citwithyakarcungic phakhwichacitwithya khnakhrusastr culalngkrnmhawithyaly krungethphmhankhr 2533 hluy capaeths citwithyakarbrihar orngphimphculalngkrnmhawithyaly krungethphmhankhr 2542 hluy capaeths citwithyasmphnth orngphimphculalngkrnmhawithyaly krungethphmhankhr 2533 prawtisastrkhxngtnkaenidphakhwichacitwithyaaehngaerkkhxngpraethsithy xxniln mhawithyalythrrmsastr subkhnemux singhakhm 2555 2016 09 04 thi ewyaebkaemchchinduephimkhnasilpsastr mhawithyalythrrmsastr sakhawichacitwithya khnasilpsastr mhawithyalythrrmsastr klikkarpxngkntnexng citwithyaphasasastraehlngkhxmulxunewbist 50 pi citwithya m thrrmsastr smakhmcitwithyaaehngpraethsithy smakhmnkcitwithyakhlinikithy smakhmcitwithyaxemrikn citwithya mhawithyalythrrmsastr hnngsuxcitwithya 2023 08 22 thi ewyaebkaemchchin