ปลาหางนกยูง | |
---|---|
ปลาหางนกยูงตัวเมีย (ล่าง) และตัวผู้ (บน) ในแบบสายพันธุ์ดั้งเดิมในธรรมชาติ ที่แหล่งน้ำในตรินิแดดและโตเบโก | |
สถานะการอนุรักษ์ | |
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ | |
อาณาจักร: | Animalia |
ไฟลัม: | Chordata |
ชั้น: | Actinopterygii |
อันดับ: | Cyprinodontiformes |
วงศ์: | Poeciliidae |
สกุล: | Poecilia |
สปีชีส์: | P. reticulata |
ชื่อทวินาม | |
Poecilia reticulata , 1859 | |
แผนที่แสดงการกระจายพันธุ์ | |
ชื่อพ้อง | |
|
ปลาหางนกยูง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Poecilia reticulata) เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาสอด (Poeciliidae)
ลักษณะและความเป็นมา
เป็นปลาน้ำจืดที่มีขนาดเล็กมาก มีความยาวไม่เกิน 5 มีจุดเด่นคือครีบหางที่มีขนาดใหญ่ ตัวผู้และตัวเมียมีความแตกต่างกันจนเห็นได้ชัด กล่าวคือ ตัวผู้มีขนาดลำตัวที่เล็กกว่ามาก แต่มีสีสันและครีบที่สวยงามกว่า ขณะที่ตัวเมียตัวใหญ่กว่า ท้องอูม สีสันและครีบเครื่องเล็กกว่า และยังมีปลาหางนกยูงที่มี 2 เพศในตัวเดียวกัน ทำให้สามารถสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศได้
มีการกระจายพันธุ์บริเวณทวีปอเมริกากลางจนถึงอเมริกาใต้ อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำจืดจนถึงน้ำกร่อยที่มีกระแสน้ำไหลเอื่อย ๆ เป็นปลาอาศัยอยู่รวมเป็นฝูง หากินบริเวณผิวน้ำ โดยกินทั้งพืชและสัตว์น้ำรวมถึงแมลงหรือตัวอ่อนแมลงขนาดเล็กด้วย
ปลาหางนกยูงเป็นปลาที่เป็นที่รู้จักกันดีในฐานะที่เป็นปลาสวยงาม ในประเทศไทยได้มีการนำเข้ามาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 โดยนิยมเลี้ยงกันในอ่างบัว เพราะเป็นปลาที่เลี้ยงง่ายมาก มีสีสันสวยงาม สามารถเลี้ยงรวมกันเป็นฝูงได้โดยเริ่มต้นจากตัวเดียว แต่อาจมีปัญหาในการมองเห็นและเลี้ยงดู ทำให้ผู้คนไม่นิยมซื้อมาตัวเดียว จากการเป็นปลาผิวน้ำและเป็นปลาขนาดเล็ก ทำให้การเลี้ยงปลาหางนกยูงในอ่างบัว ไม่จำเป็นต้องใช้เครื่องให้ออกซิเจนเหมือนปลาชนิดอื่น ๆ อีกทั้งการแพร่ขยายพันธุ์ก็กระทำได้ง่ายมาก เนื่องจากเป็นปลาที่ภายในตัว และออกลูกเป็นตัว โดยปลาตัวเมียเมื่อได้รับการผสมแล้วจะสามารถให้ลูกไปได้ราว 2-3 ครอก ซึ่งการขยายพันธุ์ก็เพียงแค่จับปลาตัวผู้และตัวเมียมาเลี้ยงไว้รวมกันก็สามารถให้ลูกได้แล้ว โดยปลาที่มีความพร้อมที่จะขยายพันธุ์จะมีอายุตั้งแต่ 3 เดือนขึ้นไป
ปัจจุบัน ปลาหางนกยูงได้ถูกพัฒนาสายพันธุ์ให้มีสีสันและลวดลายรวมทั้งขนาดลำตัวให้แตกต่าง สวยงามไปจากพันธุ์ดั้งเดิมในธรรมชาติเยอะมาก มีหลายสายพันธุ์ เช่น "ทักซิโด้", "กร๊าซ", "คอบร้า", "โมเสก" , "หางดาบ", "นีออน,"หูช้าง"เป็นต้น
จากความเป็นปลาที่เลี้ยงง่ายขยายพันธุ์ง่าย ทำให้กระทรวงสาธารณสุขได้รณรงค์ให้คนไทยเลี้ยงปลาหางนกยูงไว้ในภาชนะที่ใส่น้ำในบ้านเพื่อกินลูกน้ำและยุงเพื่อเป็นการป้องกันโรคต่าง ๆ ที่เกิดจากยุง และในปัจจุบัน ปลาหางนกยูงได้กลายเป็นชนิดพันธุ์ต่างถิ่นชนิดหนึ่งในประเทศไทยไปแล้ว มีการพบในแหล่งน้ำธรรมชาติทั่วไปปะปนกับปลาขนาดเล็กพื้นเมืองทั้งหลาย ซึ่งปลาหางนกยูงส่วนใหญ่ในธรรมชาติที่พบนั้น จะมีลำตัวใส ไม่มีลวดลายทั้งนี้เนื่องจากเป็นผลจากการผสมภายในสายเลือดเดียวกัน
นอกจากนี้แล้ว ในทางวิชาการ จากการทดลองของนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์ ประเทศอังกฤษ ที่ได้ออกแบบสถานการณ์กระตุ้นระดับความเครียดของปลาหางนกยูงจากธรรมชาติในตรินิแดดและโตเบโก เพื่อสังเกตพฤติกรรมของปลาแต่ละตัว พบว่า ปลาหางนกยูงมีพฤติกรรมที่หลากหลายในการรับมือกับความเครียด เช่น บางตัวพยายามจะที่จะหลบหนีออกมา, บางตัวก็สังเกตอย่างระมัดระวัง สรุปได้ว่า การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของปลาหางนกยูงขึ้นอยู่กับสถานการณ์ เช่น ทุกตัวจะเคร่งเครียดขึ้นในสถานการณ์ที่เครียดมากขึ้น
รูปภาพ
- คู่ปลาหางนกยูงตัวผู้และตัวเมียสายพันธุ์คอบร้า
- สายพันธุ์หางดาบตัวผู้
- สายพันธุ์โมเสกตัวผู้
- สายพันธุ์หนังงูตัวเมีย
- สายพันธ์ฟูลเรด ผู้ (ขวา) เมีย(ซ้าย)
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- การเพาะเลี้ยงปลาหางนกยูง 2009-02-20 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- กรมประมงยื่นมือ สกัดไข้เลือดออกแจกพันธุ์ปลากินยุง ป้องกันเชื้อระบาด 2016-03-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- หน้า 7 วิทยาการ-เกษตร, ลักษณะเฉพาะตัวที่ซ่อนลึกของปลาหางนกยูง. "โลกโศภิณ". ไทยรัฐปีที่ 68 ฉบับที่ 21807: วันพฤหัสบดีที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2560 ขึ้น 12 ค่ำ เดือน 11 ปีระกา
แหล่งข้อมูลอื่น
- รูปและข้อมูลปลาหางนกยูง
ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ Poecilia reticulata ที่วิกิสปีชีส์
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
plahangnkyungplahangnkyungtwemiy lang aelatwphu bn inaebbsayphnthudngediminthrrmchati thiaehlngnaintriniaeddaelaoteboksthanakarxnurkskhwamesiyngta IUCN 3 1 karcaaenkchnthangwithyasastrxanackr Animaliaiflm Chordatachn Actinopterygiixndb Cyprinodontiformeswngs Poeciliidaeskul Poeciliaspichis P reticulatachuxthwinamPoecilia reticulata 1859aephnthiaesdngkarkracayphnthuchuxphxngAcanthophacelus reticulatus Peters 1859 Girardinus reticulatus Peters 1859 Lebistes reticulatus Peters 1859 Poecilioides reticulatus Peters 1859 Girardinus guppii 1866 Acanthophacelus guppii Gunther 1866 Lebistes poecilioides 1861 plahangnkyung chuxwithyasastr Poecilia reticulata epnplanacudkhnadelkchnidhnung inwngsplasxd Poeciliidae lksnaaelakhwamepnmaepnplanacudthimikhnadelkmak mikhwamyawimekin 5 micudednkhuxkhribhangthimikhnadihy twphuaelatwemiymikhwamaetktangkncnehnidchd klawkhux twphumikhnadlatwthielkkwamak aetmisisnaelakhribthiswyngamkwa khnathitwemiytwihykwa thxngxum sisnaelakhribekhruxngelkkwa aelayngmiplahangnkyungthimi 2 ephsintwediywkn thaihsamarthsubphnthuaebbimxasyephsid mikarkracayphnthubriewnthwipxemrikaklangcnthungxemrikait xasyxyuinaehlngnacudcnthungnakrxythimikraaesnaihlexuxy epnplaxasyxyurwmepnfung hakinbriewnphiwna odykinthngphuchaelastwnarwmthungaemlnghruxtwxxnaemlngkhnadelkdwy plahangnkyungepnplathiepnthiruckkndiinthanathiepnplaswyngam inpraethsithyidmikarnaekhamatngaetsmyrchkalthi 5 odyniymeliyngkninxangbw ephraaepnplathieliyngngaymak misisnswyngam samartheliyngrwmknepnfungidodyerimtncaktwediyw aetxacmipyhainkarmxngehnaelaeliyngdu thaihphukhnimniymsuxmatwediyw cakkarepnplaphiwnaaelaepnplakhnadelk thaihkareliyngplahangnkyunginxangbw imcaepntxngichekhruxngihxxksiecnehmuxnplachnidxun xikthngkaraephrkhyayphnthukkrathaidngaymak enuxngcakepnplathiphayintw aelaxxklukepntw odyplatwemiyemuxidrbkarphsmaelwcasamarthihlukipidraw 2 3 khrxk sungkarkhyayphnthukephiyngaekhcbplatwphuaelatwemiymaeliyngiwrwmknksamarthihlukidaelw odyplathimikhwamphrxmthicakhyayphnthucamixayutngaet 3 eduxnkhunip pccubn plahangnkyungidthukphthnasayphnthuihmisisnaelalwdlayrwmthngkhnadlatwihaetktang swyngamipcakphnthudngediminthrrmchatieyxamak mihlaysayphnthu echn thksiod kras khxbra omesk hangdab nixxn huchang epntn cakkhwamepnplathieliyngngaykhyayphnthungay thaihkrathrwngsatharnsukhidrnrngkhihkhnithyeliyngplahangnkyungiwinphachnathiisnainbanephuxkinluknaaelayungephuxepnkarpxngknorkhtang thiekidcakyung aelainpccubn plahangnkyungidklayepnchnidphnthutangthinchnidhnunginpraethsithyipaelw mikarphbinaehlngnathrrmchatithwippapnkbplakhnadelkphunemuxngthnghlay sungplahangnkyungswnihyinthrrmchatithiphbnn camilatwis immilwdlaythngnienuxngcakepnphlcakkarphsmphayinsayeluxdediywkn nxkcakniaelw inthangwichakar cakkarthdlxngkhxngnkwicycakmhawithyalyexksietxr praethsxngkvs thiidxxkaebbsthankarnkratunradbkhwamekhriydkhxngplahangnkyungcakthrrmchatiintriniaeddaelaotebok ephuxsngektphvtikrrmkhxngplaaetlatw phbwa plahangnkyungmiphvtikrrmthihlakhlayinkarrbmuxkbkhwamekhriyd echn bangtwphyayamcathicahlbhnixxkma bangtwksngektxyangramdrawng srupidwa karepliynaeplngphvtikrrmkhxngplahangnkyungkhunxyukbsthankarn echn thuktwcaekhrngekhriydkhuninsthankarnthiekhriydmakkhunrupphaphkhuplahangnkyungtwphuaelatwemiysayphnthukhxbra sayphnthuhangdabtwphu sayphnthuomesktwphu sayphnthuhnngngutwemiy sayphnthfulerd phu khwa emiy say duephimplakinyung plaexndelxrxangxingkarephaaeliyngplahangnkyung 2009 02 20 thi ewyaebkaemchchin krmpramngyunmux skdikheluxdxxkaeckphnthuplakinyung pxngknechuxrabad 2016 03 04 thi ewyaebkaemchchin hna 7 withyakar ekstr lksnaechphaatwthisxnlukkhxngplahangnkyung olkosphin ithyrthpithi 68 chbbthi 21807 wnphvhsbdithi 5 tulakhm ph s 2560 khun 12 kha eduxn 11 pirakawikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb Poecilia reticulataaehlngkhxmulxunrupaelakhxmulplahangnkyung khxmulthiekiywkhxngkb Poecilia reticulata thiwikispichis