กายวิภาคศาสตร์มนุษย์ (อังกฤษ: Human anatomy) เป็นสาขาหนึ่งของวิทยาศาสตร์การแพทย์ ที่เน้นทางด้านการศึกษาโครงสร้างต่างๆที่ประกอบกันเป็นร่างกายของมนุษย์ และเป็นหนึ่งในศาสตร์ที่มีประวัติความเป็นมาที่ยาวนาน การศึกษากายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์สามารถแบ่งออกได้เป็นสี่สาขาหลัก ได้แก่ มหกายวิภาคศาสตร์ (Gross anatomy) จุลกายวิภาคศาสตร์ (Histology) ประสาทกายวิภาคศาสตร์ (Neuroanatomy) และ (Developmental anatomy) ในปัจจุบันการศึกษากายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์จะเน้นไปในด้านการประยุกต์ใช้ และการนำเอาเทคโนโลยีทางด้านอณูชีววิทยามาใช้ในการศึกษากายวิภาคศาสตร์ในระดับเซลล์และเนื้อเยื่อ
ประวัติของการศึกษากายวิภาคศาสตร์มนุษย์
การศึกษากายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์เริ่มขึ้นตั้งแต่ในสมัยอารยธรรมโบราณ โดยอาศัยการผ่าตัดซากศพของมนุษย์ จนกระทั่งได้มีวิวัฒนาการของการใช้น้ำยารักษาสภาพของศพเพื่อการศึกษา ทำให้มีการศึกษากายวิภาคของมนุษย์ที่เป็นแบบแผนมากขึ้น จนกระทั่งปัจจุบันที่มีการนำเอาเทคโนโลยีใหม่ๆมาใช้ในการรักษาและการศึกษากายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์
การศึกษาในยุคโบราณ
อารยธรรมที่มีการค้นพบว่ามีการศึกษากายวิภาคของมนุษย์อย่างเป็นลายลักษณ์อักษรเป็นอารยธรรมแรก คืออารยธรรมอียิปต์โบราณ จากการค้นพบบันทึกในกระดาษปาปิรุส (papyrus) ที่มีการกล่าวถึงของมนุษย์ อาทิ หัวใจ หลอดเลือด ตับ ไต ม้าม มดลูก และกระเพาะปัสสาวะ นอกจากนี้ ชาวอียิปต์โบราณยังมีความเชื่อว่าหัวใจเป็นศูนย์กลางของร่างกาย และเป็นแหล่งรวมของของเหลวทุกชนิดในร่างกาย
ในยุคของอารยธรรมกรีกโบราณ การศึกษากายวิภาคศาสตร์ได้มีความเจริญก้าวหน้าขึ้น โดยมีแพทย์และนักปราชญ์เมธีกรีกหลายคนมีส่วนในการพัฒนาวิชานี้ อาทิเช่น ฮิปโปกราเตส (Hippocrates) อริสโตเติล (Aristotle) (Herophilos) และ (Erasistratus) อย่างไรก็ตาม ผู้ที่มีส่วนในการวางรากฐานของการศึกษากายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์ที่มีชื่อเสียงมากที่สุดในยุคโบราณ คือ กาเลน (Galen) ซึ่งเป็นศัลยแพทย์ชาวกรีกที่ได้ศึกษากายวิภาคของมนุษย์ผ่านทางการผ่าตัดบาดแผลต่างๆ และการศึกษาจากการชำแหละสัตว์ บันทึกของกาเลนได้ถูกนำมาใช้ในการศึกษากายวิภาคศาสตร์จนกระทั่งถึงยุคกลาง
การศึกษาในยุคกลางและยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
การศึกษากายวิภาคของมนุษย์หยุดชะงักลงไปชั่วคราวในช่วงยุคกลาง ซึ่งมีข้อกำหนดทางศาสนาที่เคร่งครัด จนกระทั่งแพทย์หลวงในอาณาจักรโรมันโบราณ ชื่อ แอนเดรียส เวซาเลียส (Andreas Vesalius) ได้ทำการศึกษากายวิภาคของมนุษย์อย่างละเอียดโดยใช้ศพของนักโทษประหาร และตีพิมพ์เป็นหนังสือ De humani corporis fabrica ซึ่งมีภาพประกอบของร่างกายของมนุษย์ที่ละเอียดและสมจริงอย่างมาก การศึกษากายวิภาคของมนุษย์ได้มีการพัฒนาอย่างแพร่หลายไปพร้อมกับยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการ ซึ่งศิลปินเอกหลายคนได้ศึกษาโครงสร้างต่างๆของมนุษย์เพื่อประกอบการสร้างงานศิลปะ ทำให้วิชากายวิภาคศาสตร์รุดหน้าไปมาก
การศึกษากายวิภาคศาสตร์ในยุคปัจจุบัน
ในช่วงศตวรรษที่ 19 ด้วยวิทยาการใหม่ทางด้านเคมี ทำให้สามารถนำสารเคมีมาใช้ในการรักษาสภาพและศึกษาโครงสร้างส่วนต่างๆของมนุษย์ ทั้งในระดับมหกายวิภาคศาสตร์ และระดับจุลกายวิภาคศาสตร์ได้มากขึ้น และทำให้ความรู้ทางด้านนี้ก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็ว มีการศึกษาอวัยวะต่างๆของมนุษย์อย่างเป็นระบบระเบียบ จนกระทั่งในศตวรรษที่ 20 ได้มีการนำเอาเครื่องมือทางฟิสิกส์มาใช้ในการศึกษาโครงสร้างภายในของมนุษย์ที่ยังมีชีวิตอยู่ เช่น การใช้รังสีเอกซ์ การสร้างภาพด้วยเรโซแนนซ์แม่เหล็ก (Magnetic resonance imaging) และการถ่ายภาพรังสีส่วนตัดอาศัยคอมพิวเตอร์ (Computer tomography) ซึ่งนับว่าเป็นวิวัฒนาการล่าสุดในการวิเคราะห์โครงสร้างของมนุษย์เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในการวินิจฉัยโรค
แนวทางของการศึกษากายวิภาคศาสตร์มนุษย์
ปัจจุบัน การศึกษากายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์จะแบ่งออกเป็นสองแบบ คือการศึกษาเฉพาะในแต่ละส่วน (Regional approach) และการศึกษาในแต่ละระบบอวัยวะ (Systemic approach)
กายวิภาคศาสตร์มนุษย์เฉพาะส่วน
โดยทั่วไปแล้ว ร่างกายของมนุษย์จะถูกแบ่งออกเป็น 7 ส่วน ได้แก่
- (Head and neck) ได้แก่ส่วนของร่างกายที่อยู่เหนือต่อช่องอก
- รยางค์บน (Upper limbs) ซึ่งรวมตั้งแต่ส่วนของไหล่ ศอก ปลายแขน และมือ
- (Back) คือโครงสร้างส่วนที่อยู่โดยรอบกระดูกสันหลังตั้งแต่ส่วนคอถึงก้นกบ
- ทรวงอก (Thorax) คือบริเวณตั้งแต่ส่วนที่อยู่ด้านล่างต่อลำคอ จนถึงกะบังลม
- ช่องท้อง (Abdomen) คือบริเวณตั้งแต่กะบังลมจนถึงและ (inguinal ligamant)
- อุ้งเชิงกรานและ (Pelvis and perineum) ได้แก่บริเวณที่อยู่ใต้ขอบเชิงกรานลงไปจนถึง (pelvic diaphragm) ส่วนฝีเย็บเป็นบริเวณโดยรอบทวารหนักและอวัยวะสืบพันธุ์ ซึ่งอยู่ใต้แผ่นปิดเชิงกราน
- รยางค์ล่าง (Lower limbs) คือส่วนที่อยู่ใต้ต่อเอ็นขาหนีบ ซึ่งได้แก่ เข่า จนถึงเท้า
กายวิภาคศาสตร์มนุษย์ในแต่ละระบบ
มนุษย์ประกอบด้วยระบบของอวัยวะทั้งหมด 10 ระบบ ซึ่งได้แก่
- (Integumentary system)
- ระบบหัวใจหลอดเลือด (Cardiovascular system)
- ระบบทางเดินหายใจ (Respiratory system)
- ระบบย่อยอาหาร (Digestive system)
- ระบบขับถ่าย (Excretory system)
- ระบบน้ำเหลือง (Lymphatic system)
- (Musculoskeletal system)
- ระบบประสาท (Nervous system)
- ระบบต่อมไร้ท่อ (Endocrine system)
- ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive system)
แหล่งข้อมูลอื่น
- Anatomy Dissection 2006-01-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน วิดีโอคลิป แสดงสาธิตการชำแหละร่างกายมนุษย์
- e-Anatomy 2017-06-25 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน - แสดงภาพตัดขวางของร่างกายมนุษย์ ในแบบ interactive
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
kaywiphakhsastrmnusy xngkvs Human anatomy epnsakhahnungkhxngwithyasastrkaraephthy thiennthangdankarsuksaokhrngsrangtangthiprakxbknepnrangkaykhxngmnusy aelaepnhnunginsastrthimiprawtikhwamepnmathiyawnan karsuksakaywiphakhsastrkhxngmnusysamarthaebngxxkidepnsisakhahlk idaek mhkaywiphakhsastr Gross anatomy culkaywiphakhsastr Histology prasathkaywiphakhsastr Neuroanatomy aela Developmental anatomy inpccubnkarsuksakaywiphakhsastrkhxngmnusycaennipindankarprayuktich aelakarnaexaethkhonolyithangdanxnuchiwwithyamaichinkarsuksakaywiphakhsastrinradbesllaelaenuxeyuxrupaesdngrabbklamenuxkhxngmnusyinlksnathrrmchati cakhnngsux Fabrica odyaexnedriys ewsaeliysprawtikhxngkarsuksakaywiphakhsastrmnusykarsuksakaywiphakhsastrkhxngmnusyerimkhuntngaetinsmyxarythrrmobran odyxasykarphatdsaksphkhxngmnusy cnkrathngidmiwiwthnakarkhxngkarichnayarksasphaphkhxngsphephuxkarsuksa thaihmikarsuksakaywiphakhkhxngmnusythiepnaebbaephnmakkhun cnkrathngpccubnthimikarnaexaethkhonolyiihmmaichinkarrksaaelakarsuksakaywiphakhsastrkhxngmnusy karsuksainyukhobran xarythrrmthimikarkhnphbwamikarsuksakaywiphakhkhxngmnusyxyangepnlaylksnxksrepnxarythrrmaerk khuxxarythrrmxiyiptobran cakkarkhnphbbnthukinkradaspapirus papyrus thimikarklawthungkhxngmnusy xathi hwic hlxdeluxd tb it mam mdluk aelakraephaapssawa nxkcakni chawxiyiptobranyngmikhwamechuxwahwicepnsunyklangkhxngrangkay aelaepnaehlngrwmkhxngkhxngehlwthukchnidinrangkay inyukhkhxngxarythrrmkrikobran karsuksakaywiphakhsastridmikhwamecriykawhnakhun odymiaephthyaelankprachyemthikrikhlaykhnmiswninkarphthnawichani xathiechn hipopkraets Hippocrates xrisotetil Aristotle Herophilos aela Erasistratus xyangirktam phuthimiswninkarwangrakthankhxngkarsuksakaywiphakhsastrkhxngmnusythimichuxesiyngmakthisudinyukhobran khux kaeln Galen sungepnslyaephthychawkrikthiidsuksakaywiphakhkhxngmnusyphanthangkarphatdbadaephltang aelakarsuksacakkarchaaehlastw bnthukkhxngkaelnidthuknamaichinkarsuksakaywiphakhsastrcnkrathngthungyukhklang karsuksainyukhklangaelayukhfunfusilpwithyakar aexnedriys ewsaeliys karsuksakaywiphakhkhxngmnusyhyudchangklngipchwkhrawinchwngyukhklang sungmikhxkahndthangsasnathiekhrngkhrd cnkrathngaephthyhlwnginxanackrormnobran chux aexnedriys ewsaeliys Andreas Vesalius idthakarsuksakaywiphakhkhxngmnusyxyanglaexiydodyichsphkhxngnkothsprahar aelatiphimphepnhnngsux De humani corporis fabrica sungmiphaphprakxbkhxngrangkaykhxngmnusythilaexiydaelasmcringxyangmak karsuksakaywiphakhkhxngmnusyidmikarphthnaxyangaephrhlayipphrxmkbyukhfunfusilpwithyakar sungsilpinexkhlaykhnidsuksaokhrngsrangtangkhxngmnusyephuxprakxbkarsrangngansilpa thaihwichakaywiphakhsastrrudhnaipmak karsuksakaywiphakhsastrinyukhpccubn phaph btheriynkaywiphakhkhxngnayaephthythulph odyaermbrngdaesdngphaphkhxngkarsathitkarchaaehlasphinsmystwrrsthi 17 inchwngstwrrsthi 19 dwywithyakarihmthangdanekhmi thaihsamarthnasarekhmimaichinkarrksasphaphaelasuksaokhrngsrangswntangkhxngmnusy thnginradbmhkaywiphakhsastr aelaradbculkaywiphakhsastridmakkhun aelathaihkhwamruthangdannikawhnaipxyangrwderw mikarsuksaxwywatangkhxngmnusyxyangepnrabbraebiyb cnkrathnginstwrrsthi 20 idmikarnaexaekhruxngmuxthangfisiksmaichinkarsuksaokhrngsrangphayinkhxngmnusythiyngmichiwitxyu echn karichrngsiexks karsrangphaphdwyerosaennsaemehlk Magnetic resonance imaging aelakarthayphaphrngsiswntdxasykhxmphiwetxr Computer tomography sungnbwaepnwiwthnakarlasudinkarwiekhraahokhrngsrangkhxngmnusyephuxnaipprayuktichinkarwinicchyorkhaenwthangkhxngkarsuksakaywiphakhsastrmnusyphaphsaeknodykarthayphaphrngsiswntdxasykhxmphiwetxr aesdngphakhtdkhwangkhxngsirsakhxngmnusy inranabthiphan smxngklibkhmb aelasiriebllm pccubn karsuksakaywiphakhsastrkhxngmnusycaaebngxxkepnsxngaebb khuxkarsuksaechphaainaetlaswn Regional approach aelakarsuksainaetlarabbxwywa Systemic approach kaywiphakhsastrmnusyechphaaswn odythwipaelw rangkaykhxngmnusycathukaebngxxkepn 7 swn idaek Head and neck idaekswnkhxngrangkaythixyuehnuxtxchxngxk ryangkhbn Upper limbs sungrwmtngaetswnkhxngihl sxk playaekhn aelamux Back khuxokhrngsrangswnthixyuodyrxbkraduksnhlngtngaetswnkhxthungknkb thrwngxk Thorax khuxbriewntngaetswnthixyudanlangtxlakhx cnthungkabnglm chxngthxng Abdomen khuxbriewntngaetkabnglmcnthungaela inguinal ligamant xungechingkranaela Pelvis and perineum idaekbriewnthixyuitkhxbechingkranlngipcnthung pelvic diaphragm swnfieybepnbriewnodyrxbthwarhnkaelaxwywasubphnthu sungxyuitaephnpidechingkran ryangkhlang Lower limbs khuxswnthixyuittxexnkhahnib sungidaek ekha cnthungethakaywiphakhsastrmnusyinaetlarabb mnusyprakxbdwyrabbkhxngxwywathnghmd 10 rabb sungidaek Integumentary system rabbhwichlxdeluxd Cardiovascular system rabbthangedinhayic Respiratory system rabbyxyxahar Digestive system rabbkhbthay Excretory system rabbnaehluxng Lymphatic system Musculoskeletal system rabbprasath Nervous system rabbtxmirthx Endocrine system rabbsubphnthu Reproductive system aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb kaywiphakhsastrmnusy Anatomy Dissection 2006 01 27 thi ewyaebkaemchchin widioxkhlip aesdngsathitkarchaaehlarangkaymnusy e Anatomy 2017 06 25 thi ewyaebkaemchchin aesdngphaphtdkhwangkhxngrangkaymnusy inaebb interactive