ฟร็องซัว บูเช (ฝรั่งเศส: François Boucher; 29 กันยายน ค.ศ. 1703 - 30 พฤษภาคม ค.ศ. 1770) เป็นจิตรกรสมัยโรโคโคคนสำคัญชาวฝรั่งเศสของคริสต์ศตวรรษที่ 18 ผู้มีชื่อเสียงในงานเขียนที่เป็นอุดมคติและอวบอิ่ม (voluptuous) ของภาพประเภทคลาสสิก อุปมานิทัศน์ และท้องทุ่ง (pastoral) นอกจากนั้นบูเชก็ยังเขียนภาพเหมือนหลายภาพของมาดาม เดอ ปงปาดูร์
ฟร็องซัว บูเช |
---|
ประวัติ
ฟร็องซัว บูเชเกิดเมื่อวันที่ 29 กันยายน ค.ศ. 1703 ที่กรุงปารีสในประเทศฝรั่งเศส เป็นบุตรของนีกอลา บูเช ช่างออกแบบลูกไม้ บูเชอาจจะเป็นจิตรกรตกแต่งผู้มีชื่อเสียงที่สุดในคริสต์ศตวรรษที่ 18 จากงานเขียนที่เรียกว่ามีลักษณะแบบโรโคโค เมื่อมีอายุได้ 17 ปีบูเชก็ไปฝึกงานกับ (François Lemoyne) แต่เพียงสามเดือนบูเชก็ไปทำงานกับช่างพิมพ์ (engraver) ฌ็อง-ฟร็องซัว การ์ ภายในสามปีเท่านั้นบูเชก็ได้รับรางวัลอันมีเกียรติกรองด์ปรีซ์เดอโรมจากราชสถาบันแห่งจิตรกรรมและประติมากรรม (Académie de peinture et de sculpture) แต่ก็ไม่ได้ถือโอกาสรับรางวัลในการเดินทางไปศึกษายัง (Académie de France à Rome) จนกระทั่งอีกสี่ปีต่อมา เมื่อกลับจากอิตาลีในปี ค.ศ. 1731 บูเชก็ได้รับเข้าเป็นสมาชิกของราชสถาบันแห่งจิตรกรรมและประติมากรรมในฐานะจิตรกรประวัติศาสตร์ และในปี ค.ศ. 1734 ก็ได้เป็นสมาชิกของคณะวิชาการของสถาบัน
จากนั้นงานอาชีพของบูเชก็เริ่มรุ่งเรืองขึ้นเมื่อได้รับการเลื่อนตำแหน่งขึ้นจากการเป็นศาสตราจารย์เป็นอธิการของสถาบัน, เป็นผู้อำนวยการโรงงานทอพรมแขวนผนัง ในปี ค.ศ. 1755 และ เป็นจิตรกรเอกประจำราชสำนักฝรั่งเศส ระหว่างปี ค.ศ. 1765 ถึงปี ค.ศ. 1770
อิทธิพลของอ็องตวน วาโต และปีเตอร์ พอล รูเบนส์ เห็นได้ในงานเขียนในสมัยแรกของบูเชที่เป็นงานเขียนที่แสดงความสงบและความเป็นอุดมคติ ที่เห็นได้จากธรรมชาติและภูมิทัศน์ที่เขียน แต่งานเขียนของบูเชต่างจากงานเขียนประเภทเดียวกันที่ทำกันมาก่อนหน้านั้นที่มิได้แสดงความบริสุทธิ์ของธรรมชาติแต่เป็นการเขียนที่มีลักษณะเฉพาะตัวและแฝงความเร้าใจทางเพศ (eroticism) เข้าไปในภาพด้วย นอกจากนั้นงานเขียนที่เกี่ยวกับตำนานเทพก็เป็นงานเขียนที่เต็มไปด้วยพลังและความรู้สึกอันใกล้ชิดแทนที่จะเป็นงานเขียนที่แสดงความมีอานุภาพของเทพตามธรรมเนียมการเขียน มาดาม เดอ ปงปาดูร์ (พระสนมในพระเจ้าหลุยส์ที่ 15) เป็นผู้หนึ่งที่ชื่นชมงานเขียนของบูเช โดยเฉพาะในงานเขียนภาพเหมือนของเธอเองที่บูเชส่งเสริมความงามของตัวแบบ
ภาพเขียนเช่น “อาหารเช้า” ที่เขียนในปี ค.ศ. 1739 เป็นฉากครอบครัวเป็นภาพที่แสดงให้เห็นถึงความสามารถในการเขียนภาพชีวิตประจำวันที่บูเชใช้ภรรยาและครอบครัวของตนเองเป็นแบบ แต่ฉากที่แสดงความใกล้ชิดของครอบครัวเช่นนี้เป็นลักษณะที่ต่างจากการเขียนภาพแบบ “ยั่วยวนอารมณ์” (licentious) อย่างสิ้นเชิง เช่นที่เห็นในภาพเหมือนประเภทสตรีในฮาเร็ม “” (Odalisque) ภาพ “โอดาลิสก์” ผมดำภาพหนึ่งถึงกับทำให้เดอนี ดีเดอโร (Denis Diderot) ถึงกับกล่าววิจารณ์บูเชว่า “ขายภรรยาเป็นโสเภณี” และภาพ “โอดาลิสก์ผมทอง” เป็นภาพเหมือนที่แสดงให้เห็นถึงการมีความสัมพันธ์นอกสมรสของพระมหากษัตริย์ บูเชมามีชื่อกับการเขียนภาพให้ลูกค้าส่วนตัวผู้มีฐานะดี แต่หลังจากที่ถูกวิจารณ์โดยดิเดอโรต์แล้วงานของบูเชก็เริ่มถูกโจมตีหนักขึ้นในระหว่างบั้นปลายของความสร้างสรรค์
นอกจากจะเป็นจิตรกรแล้วบูเชก็ยังออกแบบฉากละครและเครื่องแต่งกายของตัวละครด้วย เช่นสำหรับอุปรากรชวนขันโดย (Charles Simon Favart) ที่คล้ายกับลักษณะงานจิตรกรรมที่เขียน และออกแบบพรมทอแขวนผนัง เช่นการออกแบบพรมทอแขวนผนังโบแว (Beauvais tapestry) ที่เป็นหัวเรื่อง “เทศกาลอิตาลี” ในปี ค.ศ. 1736 ซึ่งเป็นงานที่มีชื่อเสียงจนมีการทอกันใหม่หลายครั้งต่อมา และต่อมาในชุดที่เป็นเรื่องราวของคิวปิดและไซคี ระหว่างยี่สิบปีที่ยุ่งอยู่กับงานพรมทอแขวนผนังโบแว บูเชก็ออกแบบพรมอีกหกชุด จนเมื่อมาได้รับตำแหน่งเป็นผู้อำนวยการโรงงานทอพรมแขวนผนัง ในปี ค.ศ. 1755 ที่เป็นคู่แข่งกับโบแวเท่านั้นที่ทำให้ต้องหยุดชะงักลง นอกจากนั้นแล้วบูเชก็ยังถูกเรียกตัวไปออกแบบงานฉลองในเทศกาลต่างๆ ของราชสำนักที่จัดโดยแผนกจัดงานมหกรรม (Menus plaisirs du Roi) และสำหรับอุปรากรที่พระราชวังแวร์ซายส์และ งานที่ได้รับก็ยิ่งสร้างชื่อเสียงที่มีอยู่แล้วให้มากยิ่งขึ้น ที่ทำให้มีผู้นำไปแกะพิมพ์ หรือเมื่อ (Vincennes porcelain) และ (Manufacture nationale de Sèvres) นำไปเป็นลวดลายในการออกแบบเครื่องเคลือบ
จิตรกรฟื้นฟูคลาสสิกฌัก-หลุยส์ ดาวิดเริ่มศึกษางานเขียนกับฟร็องซัว บูเช
บูเชมีชื่อเสียงจากประโยคที่ว่าธรรมชาติ “trop verte et mal éclairée” ที่แปลว่า “เขียวเกินไปและให้แสงไม่ถูกต้อง”
บูเชเสียชีวิตเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม ค.ศ. 1770 ในกรุงปารีส ชื่อของบูเชและมาดาม เดอ ปงปาดูร์เป็นชื่อสองชื่อที่มีความเกี่ยวดองกับศิลปะโรโคโคอย่างขาดไม่ได้ ที่ทำให้พี่น้องกงกูร์บรรยายว่า “บูเชเป็นหนึ่งในบุคคลประเภทที่เป็นผู้แทนของรสนิยมของศตวรรษ ผู้ที่แสดง, เป็นตัวแทน และ เป็นสัญลักษณ์ของยุค”
อ้างอิง
- Kathryn B. Hiesinger, "The Sources of François Boucher's 'Psyche' Tapestries" Philadelphia Museum of Art Bulletin 72 No. 314 (November 1976), pp. 7-23.
- Houssaye, Arsène (1843). "Boucher et la peinture sous Louis XV"". Revue des deux mondes. n. s. 3: 70–98. p. 86 (citing a letter to Nicolas Lancret).
ดูเพิ่ม
แหล่งข้อมูลอื่น
วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ ฟร็องซัว บูเช
- www.francoisboucher.org 64 works by François Boucher
- French Engraving
สมุดภาพ
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
frxngsw buech frngess Francois Boucher 29 knyayn kh s 1703 30 phvsphakhm kh s 1770 epncitrkrsmyorokhokhkhnsakhychawfrngesskhxngkhriststwrrsthi 18 phumichuxesiynginnganekhiynthiepnxudmkhtiaelaxwbxim voluptuous khxngphaphpraephthkhlassik xupmanithsn aelathxngthung pastoral nxkcaknnbuechkyngekhiynphaphehmuxnhlayphaphkhxngmadam edx pngpadurfrxngsw buech xaharecha kh s 1739prawtifrxngsw buechekidemuxwnthi 29 knyayn kh s 1703 thikrungparisinpraethsfrngess epnbutrkhxngnikxla buech changxxkaebblukim buechxaccaepncitrkrtkaetngphumichuxesiyngthisudinkhriststwrrsthi 18 caknganekhiynthieriykwamilksnaaebborokhokh emuxmixayuid 17 pibuechkipfukngankb Francois Lemoyne aetephiyngsameduxnbuechkipthangankbchangphimph engraver chxng frxngsw kar phayinsampiethannbuechkidrbrangwlxnmiekiyrtikrxngdprisedxormcakrachsthabnaehngcitrkrrmaelapratimakrrm Academie de peinture et de sculpture aetkimidthuxoxkasrbrangwlinkaredinthangipsuksayng Academie de France a Rome cnkrathngxiksipitxma emuxklbcakxitaliinpi kh s 1731 buechkidrbekhaepnsmachikkhxngrachsthabnaehngcitrkrrmaelapratimakrrminthanacitrkrprawtisastr aelainpi kh s 1734 kidepnsmachikkhxngkhnawichakarkhxngsthabn caknnnganxachiphkhxngbuechkerimrungeruxngkhunemuxidrbkareluxntaaehnngkhuncakkarepnsastracaryepnxthikarkhxngsthabn epnphuxanwykarorngnganthxphrmaekhwnphnng inpi kh s 1755 aela epncitrkrexkpracarachsankfrngess rahwangpi kh s 1765 thungpi kh s 1770 xiththiphlkhxngxxngtwn waot aelapietxr phxl ruebns ehnidinnganekhiyninsmyaerkkhxngbuechthiepnnganekhiynthiaesdngkhwamsngbaelakhwamepnxudmkhti thiehnidcakthrrmchatiaelaphumithsnthiekhiyn aetnganekhiynkhxngbuechtangcaknganekhiynpraephthediywknthithaknmakxnhnannthimiidaesdngkhwambrisuththikhxngthrrmchatiaetepnkarekhiynthimilksnaechphaatwaelaaefngkhwameraicthangephs eroticism ekhaipinphaphdwy nxkcaknnnganekhiynthiekiywkbtananethphkepnnganekhiynthietmipdwyphlngaelakhwamrusukxniklchidaethnthicaepnnganekhiynthiaesdngkhwammixanuphaphkhxngethphtamthrrmeniymkarekhiyn madam edx pngpadur phrasnminphraecahluysthi 15 epnphuhnungthichunchmnganekhiynkhxngbuech odyechphaainnganekhiynphaphehmuxnkhxngethxexngthibuechsngesrimkhwamngamkhxngtwaebb phaphekhiynechn xaharecha thiekhiyninpi kh s 1739 epnchakkhrxbkhrwepnphaphthiaesdngihehnthungkhwamsamarthinkarekhiynphaphchiwitpracawnthibuechichphrryaaelakhrxbkhrwkhxngtnexngepnaebb aetchakthiaesdngkhwamiklchidkhxngkhrxbkhrwechnniepnlksnathitangcakkarekhiynphaphaebb ywywnxarmn licentious xyangsineching echnthiehninphaphehmuxnpraephthstriinhaerm Odalisque phaph oxdalisk phmdaphaphhnungthungkbthaihedxni diedxor Denis Diderot thungkbklawwicarnbuechwa khayphrryaepnosephni aelaphaph oxdaliskphmthxng epnphaphehmuxnthiaesdngihehnthungkarmikhwamsmphnthnxksmrskhxngphramhakstriy buechmamichuxkbkarekhiynphaphihlukkhaswntwphumithanadi aethlngcakthithukwicarnodydiedxortaelwngankhxngbuechkerimthukocmtihnkkhuninrahwangbnplaykhxngkhwamsrangsrrkh nxkcakcaepncitrkraelwbuechkyngxxkaebbchaklakhraelaekhruxngaetngkaykhxngtwlakhrdwy echnsahrbxuprakrchwnkhnody Charles Simon Favart thikhlaykblksnangancitrkrrmthiekhiyn aelaxxkaebbphrmthxaekhwnphnng echnkarxxkaebbphrmthxaekhwnphnngobaew Beauvais tapestry thiepnhweruxng ethskalxitali inpi kh s 1736 sungepnnganthimichuxesiyngcnmikarthxknihmhlaykhrngtxma aelatxmainchudthiepneruxngrawkhxngkhiwpidaelaiskhi rahwangyisibpithiyungxyukbnganphrmthxaekhwnphnngobaew buechkxxkaebbphrmxikhkchud cnemuxmaidrbtaaehnngepnphuxanwykarorngnganthxphrmaekhwnphnng inpi kh s 1755 thiepnkhuaekhngkbobaewethannthithaihtxnghyudchangklng nxkcaknnaelwbuechkyngthukeriyktwipxxkaebbnganchlxnginethskaltang khxngrachsankthicdodyaephnkcdnganmhkrrm Menus plaisirs du Roi aelasahrbxuprakrthiphrarachwngaewrsaysaela nganthiidrbkyingsrangchuxesiyngthimixyuaelwihmakyingkhun thithaihmiphunaipaekaphimph hruxemux Vincennes porcelain aela Manufacture nationale de Sevres naipepnlwdlayinkarxxkaebbekhruxngekhluxb citrkrfunfukhlassikchk hluys dawiderimsuksanganekhiynkbfrxngsw buech buechmichuxesiyngcakpraoykhthiwathrrmchati trop verte et mal eclairee thiaeplwa ekhiywekinipaelaihaesngimthuktxng buechesiychiwitemuxwnthi 30 phvsphakhm kh s 1770 inkrungparis chuxkhxngbuechaelamadam edx pngpadurepnchuxsxngchuxthimikhwamekiywdxngkbsilpaorokhokhxyangkhadimid thithaihphinxngkngkurbrryaywa buechepnhnunginbukhkhlpraephththiepnphuaethnkhxngrsniymkhxngstwrrs phuthiaesdng epntwaethn aela epnsylksnkhxngyukh xangxingKathryn B Hiesinger The Sources of Francois Boucher s Psyche Tapestries Philadelphia Museum of Art Bulletin 72 No 314 November 1976 pp 7 23 Houssaye Arsene 1843 Boucher et la peinture sous Louis XV Revue des deux mondes n s 3 70 98 p 86 citing a letter to Nicolas Lancret duephimsilpaorokhokhaehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxekiywkb frxngsw buech www francoisboucher org 64 works by Francois Boucher French Engravingsmudphaph winssrngna kh s 1751 mari hluys oxemxrfi raw kh s 1752 idaexnnasrngna kh s 1742 Renaud aela Armide kh s 1770 wlkhnmxbxawuthsahrbexensaekwins kh s 1770 madam edx pngpadur raw kh s 1750 Madame Bergeret kh s 1746 sirsastri raw kh s 1750 yuwethph kh s 1761 Die Modistin kh s 1746