ความจริงวิปลาส (อังกฤษ: derealization มักย่อว่า DR) เป็นความผันแปรทางการรับรู้ที่ประสบการณ์กับโลกภายนอกดูเหมือนไม่จริง อาการอื่น ๆ รวมทั้งรู้สึกว่าโลกรอบ ๆ ตัวเหมือนความฝัน อยู่ห่างไกล หรือบิดเบือน) มันเป็นอาการแยกตัวออกจากความจริง (dissociation) ที่เกิดในภาวะต่าง ๆ รวมทั้งความเครียดรุนแรง การบาดเจ็บทางกายใจ ความซึมเศร้า และความวิตกกังวล
ความจริงวิปลาสเป็นประสบการณ์ที่เป็นอัตวิสัยเกี่ยวกับความไม่จริงของโลกภายนอก เทียบกับบุคลิกวิปลาส (depersonalization) ที่รู้สึกว่าตนเองไม่เป็นจริง แต่นักวิชาการปัจจุบันโดยมากก็ไม่คิดว่าความจริงวิปลาส (สิ่งแวดล้อม) และบุคลิกวิปลาส (ตนเอง) เป็นภาวะที่แยกจากกัน ความจริงวิปลาสเรื้อรังอาจมาจากการทำหน้าที่ผิดปกติของสมองกลีบท้ายทอยและกลีบขมับ ภาวะนี้สามัญในประชากรทั่วไปโดยมีความชุกตลอดชีวิตถึง 5% และ 31-66% เมื่อเกิดเหตุการณ์ที่ทำให้เจ็บกายหรือใจ
ลักษณะ
ในภาวะนี้ อาจเรียกได้ว่ามีสิ่งที่จับต้องไม่ได้/ไม่มีตัวตนที่แยกบุคคลจากโลกภายนอก อาจเป็นเหมือนหมอกคลุมประสาทสัมผัส แผ่นกระจกฝ้า หรือม่านบาง ๆ บุคคลอาจบอกว่า สิ่งที่ตนเห็นรู้สึกไม่มีชีวิตชีวาและไร้อารมณ์ การเห็นบุคคลที่รักอาจมีการตอบสนองทางอารมณ์ลดลงอย่างสำคัญ ความรู้สึกว่าเคยเห็นแล้วทั้ง ๆ ที่ไม่เคยเห็น (เดฌา-วูว์) หรือว่าไม่เคยเห็นทั้ง ๆ ที่เคยเห็น (jamais vu) เป็นเรื่องสามัญ สถานที่ที่คุ้นเคยอาจรู้สึกแปลก ไม่คุ้นเคย ไม่เป็นจริง อาจไม่สามารถปลงใจถึงสิ่งที่รับรู้ว่าเป็นจริงหรือไม่ อาจรู้สึกเหมือนอยู่ในภาพยนตร์ที่ใช้เทคนิคซูมกล้อง (dolly zoom) ที่ทำให้ขนาดและทัศนมิติของสิ่งที่เห็นผิดเพี้ยนไป การรับรู้ที่บิดเบือนเช่นนี้อาจกระจายไปยังประสาทสัมผัสอื่น ๆ รวมทั้งการได้ยิน การรู้รส และการได้กลิ่น
ความจริงวิปลาสมักเกิดในสถานการณ์ที่วิตกกังวลมาก หรือมีความคิดแทรกซอนที่ไม่สามารถหยุดคิดได้ ในกรณีเช่นนี้ ภาวะอาจเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ไปตามความวิตกกังวลที่เป็นมูลฐานโดยประกอบกับความคิดที่ก่อทุกข์ จะรู้ตัวก็ต่อเมื่อถึงจุดวิกฤติโดยมักปรากฏเป็นความตื่นตระหนก (panic attack) ความวิตกกังวลจึงปรากฏอย่างชัดเจนอย่างปฏิเสธไม่ได้ ซึ่งอาจขัดการดำเนินชีวิตและสร้างพฤติกรรมหลีกเลี่ยง (avoidant behavior) บุคคลที่ประสบกับภาวะความจริงวิปลาสอาจกังวลว่าอะไรเป็นเหตุ โดยยอมรับได้ยากว่า อาการน่าเป็นห่วงเช่นนี้เป็นผลของความวิตกกังวล เพราะมักคิดว่าต้องเป็นเหตุหนักกว่านั้น ซึ่งก็จะทำให้วิตกกังวลมากขึ้นและอาการความจริงวิปลาสแย่ลง ความจริงวิปลาสยังพบว่า ขัดการเรียนรู้ โดยปัญหาทางประชานจะปรากฏเมื่อพยายามระลึกถึงสิ่งที่เรียน และปรากฏเป็นความบกพร่องในการจินตนาการรูปในมิติต่าง ๆ (visuospatial deficit) นี่อาจเข้าใจได้ในฐานะที่บุคคลรู้สึกเหมือนกับประสบเหตุการณ์เป็นบุคคลที่สาม ดังนั้นจึงไม่สามารถรับแล้วประมวลข้อมูลได้อย่างถูกต้อง โดยเฉพาะทางการเห็น ผู้ประสบกับภาวะนี้อธิบายความรู้สึกว่าเหมือนกับเห็นโลกผ่านจอโทรทัศน์
สถานรักษาพยาบาลทั่วไปมักจะรู้จักและวินิจฉัยโรคบุคลิกภาพ-ความจริงวิปลาส (Depersonalization-derealization disorder) ค่อนข้างน้อย แม้ในกลุ่มประชากรทั่วไปโรคอาจชุกถึง 5% และในบุคคลที่ได้รับบาดเจ็บทางกายใจอาจสูงถึง 37% อาการอาจรวมบุคลิกวิปลาส (depersonalization) ความรู้สึกเหมือนกับเป็นคนคอยเฝ้าสังเกต เหมือนกับกลายเป็นตัวตนต่างหากอีกอย่างในโลก โดยทุกอย่างที่กำลังเกิดขึ้น ที่กำลังประสบ ที่กำลังรับรู้ ผ่านการรู้การเห็นของบุคคลอื่นเหมือนกับมองโลกโดยใช้ตาของบุคคลที่หนึ่งภายในเกม (เช่น ในวิดีโอเกมยิงมุมมองบุคคลที่หนึ่ง)[]
เหตุ
ภาวะนี้อาจเป็นไปตามภาวะทางประสาทเช่น โรคลมชัก (โดยเฉพาะโรคลมชักเหตุสมองกลีบขมับ) ไมเกรน และการบาดเจ็บที่ศีรษะแบบเบา ๆ การไร้อารมณ์ทางตาและการตอบสนองต่อสิ่งที่เห็นทางอารมณ์น้อยลงคล้ายกับภาวะความจริงวิปลาส ซึ่งแสดงว่ามีปัญหากับกระบวนการที่อารมณ์มาประกอบการรับรู้ การรับรู้ที่เปลี่ยนไปอาจทำให้เห็นโดยรู้สึกว่าไม่จริงหรือว่าเฉย ๆ/ไร้อารมณ์ งานศึกษาทางประสาทสรีรภาพบางงานพบปัญหาที่เกิดจากสมองกลีบหน้า-กลีบขมับ ซึ่งมีสหสัมพันธ์อย่างสูงกับโรคที่สมองกลีบขมับเช่นโรคลมชัก
ความจริงวิปลาสอาจปรากฏเป็นผลโดยอ้อมของโรคระบบการทรงตัว (ในหูชั้นใน) บางอย่างเช่น หูชั้นในอักเสบ ซึ่งเชื่อว่าเกิดจากความวิตกกังวลเหตุเวียนศีรษะ คำอธิบายอีกอย่างก็คือ การทำหน้าที่ผิดปกติของระบบการทรงตัวมีผลต่าง ๆ รวมทั้งการปรับการทำงานของระบบประสาท noradrenergic (ที่ใช้สารสื่อประสาท norepinephrine) และ serotonergic (ที่ใช้สารสื่อประสาทเซโรโทนิน) เพราะไปโทษอาการที่เกิดจากระบบการทรงตัวอย่างผิด ๆ ว่ากำลังตกอยู่ในอันตรายแล้วมีผลให้วิตกกังวลหรือตื่นตระหนก แล้วก่อภาวะความจริงวิปลาส อนึ่ง ภาวะนี้ยังสามัญในอาการทางกายเหตุจิต (psychosomatic symptom) ที่เห็นในโรควิตกกังวลประเภทต่าง ๆ รวมทั้งโรคคิดว่าตนป่วย (hypochondriasis) อย่างไรก็ดี ภาวะนี้ปัจจุบันจัดว่าเป็นปัญหาทางจิตต่างหากอย่างหนึ่งเพราะมันเกิดกับโรคหลายอย่างและก็เกิดเองต่างหากด้วย
งานศึกษาบางงานได้สัมพันธ์ความจริงวิปลาสและอาการดิสโซสิเอทีฟกับความแตกต่างทางสรีรภาพและทางจิตของบุคคลและสิ่งแวดล้อมของบุคคล มีข้อสังเกตว่า การตื่นนอนง่ายบวกกับภาวะบางอย่างเกี่ยวกับการนอน เช่น ภาวะเหมือนฝันเมื่อตื่น ประสาทหลอนช่วงก่อนหลับหรือหลังตื่น ภาวะกลัวจัดในการหลับระยะ (NREM) และความผิดปกติเกี่ยวกับการนอนอื่น ๆ อาจเป็นเหตุ หรืออาจทำให้ภาวะนี้ดีขึ้นโดยส่วนหนึ่ง ความจริงวิปลาสยังอาจเป็นอาการของความผิดปกติในการนอน (sleep disorder) และความผิดปกติทางจิต เช่น (DPD), ความผิดปกติทางบุคลิกภาพแบบก้ำกึ่ง (BPD), โรคอารมณ์สองขั้ว, โรคจิตเภท, และโรคทางจิตใจอื่น ๆ
สารต่าง ๆ รวมทั้งกัญชา สารก่ออาการโรคจิต (psychedelics) สารดิสโซสิเอทีฟ ยาแก้ซึมเศร้า กาเฟอีน ไนตรัสออกไซด์ อัลบูเทอรอล และนิโคตินล้วนสามารถก่อภาวะความจริงวิปลาส[] โดยเฉพาะเมื่อใช้มากเกิน มันยังสามารถเกิดเพราะการเลิกแอลกฮอล์/เหล้า หรือหยุดยาเบ็นโซไดอาเซพีน การหยุดใช้โอปิแอตยังอาจก่อภาวะความจริงวิปลาส ซึ่งอาจกลายเป็นอาการเรื้อรัง หรืออาจเกิดทีหลัง ซึ่งแสดงความต่าง ๆ ระดับสูงของปรากฏการณ์นี้ในระหว่างบุคคล
วิธีรักษาโรคตื่นตระหนกที่ไม่ใช้ยาแบบ interoceptive exposure อาจใช้ก่อภาวะความจริงวิปลาสและบุคลิกวิปลาสที่สัมพันธ์กันได้
ดูเพิ่ม
เชิงอรรถ
- interoceptive exposure เป็นเทคนิคการบำบัดทางความคิดและพฤติกรรมที่ใช้รักษาโรคตื่นตระหนก โดยให้ทำสิ่งที่ก่อความรู้สึกทางกายคล้ายกับเมื่อตื่นตระหนก เช่น หายใจเร็วและการเกร็งกล้ามเนื้อ เป็นวิธีกำจัดการตอบสนองแบบมีเงื่อนไข (conditioned response) โดยเป็นอาการตื่นตระหนกเนื่องกับความรู้สึกทางกายของคนไข้
อ้างอิง
- DSM-5 (2013), Depersonalization/Derealization Disorder, Diagnostic Criteria, p. 302.
- "Depersonalization-derealization disorder - Symptoms and causes". Mayo Clinic (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2019-10-10.
- Sierra, M; Lopera, F; Lambert, MV; Phillips, ML; David, AS (2002). "Separating depersonalisation and derealisation: the relevance of the "lesion method"". J. Neurol. Neurosurg. Psychiatry. 72 (4): 530–2. doi:10.1136/jnnp.72.4.530. PMC 1737835. PMID 11909918.
- Hunter, EC; Sierra, M; David, AS (2004). "The epidemiology of depersonalization and derealisation. A systematic review". Social Psychiatry and Psychiatric Epidemiology. 39 (1): 9–18. doi:10.1007/s00127-004-0701-4. PMID 15022041.
- Guralnik, Orna; Giesbrecht, Timo; Knutelska, Margaret; Sirroff, Beth; Simeon, Daphne (December 2007). "Cognitive Functioning in Depersonalization Disorder". The Journal of Nervous and Mental Disease. 195 (12): 983. doi:10.1097/NMD.0b013e31815c19cd. ISSN 0022-3018.
- Etzel, Cardenas (1998). "Derealization Disorders Revisited: Disintegrated Experience" (PDF). APA.
- Lambert, MV; Sierra, M; Phillips, ML; David, AS (2002). "The spectrum of organic depersonalization: a review plus four new cases". The Journal of Neuropsychiatry and Clinical Neurosciences. 14 (2): 141–54. doi:10.1176/appi.neuropsych.14.2.141. PMID 11983788.
- Simon, NM; Pollack, MH; Tuby, KS; Stern, TA (June 1998). "Dizziness and panic disorder: a review of the association between vestibular dysfunction and anxiety". Ann Clin Psychiatry. 10 (2): 75–80. doi:10.3109/10401239809147746. PMID 9669539.
{{}}
: CS1 maint: uses authors parameter () - Lynn, Lillienfeld (2008). "Challenging Conventional Wisdom- Socio-cognitive Framework for DID & Dissociative Disorders" (PDF). Current Directions in Psychological Science – โดยทาง Sage.
- Simeon, D; Knutelska, M; Nelson, D; Guralnik, O (September 2003). "Feeling unreal: a depersonalization disorder update of 117 cases". J Clin Psychiatry. 64 (9): 990–7. doi:10.4088/JCP.v64n0903. PMID 14628973.
- Johnson, BA (February 1990). "Psychopharmacological effects of cannabis". Br J Hosp Med. 43 (2): 114–6, 118–20, 122. PMID 2178712.
- Mintzer, MZ; Stoller, KB; Griffiths, RR (November 1999). "A controlled study of flumazenil-precipitated withdrawal in chronic low-dose benzodiazepine users". Psychopharmacology. 147 (2): 200–9. doi:10.1007/s002130051161. PMID 10591888.
{{}}
: CS1 maint: uses authors parameter () - "Interoceptive hypersensitivity and interoceptive exposure in patients with panic disorder: specificity and effectiveness". 2006. PMID 16911803.
{{}}
: Cite journal ต้องการ|journal=
((help)) - Lickel, J; Nelson, E; Lickel, AH; Deacon, Brett (2008). "Interoceptive Exposure Exercises for Evoking Depersonalization and Derealization: A Pilot Study". Journal of Cognitive Psychotherapy. 22 (4): 321–30. doi:10.1891/0889-8391.22.4.321.
{{}}
: CS1 maint: uses authors parameter ()
อ้างอิงอื่น ๆ
- American Psychiatry Association (2013). "Dissociative Disorders". Diagnostic and Statistical Manual of Mental Disorders (5th ed.). Arlington: American Psychiatric Publishing. pp. 291–307. ISBN .
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
khwamcringwiplas xngkvs derealization mkyxwa DR epnkhwamphnaeprthangkarrbruthiprasbkarnkbolkphaynxkduehmuxnimcring xakarxun rwmthngrusukwaolkrxb twehmuxnkhwamfn xyuhangikl hruxbidebuxn mnepnxakaraeyktwxxkcakkhwamcring dissociation thiekidinphawatang rwmthngkhwamekhriydrunaerng karbadecbthangkayic khwamsumesra aelakhwamwitkkngwl khwamcringwiplasepnprasbkarnthiepnxtwisyekiywkbkhwamimcringkhxngolkphaynxk ethiybkbbukhlikwiplas depersonalization thirusukwatnexngimepncring aetnkwichakarpccubnodymakkimkhidwakhwamcringwiplas singaewdlxm aelabukhlikwiplas tnexng epnphawathiaeykcakkn khwamcringwiplaseruxrngxacmacakkarthahnathiphidpktikhxngsmxngklibthaythxyaelaklibkhmb phawanisamyinprachakrthwipodymikhwamchuktlxdchiwitthung 5 aela 31 66 emuxekidehtukarnthithaihecbkayhruxiclksnainphawani xaceriykidwamisingthicbtxngimid immitwtnthiaeykbukhkhlcakolkphaynxk xacepnehmuxnhmxkkhlumprasathsmphs aephnkrackfa hruxmanbang bukhkhlxacbxkwa singthitnehnrusukimmichiwitchiwaaelairxarmn karehnbukhkhlthirkxacmikartxbsnxngthangxarmnldlngxyangsakhy khwamrusukwaekhyehnaelwthng thiimekhyehn edcha wuw hruxwaimekhyehnthng thiekhyehn jamais vu epneruxngsamy sthanthithikhunekhyxacrusukaeplk imkhunekhy imepncring xacimsamarthplngicthungsingthirbruwaepncringhruxim xacrusukehmuxnxyuinphaphyntrthiichethkhnikhsumklxng dolly zoom thithaihkhnadaelathsnmitikhxngsingthiehnphidephiynip karrbruthibidebuxnechnnixackracayipyngprasathsmphsxun rwmthngkaridyin karrurs aelakaridklin khwamcringwiplasmkekidinsthankarnthiwitkkngwlmak hruxmikhwamkhidaethrksxnthiimsamarthhyudkhidid inkrniechnni phawaxacephimkhuneruxy iptamkhwamwitkkngwlthiepnmulthanodyprakxbkbkhwamkhidthikxthukkh carutwktxemuxthungcudwikvtiodymkpraktepnkhwamtuntrahnk panic attack khwamwitkkngwlcungpraktxyangchdecnxyangptiesthimid sungxackhdkardaeninchiwitaelasrangphvtikrrmhlikeliyng avoidant behavior bukhkhlthiprasbkbphawakhwamcringwiplasxackngwlwaxairepnehtu odyyxmrbidyakwa xakarnaepnhwngechnniepnphlkhxngkhwamwitkkngwl ephraamkkhidwatxngepnehtuhnkkwann sungkcathaihwitkkngwlmakkhunaelaxakarkhwamcringwiplasaeylng khwamcringwiplasyngphbwa khdkareriynru odypyhathangprachancapraktemuxphyayamralukthungsingthieriyn aelapraktepnkhwambkphrxnginkarcintnakarrupinmititang visuospatial deficit nixacekhaicidinthanathibukhkhlrusukehmuxnkbprasbehtukarnepnbukhkhlthisam dngnncungimsamarthrbaelwpramwlkhxmulidxyangthuktxng odyechphaathangkarehn phuprasbkbphawanixthibaykhwamrusukwaehmuxnkbehnolkphancxothrthsn sthanrksaphyabalthwipmkcaruckaelawinicchyorkhbukhlikphaph khwamcringwiplas Depersonalization derealization disorder khxnkhangnxy aeminklumprachakrthwiporkhxacchukthung 5 aelainbukhkhlthiidrbbadecbthangkayicxacsungthung 37 xakarxacrwmbukhlikwiplas depersonalization khwamrusukehmuxnkbepnkhnkhxyefasngekt ehmuxnkbklayepntwtntanghakxikxyanginolk odythukxyangthikalngekidkhun thikalngprasb thikalngrbru phankarrukarehnkhxngbukhkhlxunehmuxnkbmxngolkodyichtakhxngbukhkhlthihnungphayinekm echn inwidioxekmyingmummxngbukhkhlthihnung txngkarxangxing ehtuphawanixacepniptamphawathangprasathechn orkhlmchk odyechphaaorkhlmchkehtusmxngklibkhmb imekrn aelakarbadecbthisirsaaebbeba karirxarmnthangtaaelakartxbsnxngtxsingthiehnthangxarmnnxylngkhlaykbphawakhwamcringwiplas sungaesdngwamipyhakbkrabwnkarthixarmnmaprakxbkarrbru karrbruthiepliynipxacthaihehnodyrusukwaimcringhruxwaechy irxarmn ngansuksathangprasathsrirphaphbangnganphbpyhathiekidcaksmxngklibhna klibkhmb sungmishsmphnthxyangsungkborkhthismxngklibkhmbechnorkhlmchk khwamcringwiplasxacpraktepnphlodyxxmkhxngorkhrabbkarthrngtw inhuchnin bangxyangechn huchninxkesb sungechuxwaekidcakkhwamwitkkngwlehtuewiynsirsa khaxthibayxikxyangkkhux karthahnathiphidpktikhxngrabbkarthrngtwmiphltang rwmthngkarprbkarthangankhxngrabbprasath noradrenergic thiichsarsuxprasath norepinephrine aela serotonergic thiichsarsuxprasathesorothnin ephraaipothsxakarthiekidcakrabbkarthrngtwxyangphid wakalngtkxyuinxntrayaelwmiphlihwitkkngwlhruxtuntrahnk aelwkxphawakhwamcringwiplas xnung phawaniyngsamyinxakarthangkayehtucit psychosomatic symptom thiehninorkhwitkkngwlpraephthtang rwmthngorkhkhidwatnpwy hypochondriasis xyangirkdi phawanipccubncdwaepnpyhathangcittanghakxyanghnungephraamnekidkborkhhlayxyangaelakekidexngtanghakdwy ngansuksabangnganidsmphnthkhwamcringwiplasaelaxakardisossiexthifkbkhwamaetktangthangsrirphaphaelathangcitkhxngbukhkhlaelasingaewdlxmkhxngbukhkhl mikhxsngektwa kartunnxnngaybwkkbphawabangxyangekiywkbkarnxn echn phawaehmuxnfnemuxtun prasathhlxnchwngkxnhlbhruxhlngtun phawaklwcdinkarhlbraya NREM aelakhwamphidpktiekiywkbkarnxnxun xacepnehtu hruxxacthaihphawanidikhunodyswnhnung khwamcringwiplasyngxacepnxakarkhxngkhwamphidpktiinkarnxn sleep disorder aelakhwamphidpktithangcit echn DPD khwamphidpktithangbukhlikphaphaebbkakung BPD orkhxarmnsxngkhw orkhcitephth aelaorkhthangciticxun sartang rwmthngkycha sarkxxakarorkhcit psychedelics sardisossiexthif yaaeksumesra kaefxin intrsxxkisd xlbuethxrxl aelaniokhtinlwnsamarthkxphawakhwamcringwiplas txngkarxangxing odyechphaaemuxichmakekin mnyngsamarthekidephraakarelikaexlkhxl ehla hruxhyudyaebnosidxaesphin karhyudichoxpiaextyngxackxphawakhwamcringwiplas sungxacklayepnxakareruxrng hruxxacekidthihlng sungaesdngkhwamtang radbsungkhxngpraktkarnniinrahwangbukhkhl withirksaorkhtuntrahnkthiimichyaaebb interoceptive exposure xacichkxphawakhwamcringwiplasaelabukhlikwiplasthismphnthknidduephimbukhlikwiplas suyta khwamphidpktithiekidhlngkhwamekhriydthisaethuxnic orkhdisossiexthif wikvtwyklangkhn khwamcringechingxrrthinteroceptive exposure epnethkhnikhkarbabdthangkhwamkhidaelaphvtikrrmthiichrksaorkhtuntrahnk odyihthasingthikxkhwamrusukthangkaykhlaykbemuxtuntrahnk echn hayicerwaelakarekrngklamenux epnwithikacdkartxbsnxngaebbmienguxnikh conditioned response odyepnxakartuntrahnkenuxngkbkhwamrusukthangkaykhxngkhnikhxangxingDSM 5 2013 Depersonalization Derealization Disorder Diagnostic Criteria p 302 Depersonalization derealization disorder Symptoms and causes Mayo Clinic phasaxngkvs subkhnemux 2019 10 10 Sierra M Lopera F Lambert MV Phillips ML David AS 2002 Separating depersonalisation and derealisation the relevance of the lesion method J Neurol Neurosurg Psychiatry 72 4 530 2 doi 10 1136 jnnp 72 4 530 PMC 1737835 PMID 11909918 Hunter EC Sierra M David AS 2004 The epidemiology of depersonalization and derealisation A systematic review Social Psychiatry and Psychiatric Epidemiology 39 1 9 18 doi 10 1007 s00127 004 0701 4 PMID 15022041 Guralnik Orna Giesbrecht Timo Knutelska Margaret Sirroff Beth Simeon Daphne December 2007 Cognitive Functioning in Depersonalization Disorder The Journal of Nervous and Mental Disease 195 12 983 doi 10 1097 NMD 0b013e31815c19cd ISSN 0022 3018 Etzel Cardenas 1998 Derealization Disorders Revisited Disintegrated Experience PDF APA Lambert MV Sierra M Phillips ML David AS 2002 The spectrum of organic depersonalization a review plus four new cases The Journal of Neuropsychiatry and Clinical Neurosciences 14 2 141 54 doi 10 1176 appi neuropsych 14 2 141 PMID 11983788 Simon NM Pollack MH Tuby KS Stern TA June 1998 Dizziness and panic disorder a review of the association between vestibular dysfunction and anxiety Ann Clin Psychiatry 10 2 75 80 doi 10 3109 10401239809147746 PMID 9669539 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint uses authors parameter Lynn Lillienfeld 2008 Challenging Conventional Wisdom Socio cognitive Framework for DID amp Dissociative Disorders PDF Current Directions in Psychological Science odythang Sage Simeon D Knutelska M Nelson D Guralnik O September 2003 Feeling unreal a depersonalization disorder update of 117 cases J Clin Psychiatry 64 9 990 7 doi 10 4088 JCP v64n0903 PMID 14628973 Johnson BA February 1990 Psychopharmacological effects of cannabis Br J Hosp Med 43 2 114 6 118 20 122 PMID 2178712 Mintzer MZ Stoller KB Griffiths RR November 1999 A controlled study of flumazenil precipitated withdrawal in chronic low dose benzodiazepine users Psychopharmacology 147 2 200 9 doi 10 1007 s002130051161 PMID 10591888 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint uses authors parameter Interoceptive hypersensitivity and interoceptive exposure in patients with panic disorder specificity and effectiveness 2006 PMID 16911803 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a Cite journal txngkar journal help Lickel J Nelson E Lickel AH Deacon Brett 2008 Interoceptive Exposure Exercises for Evoking Depersonalization and Derealization A Pilot Study Journal of Cognitive Psychotherapy 22 4 321 30 doi 10 1891 0889 8391 22 4 321 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint uses authors parameter xangxingxun American Psychiatry Association 2013 Dissociative Disorders Diagnostic and Statistical Manual of Mental Disorders 5th ed Arlington American Psychiatric Publishing pp 291 307 ISBN 978 0 89042 555 8