สกุลกฤษณา (Aquilaria) เป็นสกุลหนึ่งของพืชวงศ์กฤษณา (Thymelaeaceae) มีถิ่นกำเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และเอเชียใต้ พบมากโดยเฉพาะในป่าดิบชื้นของอินโดนีเซีย, ไทย, กัมพูชา, ลาว, เวียดนาม, มาเลเซีย, อินเดียตอนเหนือ, ฟิลิปปินส์ และนิวกินี พรรณไม้ในสกุลนี้ปกติมีเนื้อไม้สีขาว เมื่อเกิดบาดแผล ต้นไม้จะหลั่งสารเคมีออกมาเพื่อรักษาบาดแผลนั้น แต่สารเคมีจะขยายวงกว้างออกไปอีก ก่อให้เกิดเนื้อไม้ซึ่งมีสีดำ กลิ่นหอม เรียกว่า "กฤษณา"
- ชื่อทางวิทยาศาสตร์ (Scientific name): Aquilaria crassna Pierre ex Lec.
- ชื่อท้องถิ่น (Vernacular name): กฤษณา
- ชื่อทั่วไป (Common name): Eagle Wood
- ชื่อวงศ์ (Family name): Thymelaeaceae
สกุลกฤษณา | |
---|---|
ใบ | |
สถานะการอนุรักษ์ | |
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ | |
โดเมน: | ยูแคริโอต |
อาณาจักร: | พืช |
เคลด: | พืชมีท่อลำเลียง |
เคลด: | พืชดอก |
เคลด: | พืชใบเลี้ยงคู่แท้ |
เคลด: | โรสิด |
อันดับ: | ชบา |
วงศ์: | กฤษณา |
วงศ์ย่อย: | |
สกุล: | สกุลกฤษณา |
ซึ่งเป็นพืชที่เป็นสมุนไพรและมีความสำคัญในการแพทย์แผนโบราณ โดยเฉพาะในการใช้ในการรักษาโรคที่เกี่ยวกับระบบทางเดินอาหาร นอกจากนี้ยังมีการใช้ในงานทำสีผมและใช้เป็นสารที่มีสรรพคุณในการช่วยรักษาเนื้อเยื่อที่เสียหายด้วยคุณสมบัติทางเคมีที่มีอยู่ในเปลือกของต้นกฤษณา
ประวัติ
กฤษณาเป็นไม้ที่กล่าวถึงนับแต่ครั้งพุทธกาลในฐานะ ของที่มีค่าหายาก ราคาแพงดั่งทองคำ ไม้กฤษณาอินเดียเป็นหนึ่งในของหอมธรรมชาติสี่อย่างที่เรียกว่า (กฤษณา จันทน์ และดอกไม้)
ในประเทศไทยไม้กฤษณาเป็นสินค้าต้องห้ามของประชาชนทั่วไปเพราะมีกฎหมายให้ค้าขายได้เฉพาะกษัตริย์มาตั้งแต่โบราณ ต้นกรุงศรีอยุธยา ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ไม้กฤษณาถูกใช้เป็นเครื่องราชบรรณาการและเป็นสินค้าไปเมืองจีน
ต้นกฤษณามีความสำคัญทางท้องถิ่นและวัฒนธรรม ในอินเดียเฮือนแห่งสมุนไพรและการแพทย์แผนโบราณ เป็นหนึ่งในสมุนไพรที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย
สรรพคุณของกฤษณาแพร่กระจายไปถึงคาบสมุทรอาหรับในตะวันออกกลาง โรมัน อียิปต์โบราณ ผลผลิตจากต้นกฤษณามีเฉพาะในเอเชียบางส่วน เช่น อินเดีย จีน และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น พม่า ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ ลาว กัมพูชา เวียดนาม เท่านั้น
ประเทศไทยเป็นประเทศแรกที่สามารถส่งผลผลิตและผลิตภัณฑ์ไม้กฤษณาออกไปจำหน่ายทั่วโลกอย่างถูกต้องตามกฎหมายและตามอนุสัญญาไซเตส และได้ขึ้นทะเบียนไม้ที่ปลูกกับไซเตสไว้ครั้งแรกจำนวน 7,404,452 ต้น ปัจจุบันมีการปลูกทั่วประเทศประมาณ 15 ล้านต้น และไม่เพียงพอกับตลาดที่เพิ่มขึ้นในปัจจุบัน
ความหลากชนิดของพรรณไม้สกุลกฤษณา
ไม้ในสกุลกฤษณามีลำต้นขนาดปานกลาง แต่ถ้ามีอายุมากจะมีลำต้นขนาดใหญ่เป็นไม้เนื้อค่อนข้างอ่อน แต่เมื่ออายุมากแล้ว จะมีลักษณะเนื้อไม้ค่อนข้างแข็ง สีเหลืองมีลายสวยงาม เปลือกลอกง่าย ลำต้นตรง สีค่อนข้างแดงผิวเป็นเม็ดตุ่มเล็ก ๆ สีแดง-ดำ เทา เขียวอ่อน เป็นไม้โตเร็ว
ปัจจุบันสกุลกฤษณามีพรรณไม้ทั้งหมด 15 ชนิด ตามรายละเอียดดังต่อไปนี้
- () , เดิมชื่อ Gyrinopsis acuminata
- ex & Leandri
- Phamh.
- ()
- ()
- Aquilaria crassna ex
- ()
- (Oken)
- Benth.
- , , ชื่อพ้อง A. agallocha และ A. secundaria
- () Ding Hou
- K.Le-Cong & Kessler
- Ding Hou
- Hallier (ฟิลิปปินส์)
- S.C.Huang
ชนิดพรรณไม้สกุลกฤษณาชนิดพื้นเมืองในประเทศไทยมี 5 ชนิด คือ
- Aquilaria subintegra หรือ "พันธุ์จันทบุรี" เป็นชนิดไม้ที่ให้คุณภาพน้ำมันสูง พบในภาคตะวันออก (จังหวัดระยอง จันทบุรี ตราด โดยเฉพาะที่) และจังหวัดปัตตานี
- Aquilaria crassna หรือ "พันธุ์เขาใหญ่" เป็นชนิดไม้ที่ให้คุณภาพน้ำมันค่อนข้างสูงและปริมาณน้ำมันค่อนข้างมาก พบทั้งในภาคกลาง (จังหวัดกำแพงเพชร เพชรบูรณ์ นครนายก โดยเฉพาะที่อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (จังหวัดนครราชสีมา บุรีรัมย์ และศรีสะเกษ) และภาคเหนือ (จังหวัดเชียงราย แพร่ และน่าน)
- Aquilaria malaccensis เป็นชนิดไม้ที่ให้คุณภาพน้ำหอมและปริมาณน้ำหอมปานกลาง พบบริเวณตอนใต้ของไทย เช่น จังหวัดเพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ระนอง กระบี่ ตรัง พัทลุง ปัตตานี รวมทั้งตลอดแนวตามรอยตะเข็บชายแดนไทย-พม่าขึ้นไปจนถึงรัฐอัสสัมและภูฏาน
- Aquilaria hirta วิสัยเป็นไม้พุ่มที่ไม่ให้น้ำมัน ยังไม่พบการใช้เนื้อไม้หอมชนิดนี้ในไทย พบในพื้นที่จังหวัดภาคใต้ตอนล่างและแหลมมลายู
การเก็บเกี่ยว
ไม้กฤษณาถูกเก็บเกี่ยวจากต้นไม้ชนิด Aquilaria ที่เป็นต้นแก่แล้วและได้รับการติดเชื้อจากเชื้อราอย่างธรรมชาติ การติดเชื้อจะกระตุ้นให้เกิดการเกิดไม้เรซินซึ่งจะถูกสกัดออกมาแล้วนำไปใช้งานต่อไป
การสกัด
วิธีการดั้งเดิมเน้นการตัดและประมวลผลไม้ที่ติดเชื้ออย่างระมัดระวังเพื่อสกัดไม้ที่มีเรซินในส่วนใจกลางออกมา ซึ่งจากนั้นจะนำมากลั่นเป็นน้ำมันหอมระเหยต่อไป
การใช้ประโยชน์ของไม้กฤษณา
"สารกฤษณา" มีชื่อทางการค้าหลายชื่อ ได้แก่ agarwood (ยุโรป), aloeswood (สิงคโปร์), eaglewood (สหรัฐอเมริกา),gaharu (อินโดนีเชีย), oudh (อาหรับ), tram (เวียดนาม), jinko (ญี่ปุ่น), chen xiang (จีน) เป็นต้น ปัจจุบันนอกจากชิ้นไม้กฤษณาและน้ำมันกฤษณาที่เป็นสินค้าหลักในตลาดแล้วยังได้มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากกฤษณาให้มีความหลากหลายขึ้น เพื่อให้สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าให้ได้มากกลุ่มขึ้น โดยผลิตภัณฑ์จากกฤษณาที่เป็นสินค้าวางจำหน่ายอยู่ในท้องตลาด ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นตลาดในแถบเอเชีย เช่น ไทย ญี่ปุ่น สิงคโปร์ จากการสำรวจของ Phillips (2003) สามารถจำแนกได้ดังนี้
- ในประเทศอินเดียและประเทศใกล้เคียง กฤษณามักถูกใช้ในการรักษาโรคและในอุตสาหกรรมเฉพาะ เปลือกต้นกฤษณามีสารสำคัญที่ชื่อว่า "กากจำ" (catechu) ซึ่งมีคุณสมบัติทางเคมีที่มีประโยชน์ในการรักษา มันมีผลต่อระบบทางเดินอาหารและมีคุณสมบัติแก้แผลรอยบาดเจ็บ ส่วนใบของต้นกฤษณาก็มักถูกใช้ในการรักษาโรคผิวหนังและโรคทางเดินหายใจ
- ท่อนไม้กฤษณา (agarwood branch or trunk section) เป็นท่อนกฤษณาขนาดใหญ่ ซึ่ง เป็นส่วนของกิ่งหรือลำต้นที่มีการสะสมสารกฤษณาเป็นบริเวณพื้นที่กว้างลักษณะเนื้อไม้จะมีสีน้ำตาลเข้มถึงสีดำ ซึ่งจะเรียกว่าไม้เกรด 1 หรือ เกรดซุปเปอร์ (super agarwood) ราคาขายต่อกิโลกรัมจะสูงมาก จากหลักหมื่นจนถึงหลักแสนบาทต่อกิโลกรัมขึ้นอยู่กับคุณภาพของท่อนไม้นั้น ปัจจุบันนี้หาได้ยากมาก
เพราะเป็นกฤษณาที่ได้จากต้นไม้ที่เกิดในธรรมชาติเท่านั้น และมาจากต้นไม้มีอายุมาก ซึ่งมีการสะสมกฤษณามาเป็นเวลานานหลายปีส่วนใหญ่ท่อนกฤษณาลักษณะนี้อาจจะเห็นปรากฏอยู่ในวัด หรือของเศรษฐีเพื่อเป็นสิ่งแสดงความร่ำรวยมั่งคั่งของผู้เป็นเจ้าของ
- ชิ้นไม้ (agarwood pieces) เป็นชิ้นไม้กฤษณาขนาดเล็ก ๆ ดังนั้นจึงมีราคาถูกกว่าไม้ท่อนขนาดใหญ่ ใช้สำหรับจุดเผาเพื่อให้มีกลิ่นหอมนิยมใช้จุดเพื่อต้อนรับแขกของชาวอาหรับและบางคนเชื่อว่าการดมกลิ่นควันจากการเผาชิ้นไม้กฤษณาจะทำให้รักษาโรคบางอย่างได้
- น้ำมันกฤษณา (agaroil) เป็นน้ำมันที่สกัดได้จากกฤษณาเกรด3หรือเกรด4เนื่องจากการสะสมของสารกฤษณามีปริมาณน้อยกว่า ไม่สามารถนำไปขายเป็นชิ้นไม้ได้หน่วยที่ใช้เรียกน้ำมันกฤษณา เรียกว่า โตรา (Tora) มีปริมาณประมาณ 12 กรัมราคาขายกันอยู่ที่ประมาณ 2,400-4800 บาทต่อโตร่าประโยชน์ของน้ำมันกฤษณา คือ นิยมใช้ทาตัวของชาวอาหรับเพื่อให้มีกลิ่นหอมเป็นส่วนผสมของเครื่องยา เป็นส่วนผสมของน้ำหอมและเครื่องสำอางบางชนิด
- ผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ได้แก่ ผงไม้ที่เหลือจากการกลั่นน้ำมันกฤษณาแล้วนำไปทำ ประเทศไต้หวันนำมาทำไวน์ และนำมาปั้นเป็นก้อนผสมน้ำมันกฤษณาและส่วนผสมต่าง ๆ ให้มีกลิ่นหอม เรียกว่า "marmool" ซึ่งผู้หญิงชาวอาหรับนิยมใช้จุดเพื่อให้มีกลิ่นหอม
นอกจากนี้ กฤษณายังเป็นวัตถุดิบที่นิยมใช้ในอุตสาหกรรมและศิลปะ ต้นกฤษณามีลักษณะทรงพุ่มกลมโตเต็มพื้นที่ ใบจะเป็นรูปด้านรีเลียน ดอกจะเป็นสีเหลืองหรือขาว ผลของต้นกฤษณามักเป็นฝักยาวๆ ซึ่งเมื่อสุกจะแตกเป็นช่องเล็กๆภายในมีเมล็ด ต้นกฤษณาเป็นพืชที่สามารถปลูกได้ง่ายและปรับตัวได้ดีในสภาพแวดล้อมที่แห้งและร้อน จึงเป็นที่นิยมในการใช้ประโยชน์ในหลายๆ ด้านในชุมชนท้องถิ่นและอุตสาหกรรมต่างๆ
อ้างอิง
- Broad, S. (1995) "Agarwood harvesting in Vietnam" TRAFFIC Bulletin 15:96
- สมภัทร คลังทรัพย์ และจงรัก วัชรินทร์รัตน์. "ไม้กฤษณา…..ความเป็นไปได้ในการปลูกเชิงเศรษฐกิจ."
- ราชบัณฑิตยสถาน. 2538. อนุกรมวิธานพืช อักษร ก. กรุงเทพมหานคร: เพื่อนพิมพ์.
- Santisuk, T. and Larsen, K., eds. 1997. Flora of Thailand (Vol.6: 3). Bangkok. Diamond Printing.
- Nghia, N.H. 1998. Aquilaria crassna 2009-01-08 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. 2006 IUCN Red List of Threatened Species. Downloaded on 20 August 2007.
- ประวัติไม้กฤษณา 2010-12-17 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน ชมรมไม้กฤษณา (ไม้หอม) แห่งประเทศไทย
- กฤษณา 2010-10-12 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน the-than.com
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
skulkvsna Aquilaria epnskulhnungkhxngphuchwngskvsna Thymelaeaceae mithinkaenidinexechiytawnxxkechiyngitaelaexechiyit phbmakodyechphaainpadibchunkhxngxinodniesiy ithy kmphucha law ewiydnam maelesiy xinediytxnehnux filippins aelaniwkini phrrniminskulnipktimienuximsikhaw emuxekidbadaephl tnimcahlngsarekhmixxkmaephuxrksabadaephlnn aetsarekhmicakhyaywngkwangxxkipxik kxihekidenuximsungmisida klinhxm eriykwa kvsna chuxthangwithyasastr Scientific name Aquilaria crassna Pierre ex Lec chuxthxngthin Vernacular name kvsna chuxthwip Common name Eagle Wood chuxwngs Family name ThymelaeaceaeskulkvsnaibsthanakarxnurksCITES Appendix II CITES karcaaenkchnthangwithyasastrodemn yuaekhrioxtxanackr phuchekhld phuchmithxlaeliyngekhld phuchdxkekhld phuchibeliyngkhuaethekhld orsidxndb chbawngs kvsnawngsyxy skul skulkvsna sungepnphuchthiepnsmuniphraelamikhwamsakhyinkaraephthyaephnobran odyechphaainkarichinkarrksaorkhthiekiywkbrabbthangedinxahar nxkcakniyngmikarichinnganthasiphmaelaichepnsarthimisrrphkhuninkarchwyrksaenuxeyuxthiesiyhaydwykhunsmbtithangekhmithimixyuinepluxkkhxngtnkvsnaprawtikvsnaepnimthiklawthungnbaetkhrngphuththkalinthana khxngthimikhahayak rakhaaephngdngthxngkha imkvsnaxinediyepnhnunginkhxnghxmthrrmchatisixyangthieriykwa kvsna cnthn aeladxkim inpraethsithyimkvsnaepnsinkhatxnghamkhxngprachachnthwipephraamikdhmayihkhakhayidechphaakstriymatngaetobran tnkrungsrixyuthya insmysmedcphranaraynmharach imkvsnathukichepnekhruxngrachbrrnakaraelaepnsinkhaipemuxngcin tnkvsnamikhwamsakhythangthxngthinaelawthnthrrm inxinediyehuxnaehngsmuniphraelakaraephthyaephnobran epnhnunginsmuniphrthiichknxyangaephrhlay srrphkhunkhxngkvsnaaephrkracayipthungkhabsmuthrxahrbintawnxxkklang ormn xiyiptobran phlphlitcaktnkvsnamiechphaainexechiybangswn echn xinediy cin aelaexechiytawnxxkechiyngit echn phma ithy maelesiy xinodniesiy filippins law kmphucha ewiydnam ethann praethsithyepnpraethsaerkthisamarthsngphlphlitaelaphlitphnthimkvsnaxxkipcahnaythwolkxyangthuktxngtamkdhmayaelatamxnusyyaisets aelaidkhunthaebiynimthiplukkbisetsiwkhrngaerkcanwn 7 404 452 tn pccubnmikarplukthwpraethspraman 15 lantn aelaimephiyngphxkbtladthiephimkhuninpccubnkhwamhlakchnidkhxngphrrnimskulkvsnaiminskulkvsnamilatnkhnadpanklang aetthamixayumakcamilatnkhnadihyepnimenuxkhxnkhangxxn aetemuxxayumakaelw camilksnaenuximkhxnkhangaekhng siehluxngmilayswyngam epluxklxkngay latntrng sikhxnkhangaedngphiwepnemdtumelk siaedng da etha ekhiywxxn epnimoterw pccubnskulkvsnamiphrrnimthnghmd 15 chnid tamraylaexiyddngtxipni Aquilaria sinensis edimchux Gyrinopsis acuminata ex amp Leandri Phamh Aquilaria crassna ex Oken Benth chuxphxng A agallocha aela A secundaria Ding Hou K Le Cong amp Kessler Ding Hou Hallier filippins S C Huang chnidphrrnimskulkvsnachnidphunemuxnginpraethsithymi 5 chnid khux Aquilaria subintegra hrux phnthucnthburi epnchnidimthiihkhunphaphnamnsung phbinphakhtawnxxk cnghwdrayxng cnthburi trad odyechphaathi aelacnghwdpttani Aquilaria crassna hrux phnthuekhaihy epnchnidimthiihkhunphaphnamnkhxnkhangsungaelaprimannamnkhxnkhangmak phbthnginphakhklang cnghwdkaaephngephchr ephchrburn nkhrnayk odyechphaathixuthyanaehngchatiekhaihy phakhtawnxxkechiyngehnux cnghwdnkhrrachsima burirmy aelasrisaeks aelaphakhehnux cnghwdechiyngray aephr aelanan Aquilaria malaccensis epnchnidimthiihkhunphaphnahxmaelaprimannahxmpanklang phbbriewntxnitkhxngithy echn cnghwdephchrburi pracwbkhirikhnth ranxng krabi trng phthlung pttani rwmthngtlxdaenwtamrxytaekhbchayaednithy phmakhunipcnthungrthxssmaelaphutan Aquilaria hirta wisyepnimphumthiimihnamn yngimphbkarichenuximhxmchnidniinithy phbinphunthicnghwdphakhittxnlangaelaaehlmmlayukarekbekiywimkvsnathukekbekiywcaktnimchnid Aquilaria thiepntnaekaelwaelaidrbkartidechuxcakechuxraxyangthrrmchati kartidechuxcakratunihekidkarekidimersinsungcathukskdxxkmaaelwnaipichngantxipkarskdwithikardngedimennkartdaelapramwlphlimthitidechuxxyangramdrawngephuxskdimthimiersininswnicklangxxkma sungcaknncanamaklnepnnamnhxmraehytxipkarichpraoychnkhxngimkvsna sarkvsna michuxthangkarkhahlaychux idaek agarwood yuorp aloeswood singkhopr eaglewood shrthxemrika gaharu xinodniechiy oudh xahrb tram ewiydnam jinko yipun chen xiang cin epntn pccubnnxkcakchinimkvsnaaelanamnkvsnathiepnsinkhahlkintladaelwyngidmikarphthnaphlitphnthcakkvsnaihmikhwamhlakhlaykhun ephuxihsamarthtxbsnxngkhwamtxngkarkhxnglukkhaihidmakklumkhun odyphlitphnthcakkvsnathiepnsinkhawangcahnayxyuinthxngtlad sungswnihycaepntladinaethbexechiy echn ithy yipun singkhopr cakkarsarwckhxng Phillips 2003 samarthcaaenkiddngni inpraethsxinediyaelapraethsiklekhiyng kvsnamkthukichinkarrksaorkhaelainxutsahkrrmechphaa epluxktnkvsnamisarsakhythichuxwa kakca catechu sungmikhunsmbtithangekhmithimipraoychninkarrksa mnmiphltxrabbthangedinxaharaelamikhunsmbtiaekaephlrxybadecb swnibkhxngtnkvsnakmkthukichinkarrksaorkhphiwhnngaelaorkhthangedinhayicthxnimkvsna agarwood branch or trunk section epnthxnkvsnakhnadihy sung epnswnkhxngkinghruxlatnthimikarsasmsarkvsnaepnbriewnphunthikwanglksnaenuximcamisinatalekhmthungsida sungcaeriykwaimekrd 1 hrux ekrdsupepxr super agarwood rakhakhaytxkiolkrmcasungmak cakhlkhmuncnthunghlkaesnbathtxkiolkrmkhunxyukbkhunphaphkhxngthxnimnn pccubnnihaidyakmak ephraaepnkvsnathiidcaktnimthiekidinthrrmchatiethann aelamacaktnimmixayumak sungmikarsasmkvsnamaepnewlananhlaypiswnihythxnkvsnalksnanixaccaehnpraktxyuinwd hruxkhxngesrsthiephuxepnsingaesdngkhwamrarwymngkhngkhxngphuepnecakhxng chinim agarwood pieces epnchinimkvsnakhnadelk dngnncungmirakhathukkwaimthxnkhnadihy ichsahrbcudephaephuxihmiklinhxmniymichcudephuxtxnrbaekhkkhxngchawxahrbaelabangkhnechuxwakardmklinkhwncakkarephachinimkvsnacathaihrksaorkhbangxyangidnamnkvsna agaroil epnnamnthiskdidcakkvsnaekrd3hruxekrd4enuxngcakkarsasmkhxngsarkvsnamiprimannxykwa imsamarthnaipkhayepnchinimidhnwythiicheriyknamnkvsna eriykwa otra Tora miprimanpraman 12 krmrakhakhayknxyuthipraman 2 400 4800 bathtxotrapraoychnkhxngnamnkvsna khux niymichthatwkhxngchawxahrbephuxihmiklinhxmepnswnphsmkhxngekhruxngya epnswnphsmkhxngnahxmaelaekhruxngsaxangbangchnidphlitphnthxun idaek phngimthiehluxcakkarklnnamnkvsnaaelwnaiptha praethsithwnnamathaiwn aelanamapnepnkxnphsmnamnkvsnaaelaswnphsmtang ihmiklinhxm eriykwa marmool sungphuhyingchawxahrbniymichcudephuxihmiklinhxm nxkcakni kvsnayngepnwtthudibthiniymichinxutsahkrrmaelasilpa tnkvsnamilksnathrngphumklmotetmphunthi ibcaepnrupdanrieliyn dxkcaepnsiehluxnghruxkhaw phlkhxngtnkvsnamkepnfkyaw sungemuxsukcaaetkepnchxngelkphayinmiemld tnkvsnaepnphuchthisamarthplukidngayaelaprbtwiddiinsphaphaewdlxmthiaehngaelarxn cungepnthiniyminkarichpraoychninhlay daninchumchnthxngthinaelaxutsahkrrmtangxangxingBroad S 1995 Agarwood harvesting in Vietnam TRAFFIC Bulletin 15 96 smphthr khlngthrphy aelacngrk wchrinthrrtn imkvsna khwamepnipidinkarplukechingesrsthkic rachbnthitysthan 2538 xnukrmwithanphuch xksr k krungethphmhankhr ephuxnphimph Santisuk T and Larsen K eds 1997 Flora of Thailand Vol 6 3 Bangkok Diamond Printing Nghia N H 1998 Aquilaria crassna 2009 01 08 thi ewyaebkaemchchin 2006 IUCN Red List of Threatened Species Downloaded on 20 August 2007 prawtiimkvsna 2010 12 17 thi ewyaebkaemchchin chmrmimkvsna imhxm aehngpraethsithy kvsna 2010 10 12 thi ewyaebkaemchchin the than com bthkhwamphichniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk