ในกายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์ กล้ามเนื้อไบเซ็ปส์ เบรกิไอ (อังกฤษ: Biceps brachii muscle) เป็นกล้ามเนื้อที่สำคัญมัดหนึ่งที่อยู่ใน (Anterior compartment of arm) กล้ามเนื้อมัดนี้มีหน้าที่หลายประการ แต่ส่วนใหญ่จะเกี่ยวข้องกับการงอแขนและการหมุนของปลายแขนโดยมีข้อศอกเป็นจุดหมุน กล้ามเนื้อไบเซ็ปส์ เบรกิไอ ยังเป็นกล้ามเนื้อที่ผู้คนส่วนใหญ่รู้จักกันดี เนื่องจากเป็นกล้ามเนื้อที่เห็นได้ชัดจากภายนอก และสามารถบริหารกล้ามเนื้อนี้ให้มีรูปร่างที่ต้องการได้ง่ายโดยการยกน้ำหนัก
กล้ามเนื้อไบเซ็ปส์ เบรกิไอ (Biceps brachii) | |
---|---|
กล้ามเนื้อไบเซ็ปส์ เบรกิไอ | |
กล้ามเนื้อไบเซ็ปส์ เบรกิไอ (ทางขวา) | |
รายละเอียด | |
ด้านสั้น: โคราคอยด์ โพรเซสของกระดูกสะบัก ด้านยาว: ปุ่มเหนือแอ่งกลีนอยด์ | |
ปุ่มนูนเรเดียส | |
หลอดเลือดแดง | หลอดเลือดแดงแขน |
ประสาท | เส้นประสาทมัสคิวโลคิวทาเนียส (C5–C7) |
งอข้อศอก และพลิกหงายปลายแขน | |
ตัวระบุ | |
ภาษาละติน | musculus biceps brachii |
TA98 | A04.6.02.013 |
TA2 | 2464 |
[แก้ไขบนวิกิสนเทศ] |
กายวิภาคศาสตร์
จุดเกาะ
กล้ามเนื้อไบเซ็ปส์ เบรกิไอ เป็นกล้ามเนื้อที่มีจุดเกาะต้น (origin) แยกเป็นสองจุดที่บริเวณไหล่ จึงเป็นที่มาของชื่อกล้ามเนื้อ biceps ในภาษาลาติน ซึ่งแปลว่า สองหัว โดยจุดเกาะต้นทั้งสองได้แก่
- ปลายจุดเกาะต้นด้านสั้น (short head) จะยึดเกาะที่ (Coracoid process) ของกระดูกสะบัก
- ปลายจุดเกาะต้นด้านยาว (long head) จะมีลักษณะเป็นเอ็นขนาดใหญ่ที่ผ่านโครงสร้างของปลอกหุ้มข้อต่อที่บริเวณหัวกระดูกต้นแขน และไปเกาะกับกระดูกสะบักที่ปุ่มเหนือแอ่งกลีนอยด์ (supraglenoid tubercle)
จุดเกาะปลายของกล้ามเนื้อมัดนี้จะมีจุดเดียว คือที่ปุ่มนูนเรเดียส (Radial tuberosity) นอกจากนี้ยังมีบางส่วนขยายออกไปเป็นเอ็นแผ่ที่เกาะกับพังผืดของบริเวณส่วนต้นของปลายแขน ซึ่งเรียกว่า เอ็นแผ่ไบซิพิตัล (Bicipital aponeurosis)
หลอดเลือดแดง
กล้ามเนื้อไบเซ็ปส์ เบรกิไอ จะได้รับเลือดจำนวนมากจากหลอดเลือดแดงแขน (Brachial artery) ซึ่งเป็นหลอดเลือดแดงใหญ่ที่ต่อลงมาจาก (Axillary artery) และยังเป็นหลอดเลือดแดงที่นิยมใช้ในการตรวจวัดความดันโลหิตอีกด้วย
เส้นประสาท
เส้นประสาทที่มาสั่งการกล้ามเนื้อไบเซ็ปส์ เบรกิไอ คือเส้นประสาทมัสคิวโลคิวทาเนียส (Musculocutaneous nerve) ซึ่งเริ่มต้นจากการเชื่อมรวมกันของบริเวณคอ คู่ที่ 5,6 และ 7 จากนั้นจึงรวมเป็นแขนงด้านข้าง (lateral cord) ในร่างแหประสาทแขน (Brachial plexus) ก่อนจะแทงทะลุเข้าสู่กล้ามเนื้อคอราโคเบรเคียลิส (Coracobrachialis muscle) ก่อนจะให้แขนงเข้าสู่กล้ามเนื้อไบเซ็ปส์ เบรกิไอ
หน้าที่การทำงาน
กล้ามเนื้อไบเซ็ปส์ เบรกิไอ เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวของแขนที่ข้อต่อสามจุด ซึ่งได้แก่
- ข้อต่อกลีโนฮิวเมอรัล (Glenohumeral joint) ที่บริเวณไหล่ ซึ่งจะทำหน้าที่งอต้นแขนขึ้น
- ข้อศอก (Elbow joint) ทำหน้าที่งอปลายแขนขึ้น เช่นในกรณีของการยกน้ำหนักเพื่อการบริหารกล้ามเนื้อมัดนี้
- (Proximal radioulnar joint) ทำหน้าที่ในการพลิกหงายของปลายแขนและมือ โดยทำงานร่วมกับกล้ามเนื้อสุพิเนเตอร์ (Supinator muscle)
รูปประกอบเพิ่มเติม
- ภาพวาดแสดงโครงสร้างของข้อต่อไหล่ และแสดงจุดเกาะต้นของกล้ามเนื้อไบเซ็ปส์ เบรกิไอ
- ภาคตัดขวางของต้นแขนที่บริเวณส่วนกลางของกระดูกต้นแขน
- หลอดเลือดแดงแขน
- ร่างแหประสาทแขน ของรักแร้ขวา
- เส้นประสาทของแขนด้านซ้าย
อ้างอิง
- Gray's anatomy for students. Drake, RL., Vogl, W. and Mitchell, AWM.
- Clinically Oriented Anatomy, 4th ed. Keith L. Moore and Arthur F. Dalley.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
inkaywiphakhsastrkhxngmnusy klamenuxibesps ebrkiix xngkvs Biceps brachii muscle epnklamenuxthisakhymdhnungthixyuin Anterior compartment of arm klamenuxmdnimihnathihlayprakar aetswnihycaekiywkhxngkbkarngxaekhnaelakarhmunkhxngplayaekhnodymikhxsxkepncudhmun klamenuxibesps ebrkiix yngepnklamenuxthiphukhnswnihyruckkndi enuxngcakepnklamenuxthiehnidchdcakphaynxk aelasamarthbriharklamenuxniihmiruprangthitxngkaridngayodykaryknahnkklamenuxibesps ebrkiix Biceps brachii klamenuxibesps ebrkiixklamenuxibesps ebrkiix thangkhwa raylaexiyddansn okhrakhxyd ophresskhxngkraduksabk danyaw pumehnuxaexngklinxydpumnunerediyshlxdeluxdaednghlxdeluxdaedngaekhnprasathesnprasathmskhiwolkhiwthaeniys C5 C7 ngxkhxsxk aelaphlikhngayplayaekhntwrabuphasalatinmusculus biceps brachiiTA98A04 6 02 013TA22464 aekikhbnwikisneths kaywiphakhsastrcudekaa klamenuxibesps ebrkiix epnklamenuxthimicudekaatn origin aeykepnsxngcudthibriewnihl cungepnthimakhxngchuxklamenux biceps inphasalatin sungaeplwa sxnghw odycudekaatnthngsxngidaek playcudekaatndansn short head cayudekaathi Coracoid process khxngkraduksabk playcudekaatndanyaw long head camilksnaepnexnkhnadihythiphanokhrngsrangkhxngplxkhumkhxtxthibriewnhwkraduktnaekhn aelaipekaakbkraduksabkthipumehnuxaexngklinxyd supraglenoid tubercle cudekaaplaykhxngklamenuxmdnicamicudediyw khuxthipumnunerediys Radial tuberosity nxkcakniyngmibangswnkhyayxxkipepnexnaephthiekaakbphngphudkhxngbriewnswntnkhxngplayaekhn sungeriykwa exnaephibsiphitl Bicipital aponeurosis hlxdeluxdaedng klamenuxibesps ebrkiix caidrbeluxdcanwnmakcakhlxdeluxdaedngaekhn Brachial artery sungepnhlxdeluxdaedngihythitxlngmacak Axillary artery aelayngepnhlxdeluxdaedngthiniymichinkartrwcwdkhwamdnolhitxikdwy esnprasath esnprasaththimasngkarklamenuxibesps ebrkiix khuxesnprasathmskhiwolkhiwthaeniys Musculocutaneous nerve sungerimtncakkarechuxmrwmknkhxngbriewnkhx khuthi 5 6 aela 7 caknncungrwmepnaekhnngdankhang lateral cord inrangaehprasathaekhn Brachial plexus kxncaaethngthaluekhasuklamenuxkhxraokhebrekhiylis Coracobrachialis muscle kxncaihaekhnngekhasuklamenuxibesps ebrkiixhnathikarthanganklamenuxibesps ebrkiix ekiywkhxngkbkarekhluxnihwkhxngaekhnthikhxtxsamcud sungidaek khxtxklionhiwemxrl Glenohumeral joint thibriewnihl sungcathahnathingxtnaekhnkhun khxsxk Elbow joint thahnathingxplayaekhnkhun echninkrnikhxngkaryknahnkephuxkarbriharklamenuxmdni Proximal radioulnar joint thahnathiinkarphlikhngaykhxngplayaekhnaelamux odythanganrwmkbklamenuxsuphienetxr Supinator muscle rupprakxbephimetimphaphwadaesdngokhrngsrangkhxngkhxtxihl aelaaesdngcudekaatnkhxngklamenuxibesps ebrkiix phakhtdkhwangkhxngtnaekhnthibriewnswnklangkhxngkraduktnaekhn hlxdeluxdaedngaekhn rangaehprasathaekhn khxngrkaerkhwa esnprasathkhxngaekhndansayxangxingGray s anatomy for students Drake RL Vogl W and Mitchell AWM Clinically Oriented Anatomy 4th ed Keith L Moore and Arthur F Dalley