โยอาคิม ไพเพอร์ (เยอรมัน: Joachim Peiper) ชื่อเล่น ย็อคเคิน (Jochen) เป็นเจ้าหน้าที่สัญญาบัตรของวัฟเฟิน-เอ็สเอ็ส เคยเป็นผู้ช่วยประจำตัวของไฮน์ริช ฮิมเลอร์ ผู้นำองค์การเอ็สเอ็ส เขาถูกกล่าวหาว่าก่ออาชญากรรมสงครามจากการที่เขาเป็นผู้รับผิดชอบการสังหารหมู่เชลยชาวอเมริกันที่มาลเมดีย์
โยอาคิม ไพเพอร์ | |
---|---|
ชื่อเล่น | ย็อคเคิน (Johann) |
เกิด | 30 มกราคม ค.ศ. 1915 เบอร์ลิน จักรวรรดิเยอรมัน |
เสียชีวิต | 14 กรกฎาคม ค.ศ. 1976 จังหวัดโอต-โซน ประเทศฝรั่งเศส | (61 ปี)
รับใช้ | ไรช์เยอรมัน |
แผนก/ | วัฟเฟิน-เอ็สเอ็ส |
ประจำการ | ค.ศ. 1933–45 |
ชั้นยศ | เอ็สเอ็ส-โอเบอร์ชตวร์มบันน์ฟือเรอร์ (พันโท) |
หน่วย | |
การยุทธ์ | สงครามโลกครั้งที่สอง |
บำเหน็จ | กางเขนอัศวินติดใบโอ๊กคาดดาบ |
งานอื่น | พอร์เชอและฟ็อลคส์วาเกิน |
ประวัติ
ย็อคเคินเกิดเมื่อวันที่ 30 มกราคม 1915 ที่กรุงเบอร์ลิน ครอบครัวเป็นชนชั้นกลางซึ่งมีพื้นเพอยู่ในภูมิภาคไซลีเชียของจักรวรรดิเยอรมัน เป็นบุตรชายคนที่สามของร้อยเอกวัลเดอมาร์ ไพเฟอร์ (Waldemar Peiper) นายทหารบกซึ่งเข้าร่วมรบในแอฟริกาตะวันตกและตุรกีระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
ในปี 1926 ย็อคเคินตามพี่ชายของเขาที่ชื่อว่าฮอสท์ (Horst) เข้าร่วมกิจการลูกเสือ ในช่วงนี้พวกเขาเริ่มมีความสนใจทางด้านทหาร ในปี 1933 ย็อคเคินเข้าสมัครเข้าร่วมองค์การยุวชนฮิตเลอร์ และสมัครเข้าร่วมองค์การเอ็สเอ็สในปลายปีเดียวกัน และเข้าร่วมเป็นสมาชิกพรรคนาซีในปี 1938
พี่ชายของย็อคเคินเข้าร่วมกับเอ็สเอ็สเช่นกัน ฮอสท์ทำหน้าที่ทหารยามของค่ายกักกันจากนั้นจึงเข้าร่วมในยุทธการที่ฝรั่งเศส พี่ชายของเขาเสียชีวิตอย่างมีเงื่อนงำในปี 1941 ทางการไม่เคยอธิบายการตาย มีข่าวลือว่าฮอสท์เป็นเกย์และถูกบังคับโดยคนในหน่วยให้ฆ่าตัวตาย
เจ้าหน้าที่เอ็สเอ็ส
ระหว่างการชุมนุมที่เนือร์นแบร์คในปี 1934 แม้ย็อคเคินตัวไม่สูงและกำยำเท่ากับเจ้าหน้าที่เอ็สเอ็สคนอื่น แต่เขามีใบหน้าที่หล่อเหลามากพอเป็นที่สะดุดตาไฮน์ริช ฮิมเลอร์ ผู้นำองค์การเอ็สเอ็ส ฮิมเลอร์มองว่าย็อคเคินเป็นดั่งภาพเสมือนของชายอารยันในอุดมคติ หลังจากวันนั้น ย็อคเคินถูกส่งตัวเข้าหลักสูตรปั้นบุคลากรชั้นนำขององค์การเอ็สเอ็ส
ในปี 1935 ย็อคเคินถูกโอนตัวไปสังกัด หน่วยอารักขาส่วนตัวของฮิตเลอร์และเป็นหน่วยทหารระดับแถวหน้าสุดของวัฟเฟิน-เอ็สเอ็ส ย็อคเคินเป็นเจ้าหน้าที่ที่ฉายแววรุ่งมาก เขาถูกส่งให้ไปโรงเรียนเอ็สเอ็ส-ยุงเคอร์ในเมืองเบราน์ชไวค์ เพื่อฝึกสอนให้เป็นผู้นำแถวหน้าขององค์การเอ็สเอ็สในอนาคต ในปี 1936 ย็อคเคินได้ติดยศเป็นอุนเทอร์ชตวร์มบันน์ฟือเรอร์ (เทียบเท่าร้อยตรี) และในปี 1938 เขาได้เป็นเจ้าหน้าที่ฝ่ายเสนาธิการประจำตัวไฮน์ริช ฮิมเลอร์ และเลื่อนเป็นผู้ช่วยของฮิมเลอร์ในปีถัดมา
ย็อคเคินเข้าร่วมต่อสู้ทั้งบนแนวรบด้านตะวันออกซึ่งปะทะกับกองทัพแดงและแนวรบด้านตะวันตกซึ่งปะทะกับกองทัพฝ่ายสัมพันธมิตรตะวันตกและได้รับบำเหน็จเป็นเหรียญกางเขนอัศวินประดับด้วยใบโอ๊คและดาบ กองพลยานเกราะของย็อคเคินถูกจับกุมโดยหน่วยทหารสหรัฐเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 1945
หลังสงคราม
หลังสิ้นสุดสงคราม ในวันที่ 16 กรกฎาคม ค.ศ. 1946 ไพเพอร์ถูกพิพากษาโดยศาลอาชญากรรมสงครามว่ามีความผิดและถูกตัดสินประหารชีวิตโดยการแขวนคอ อย่างไรก็ตาม ทางการสหรัฐพิจารณาโทษใหม่เหลือเพียงโทษจำคุก ไพเพอร์ติดคุกจริงเพียงสิบเอ็ดปีเศษและถูกปล่อยตัวเมื่อเดือนธันวาคม 1956
หลังจากที่เขาได้รับการปล่อยตัวจากเรือนจำ ไพเพอร์ได้ทำงานให้กับทั้งบริษัทพอร์เชอและฟ็อลคส์วาเกิน ก่อนที่จะย้ายไปอาศัยยังเมืองชนบทในจังหวัดโอต-โซน ประเทศฝรั่งเศสเมื่อค.ศ. 1972 ที่นั้นเขาได้แปลหนังสือจากภาษาอังกฤษเป็นภาษาเยอรมันภายใต้ชื่อว่า Rainer Buschmann เขาใช้ชีวิตในฝรั่งเศสอย่างระมัดระวังและไม่เปิดเผยอดีตของตัวเอง อย่างไรก็ตาม ในค.ศ. 1976 เขาถูกอดีตแนวร่วมปลดปล่อยฝรั่งเศสจดจำได้ และถูกสังหารด้วยระเบิดมือในบ้านพักเมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 1976 ตรงกับวันบัสตีย์
อ้างอิง
- Weingartner 2004, pp. 21–22.
- Dienstaltersliste der Schutzstaffel der NSDAP. Stand vom 1. Dezember 1936, S. 239, Nr. 7632.
- Parker 2014, pp. 11–12.
- Parker 2014, p. 134.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
oyxakhim iphephxr eyxrmn Joachim Peiper chuxeln yxkhekhin Jochen epnecahnathisyyabtrkhxngwfefin exsexs ekhyepnphuchwypracatwkhxngihnrich himelxr phunaxngkhkarexsexs ekhathukklawhawakxxachyakrrmsngkhramcakkarthiekhaepnphurbphidchxbkarsngharhmuechlychawxemriknthimalemdiyoyxakhim iphephxrchuxelnyxkhekhin Johann ekid30 mkrakhm kh s 1915 1915 01 30 ebxrlin ckrwrrdieyxrmnesiychiwit14 krkdakhm kh s 1976 1976 07 14 61 pi cnghwdoxt osn praethsfrngessrbich ircheyxrmnaephnk wbr sngkdwfefin exsexspracakarkh s 1933 45chnysexsexs oxebxrchtwrmbnnfuxerxr phnoth hnwykxngphlyanekraaexsexsthi 1karyuththsngkhramolkkhrngthisxngbaehnckangekhnxswintidiboxkkhaddabnganxunphxrechxaelafxlkhswaekinprawtiyxkhekhinekidemuxwnthi 30 mkrakhm 1915 thikrungebxrlin khrxbkhrwepnchnchnklangsungmiphunephxyuinphumiphakhisliechiykhxngckrwrrdieyxrmn epnbutrchaykhnthisamkhxngrxyexkwledxmar iphefxr Waldemar Peiper naythharbksungekharwmrbinaexfrikatawntkaelaturkirahwangsngkhramolkkhrngthihnung inpi 1926 yxkhekhintamphichaykhxngekhathichuxwahxsth Horst ekharwmkickarlukesux inchwngniphwkekhaerimmikhwamsnicthangdanthhar inpi 1933 yxkhekhinekhasmkhrekharwmxngkhkaryuwchnhitelxr aelasmkhrekharwmxngkhkarexsexsinplaypiediywkn aelaekharwmepnsmachikphrrkhnasiinpi 1938 phichaykhxngyxkhekhinekharwmkbexsexsechnkn hxsththahnathithharyamkhxngkhaykkkncaknncungekharwminyuththkarthifrngess phichaykhxngekhaesiychiwitxyangmienguxnngainpi 1941 thangkarimekhyxthibaykartay mikhawluxwahxsthepnekyaelathukbngkhbodykhninhnwyihkhatwtayecahnathiexsexsrahwangkarchumnumthienuxrnaebrkhinpi 1934 aemyxkhekhintwimsungaelakayaethakbecahnathiexsexskhnxun aetekhamiibhnathihlxehlamakphxepnthisadudtaihnrich himelxr phunaxngkhkarexsexs himelxrmxngwayxkhekhinepndngphaphesmuxnkhxngchayxaryninxudmkhti hlngcakwnnn yxkhekhinthuksngtwekhahlksutrpnbukhlakrchnnakhxngxngkhkarexsexs inpi 1935 yxkhekhinthukoxntwipsngkdkxngphlilphchtndarethx exsexs xdxlf hitelxr hnwyxarkkhaswntwkhxnghitelxraelaepnhnwythharradbaethwhnasudkhxngwfefin exsexs yxkhekhinepnecahnathithichayaewwrungmak ekhathuksngihiporngeriynexsexs yungekhxrinemuxngebranchiwkh ephuxfuksxnihepnphunaaethwhnakhxngxngkhkarexsexsinxnakht inpi 1936 yxkhekhinidtidysepnxunethxrchtwrmbnnfuxerxr ethiybetharxytri aelainpi 1938 ekhaidepnecahnathifayesnathikarpracatwihnrich himelxr aelaeluxnepnphuchwykhxnghimelxrinpithdma yxkhekhinekharwmtxsuthngbnaenwrbdantawnxxksungpathakbkxngthphaedngaelaaenwrbdantawntksungpathakbkxngthphfaysmphnthmitrtawntkaelaidrbbaehncepnehriyykangekhnxswinpradbdwyiboxkhaeladab kxngphlyanekraakhxngyxkhekhinthukcbkumodyhnwythharshrthemuxwnthi 22 phvsphakhm 1945hlngsngkhramhlngsinsudsngkhram inwnthi 16 krkdakhm kh s 1946 iphephxrthukphiphaksaodysalxachyakrrmsngkhramwamikhwamphidaelathuktdsinpraharchiwitodykaraekhwnkhx xyangirktam thangkarshrthphicarnaothsihmehluxephiyngothscakhuk iphephxrtidkhukcringephiyngsibexdpiessaelathukplxytwemuxeduxnthnwakhm 1956 hlngcakthiekhaidrbkarplxytwcakeruxnca iphephxridthanganihkbthngbristhphxrechxaelafxlkhswaekin kxnthicayayipxasyyngemuxngchnbthincnghwdoxt osn praethsfrngessemuxkh s 1972 thinnekhaidaeplhnngsuxcakphasaxngkvsepnphasaeyxrmnphayitchuxwa Rainer Buschmann ekhaichchiwitinfrngessxyangramdrawngaelaimepidephyxditkhxngtwexng xyangirktam inkh s 1976 ekhathukxditaenwrwmpldplxyfrngesscdcaid aelathuksnghardwyraebidmuxinbanphkemuxwnthi 14 krkdakhm 1976 trngkbwnbstiyxangxingWeingartner 2004 pp 21 22 sfn error no target CITEREFWeingartner2004 Dienstaltersliste der Schutzstaffel der NSDAP Stand vom 1 Dezember 1936 S 239 Nr 7632 Parker 2014 pp 11 12 sfn error no target CITEREFParker2014 Parker 2014 p 134 sfn error no target CITEREFParker2014