ลิลิตยวนพ่าย เป็นวรรณคดีประเภทสดุดีวีรกรรมของพระมหากษัตริย์ จัดเป็นวรรณคดีประวัติศาสตร์ ไม่ปรากฏนามผู้แต่ง แต่สันนิษฐานว่าแต่งขึ้นในรัชสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ คำว่า "ลิลิต" หมายถึง คำประพันธ์ประเภทร้อยกรองแบบหนึ่งซึ่งใช้โคลงและร่ายต่อสัมผัสกันเป็นเรื่องยาว ส่วน "ยวน" หมายถึง ชาวยวน ชาติพันธุ์หลักในอาณาจักรล้านนา ดังนั้นลิลิตยวนพ่ายจึงมีเนื้อหากล่าวถึงสงครามที่อาณาจักรอยุธยามีชัยเหนืออาณาจักรล้านนานั่นเอง
ลิลิตยวนพ่าย | |
---|---|
กวี | ไม่ทราบ |
ประเภท | เฉลิมพระเกียรติ |
คำประพันธ์ | ลิลิต |
ยุค | กรุงศรีอยุธยา |
ปีที่แต่ง | ประมาณ พ.ศ. 2034 - 2072 |
ส่วนหนึ่งของ |
ลิลิตยวนพ่ายแต่งเป็นลิลิตดั้น กล่าวคือ เป็นร่ายดั้น 2 ตอนและโคลงดั้นบาทกุญชร 365 บท ภาษาที่ใช้เป็นภาษาไทยโบราณ เขมร สันสกฤต และบาลี จึงอ่านเข้าใจได้ยาก ใช้ภาษาที่ประณีตงดงาม ศัพท์สูงส่งวิจิตร เต็มไปด้วยชั้นเชิงสูงด้านการใช้ภาษา และเป็นแบบอย่างในการแต่งลิลิตตะเลงพ่ายของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส
เนื้อหา
เนื้อเรื่องของลิลิตยวนพ่ายจะกล่าวถึงพระราชประวัติของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ โดยเริ่มจากการกล่าวนมัสการพระพุทธเจ้าและยกหัวข้อธรรมะเพื่อสรรเสริญสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ แล้วจึงเริ่มกล่าวถึงพระราชประวัติของพระองค์ตั้งแต่ประสูติจนกระทั่งเสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา ต่อมา เจ้าเมืองพิษณุโลกเอาใจออกห่างกรุงศรีอยุธยาโดยหันไปติดต่อกับพระเจ้าติโลกราช พระองค์จึงทรงยกทัพไปขึ้นไปตีและปราบปรามมาจนสงบและเสด็จประทับที่เมืองพิษณุโลก
ต่อมา จึงกล่าวถึงเหตุการณ์ที่พระเจ้าติโลกราชเสียพระจริตประหารหนานบุญเรือง ราชบุตรและหมื่นดังนคร เจ้าเมืองเชียงชื่น เป็นเหตุให้ภรรยาของหมื่นดังนครไม่พอใจและส่งสารมาพึ่งพระบรมโพธิสมภารของสมเด็จสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ พระองค์จึงยกทัพไปช่วยจนเกิดสงครามระหว่างกรุงศรีอยุธยากับเมืองเชียงใหม่ พระเจ้าติโลกราชทรงยกทัพมาป้องกันเมืองเชียงชื่น เสร็จแล้วเสด็จกลับไปรักษาเมืองเชียงใหม่ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงกรีธาทัพหลวงขึ้นไปรบตีเชียงใหม่พ่ายไปได้เมืองเชียงชื่น ตอนสุดท้ายป็นการยอพระเกียรติสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถอีกครั้งหนึ่ง
แหล่งข้อมูลอื่น
- สมเกียรติ วันทะนะ. (2561, มกราคม-มิถุนายน). โลกการเมืองในยวนพ่ายโคลงดั้น. วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 40 ฉบับที่ 1: 180-210.
- ปัทมา ฑีฆประเสิรฐกุล, ชลดา เรืองรักษ์ลิขิต. (2557, มกราคม - มีนาคม). เชียงชื่น: ความสำคัญที่มีต่อการสร้างวีรกรรมของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถในยวนพ่ายโคลงดั้น. วารสารสุทธิปริทัศน์ ปีที่ 28 ฉบับที่ 85: 270-286.
อ้างอิง
- พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542
- "สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่ม ๒๔ เรื่องที่ ๑ วรรณคดีมรดก สมัยอยุธยา (ประมาณ พ.ศ. ๑๘๙๓ - ๒๓๑๐) ลิลิตยวนพ่าย". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-01-16. สืบค้นเมื่อ 2010-08-21.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
lilitywnphay epnwrrnkhdipraephthsdudiwirkrrmkhxngphramhakstriy cdepnwrrnkhdiprawtisastr impraktnamphuaetng aetsnnisthanwaaetngkhuninrchsmysmedcphraramathibdithi 2 ephuxechlimphraekiyrtismedcphrabrmitrolknath khawa lilit hmaythung khapraphnthpraephthrxykrxngaebbhnungsungichokhlngaelaraytxsmphsknepneruxngyaw swn ywn hmaythung chawywn chatiphnthuhlkinxanackrlanna dngnnlilitywnphaycungmienuxhaklawthungsngkhramthixanackrxyuthyamichyehnuxxanackrlannannexnglilitywnphaykwiimthrabpraephthechlimphraekiyrtikhapraphnthlilityukhkrungsrixyuthyapithiaetngpraman ph s 2034 2072swnhnungkhxngsaranukrmwrrnsilp lilitywnphayaetngepnlilitdn klawkhux epnraydn 2 txnaelaokhlngdnbathkuychr 365 bth phasathiichepnphasaithyobran ekhmr snskvt aelabali cungxanekhaicidyak ichphasathipranitngdngam sphthsungsngwicitr etmipdwychnechingsungdankarichphasa aelaepnaebbxyanginkaraetnglilittaelngphaykhxngsmedcphramhasmneca krmphraprmanuchitchionrsenuxhaenuxeruxngkhxnglilitywnphaycaklawthungphrarachprawtikhxngsmedcphrabrmitrolknath odyerimcakkarklawnmskarphraphuththecaaelaykhwkhxthrrmaephuxsrresriysmedcphrabrmitrolknath aelwcungerimklawthungphrarachprawtikhxngphraxngkhtngaetprasuticnkrathngesdckhunkhrxngrachsmbtiepnphramhakstriyaehngkrungsrixyuthya txma ecaemuxngphisnuolkexaicxxkhangkrungsrixyuthyaodyhniptidtxkbphraecatiolkrach phraxngkhcungthrngykthphipkhuniptiaelaprabprammacnsngbaelaesdcprathbthiemuxngphisnuolk txma cungklawthungehtukarnthiphraecatiolkrachesiyphracritpraharhnanbuyeruxng rachbutraelahmundngnkhr ecaemuxngechiyngchun epnehtuihphrryakhxnghmundngnkhrimphxicaelasngsarmaphungphrabrmophthismpharkhxngsmedcsmedcphrabrmitrolknath phraxngkhcungykthphipchwycnekidsngkhramrahwangkrungsrixyuthyakbemuxngechiyngihm phraecatiolkrachthrngykthphmapxngknemuxngechiyngchun esrcaelwesdcklbiprksaemuxngechiyngihm smedcphrabrmitrolknaththrngkrithathphhlwngkhuniprbtiechiyngihmphayipidemuxngechiyngchun txnsudthaypnkaryxphraekiyrtismedcphrabrmitrolknathxikkhrnghnungaehlngkhxmulxunsmekiyrti wnthana 2561 mkrakhm mithunayn olkkaremuxnginywnphayokhlngdn warsarxksrsastr mhawithyalysilpakr pithi 40 chbbthi 1 180 210 pthma thikhpraesirthkul chlda eruxngrkslikhit 2557 mkrakhm minakhm echiyngchun khwamsakhythimitxkarsrangwirkrrmkhxngsmedcphrabrmitrolknathinywnphayokhlngdn warsarsuththiprithsn pithi 28 chbbthi 85 270 286 xangxingphcnanukrm chbbrachbnthitysthan ph s 2542 saranukrmithysahrbeyawchn elm 24 eruxngthi 1 wrrnkhdimrdk smyxyuthya praman ph s 1893 2310 lilitywnphay khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2010 01 16 subkhnemux 2010 08 21