บทความนี้ไม่มีจาก |
เหรียญฟีลดส์ (อังกฤษ: Fields Medal) เป็นรางวัลที่มอบให้แก่นักคณิตศาสตร์จำนวน 2-4 คน ที่มีอายุไม่เกิน 40 ปี ในการประชุมของ (International Mathematics Union หรือ IMU) ซึ่งจัดขึ้นทุก ๆ 4 ปี รางวัลเหรียญฟีลดส์ได้รับการยอมรับในวงกว้างว่าเป็นรางวัลเกียรติยศสูงสุดสำหรับนักคณิตศาสตร์
เหรียญฟีลดส์ | |
---|---|
ด้านหน้าของเหรียญฟีลดส์ | |
รางวัลสำหรับ | ผลงานที่โดดเด่นในวิชาคณิตศาสตร์ อันเนื่องมาจากนักวิทยาศาสตร์รุ่นเยาว์ |
ประเทศ | แตกต่างกันไป |
จัดโดย | (IMU) |
รางวัล | 15,000 ดอลลาร์แคนาดา |
รางวัลแรก | 1936 |
รางวัลสุดท้าย | ค.ศ. 2022 |
เว็บไซต์ | Mathunion.org |
รางวัลนี้มอบให้พร้อมกับเงินรางวัลเป็นจำนวน 15,000 ดอลลาร์แคนาดา (ตั้งแต่ปี 2006) เหรียญฟีลดส์ก่อตั้งโดยความประสงค์ของนักคณิตศาสตร์ชาวแคนาดา (John Charles Fields) มอบรางวัลครั้งแรกในปี 1936 แก่นักคณิตศาสตร์ชาวฟินแลนด์ชื่อ ลาร์ส อาห์ลฟอร์ (Lars Ahlfors) และนักคณิตศาสตร์ชาวอเมริกันชื่อ (Jesse Douglas) และจัดมอบทุก ๆ 4 ปีมาตั้งแต่ปี 1950 โดยมีจุดประสงค์เพื่อสนับสนุนและให้เกียรตินักวิจัยวัยหนุ่มสาวที่อุทิศตนเพื่องานด้านคณิตศาสตร์
ภาพรวม
เหรียญฟีลดส์ มักถูกเรียกว่าเป็น "รางวัลโนเบลสาขาคณิตศาสตร์" แต่การเรียกแบบนี้อาจไม่ถูกต้องนัก เนื่องจากเหรียญฟีลดส์จัดขึ้นทุกๆ 4 ปี อีกทั้งยังจำกัดอายุของผู้รับรางวัลไม่ให้เกิน 40 ปี ในวันที่ 1 มกราคมของปีที่มีการมอบรางวัล อีกทั้งยังมีเงินรางวัลที่มอบให้น้อยกว่าเงินรางวัลของรางวัลโนเบลอยู่มาก ประการสุดท้ายคือ เมื่อพิจารณาในส่วนปาฐกถาแล้ว เหรียญฟีลดส์มอบรางวัลให้แก่ผลงานทั้งหมด ไม่ใช่ผลงานบางส่วน
รางวัลหลักทางคณิตศาสตร์อื่นๆ เช่น รางวัลอาเบล (Abel Prize) หรือ รางวัลวูล์ฟสาขาคณิตศาสตร์ (Wolf Prize in Mathematics) มอบให้กับผลงานโดยรวม ซึ่งทำให้แตกต่างจากรางวัลโนเบล แม้ว่ารางวัลอาเบลจะมีเงินรางวัลมากเหมือนรางวัลโนเบลก็ตาม
รายชื่อผู้ได้รับรางวัล
- ค.ศ. 2022: (ฝรั่งเศส), (สหรัฐอเมริกา), (อังกฤษ), (ยูเครน)
- ค.ศ. 2018: (อิหร่าน), (อิตาลี), (เยอรมนี), (อินเดีย/ออสเตรเลีย)
- ค.ศ. 2014: (บราซิล), (แคนาดา), (ออสเตรีย), Maryam Mirzakhani (อิหร่าน)
- ค.ศ. 2010: (อิสราเอล), (เวียดนาม), (รัสเซีย), Cédric Villani (ฝรั่งเศส)
- ค.ศ. 2006: (รัสเซีย), Grigori Perelman (รัสเซีย) (ปฏิเสธรางวัล), (ออสเตรเลีย), (ฝรั่งเศส)
- ค.ศ. 2002: (ฝรั่งเศส), (รัสเซีย)
- ค.ศ. 1998: (สหราชอาณาจักร), (สหราชอาณาจักร), (รัสเซีย), (สหรัฐอเมริกา)
- ค.ศ. 1994: (รัสเซีย), (ฝรั่งเศส), (เบลเยียม), (ฝรั่งเศส)
- ค.ศ. 1990: (สหภาพโซเวียต), (นิวซีแลนด์), (ญี่ปุ่น), (สหรัฐอเมริกา)
- ค.ศ. 1986: (สหราชอาณาจักร), (เยอรมนีตะวันตก), (สหรัฐอเมริกา)
- ค.ศ. 1982: (ฝรั่งเศส), (สหรัฐอเมริกา), (จีน/สหรัฐอเมริกา)
- ค.ศ. 1978: (เบลเยียม), (สหรัฐอเมริกา), (สหภาพโซเวียต), (สหรัฐอเมริกา)
- ค.ศ. 1974: (อิตาลี), (สหรัฐอเมริกา)
- ค.ศ. 1970: (สหราชอาณาจักร), (ญี่ปุ่น), (สหภาพโซเวียต), (สหรัฐอเมริกา)
- ค.ศ. 1966: (สหราชอาณาจักร), (สหรัฐอเมริกา), (ฝรั่งเศส), (สหรัฐอเมริกา)
- ค.ศ. 1962: (สวีเดน), (สหรัฐอเมริกา)
- ค.ศ. 1958: (สหราชอาณาจักร), (ฝรั่งเศส)
- ค.ศ. 1954: (ญี่ปุ่น), (ฝรั่งเศส)
- ค.ศ. 1950: (ฝรั่งเศส), (นอร์เวย์)
- ค.ศ. 1936: (ฟินแลนด์), (สหรัฐอเมริกา)
เหตุการณ์สำคัญ
- ปี 1954 Jean-Pierre Serre เป็นผู้ที่ได้รับรางวัลที่อายุน้อยที่สุด ด้วยวัย 27 ปี
- ปี 1966 Alexander Grothendieck ปฏิเสธที่จะรับรางวัล เพื่อประท้วงการรุกรานของโซเวียตในยุโรปตะวันออก Léon Motchane ทำหน้าที่เป็นผู้รับรางวัลแทนเขา
- ปี 1970 Sergei Novikov ถูกรัฐบาลโซเวียตกดดันไม่ให้รับรางวัลดังกล่าว
- ปี 1978 Grigory Margulis ถูกรัฐบาลโซเวียตกดดันไม่ให้รับรางวัลดังกล่าว Jacques Tits ทำหน้าที่เป็นผู้รับรางวัลแทนเขา
- ปี 1982 มีการเลื่อนการประชุมไปในปีถัดไป เนื่องจากมีการประกาศกฎอัยการศึกในวอร์ซอ รางวัลถูกมอบในปีต่อมา
- ปี 1990 Edward Witten เป็นนักฟิสิกส์คนแรกที่ได้รับรางวัล
- ปี 1998 Andrew Wiles ได้รับโล่เงินประกาศเกียรติคุณเป็นคนแรก จากผลงานการพิสูจน์ทฤษฎีบทสุดท้ายของแฟร์มา ถึงแม้ว่าไวลส์จะมีอายุเกิน 40 ปีในตอนที่ได้รับรางวัลแล้วก็ตาม (ไวลส์ตีพิมพ์บทพิสูจน์ทฤษฎีบทนี้ตอนอายุ 41 ปี)
- ปี 2006 กริกอรี เพเรลมาน (Grigori Perelman) ผู้พิสูจน์ข้อความคาดการณ์ของปวงกาเร ปฏิเสธที่จะรับรางวัลดังกล่าว
- ปี 2014 Maryam Mirzakhani เป็นผู้หญิงคนแรกที่ได้รับรางวัล และ Artur Avila เป็นนักคณิตศาสตร์ที่มาจากทวีปอเมริกาใต้คนแรกที่ได้รับรางวัล
เหรียญรางวัล
เหรียญรางวัล ออกแบบและสร้างโดยประติมากรชาวแคนาดาชื่อ ด้านหน้าของเหรียญเป็นรูปของอาร์คิมิดีส (Archimedes) และมีข้อความเป็นภาษาลาติน ว่า "Transire suum pectus mundoque potiri" (เจริญเหนือตนเองและเข้าใจโลก)
ด้านหลังของเหรียญมีจารึกเป็นภาษาลาตินว่า
- CONGREGATI
- EX TOTO ORBE
- MATHEMATICI
- OB SCRIPTA INSIGNIA
- TRIBUERE
(แปลว่า "นักคณิตศาสตร์ผู้ประชุมจากทั่วโลกมอบรางวัล [นี้] สำหรับงานเขียนโดดเด่น")
ในส่วนพื้นหลังแสดงหลุมศพของอาร์คิมีดีส ซึ่งสลักทฤษฎีบทของเขาไว้ (ทรงกลมบรรจุในทรงกระบอกที่มีความสูงและเส้นผ่านศูนย์กลางเท่ากัน) และมีกิ่งไม้อยู่ด้านหลัง
ข้อมูลเพิ่มเติม
อ้างอิง
แหล่งข้อมูลอื่น
- เว็บไซต์อย่างเป็นทางการของ รางวัลเหรียญฟีลดส์ (อังกฤษ)
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir ehriyyfilds xngkvs Fields Medal epnrangwlthimxbihaeknkkhnitsastrcanwn 2 4 khn thimixayuimekin 40 pi inkarprachumkhxng International Mathematics Union hrux IMU sungcdkhunthuk 4 pi rangwlehriyyfildsidrbkaryxmrbinwngkwangwaepnrangwlekiyrtiyssungsudsahrbnkkhnitsastrehriyyfildsdanhnakhxngehriyyfildsrangwlsahrbphlnganthioddedninwichakhnitsastr xnenuxngmacaknkwithyasastrruneyawpraethsaetktangknipcdody IMU rangwl15 000 dxllaraekhnadarangwlaerk1936 88 pithiaelw 1936 rangwlsudthaykh s 2022 2022 ewbistMathunion org rangwlnimxbihphrxmkbenginrangwlepncanwn 15 000 dxllaraekhnada tngaetpi 2006 ehriyyfildskxtngodykhwamprasngkhkhxngnkkhnitsastrchawaekhnada John Charles Fields mxbrangwlkhrngaerkinpi 1936 aeknkkhnitsastrchawfinaelndchux lars xahlfxr Lars Ahlfors aelankkhnitsastrchawxemriknchux Jesse Douglas aelacdmxbthuk 4 pimatngaetpi 1950 odymicudprasngkhephuxsnbsnunaelaihekiyrtinkwicywyhnumsawthixuthistnephuxngandankhnitsastrphaphrwmehriyyfilds mkthukeriykwaepn rangwloneblsakhakhnitsastr aetkareriykaebbnixacimthuktxngnk enuxngcakehriyyfildscdkhunthuk 4 pi xikthngyngcakdxayukhxngphurbrangwlimihekin 40 pi inwnthi 1 mkrakhmkhxngpithimikarmxbrangwl xikthngyngmienginrangwlthimxbihnxykwaenginrangwlkhxngrangwloneblxyumak prakarsudthaykhux emuxphicarnainswnpathkthaaelw ehriyyfildsmxbrangwlihaekphlnganthnghmd imichphlnganbangswn rangwlhlkthangkhnitsastrxun echn rangwlxaebl Abel Prize hrux rangwlwulfsakhakhnitsastr Wolf Prize in Mathematics mxbihkbphlnganodyrwm sungthaihaetktangcakrangwlonebl aemwarangwlxaeblcamienginrangwlmakehmuxnrangwloneblktamraychuxphuidrbrangwlkh s 2022 frngess shrthxemrika xngkvs yuekhrn kh s 2018 xihran xitali eyxrmni xinediy xxsetreliy kh s 2014 brasil aekhnada xxsetriy Maryam Mirzakhani xihran kh s 2010 xisraexl ewiydnam rsesiy Cedric Villani frngess kh s 2006 rsesiy Grigori Perelman rsesiy ptiesthrangwl xxsetreliy frngess kh s 2002 frngess rsesiy kh s 1998 shrachxanackr shrachxanackr rsesiy shrthxemrika kh s 1994 rsesiy frngess ebleyiym frngess kh s 1990 shphaphosewiyt niwsiaelnd yipun shrthxemrika kh s 1986 shrachxanackr eyxrmnitawntk shrthxemrika kh s 1982 frngess shrthxemrika cin shrthxemrika kh s 1978 ebleyiym shrthxemrika shphaphosewiyt shrthxemrika kh s 1974 xitali shrthxemrika kh s 1970 shrachxanackr yipun shphaphosewiyt shrthxemrika kh s 1966 shrachxanackr shrthxemrika frngess shrthxemrika kh s 1962 swiedn shrthxemrika kh s 1958 shrachxanackr frngess kh s 1954 yipun frngess kh s 1950 frngess nxrewy kh s 1936 finaelnd shrthxemrika ehtukarnsakhypi 1954 Jean Pierre Serre epnphuthiidrbrangwlthixayunxythisud dwywy 27 pi pi 1966 Alexander Grothendieck ptiesththicarbrangwl ephuxprathwngkarrukrankhxngosewiytinyuorptawnxxk Leon Motchane thahnathiepnphurbrangwlaethnekha pi 1970 Sergei Novikov thukrthbalosewiytkddnimihrbrangwldngklaw pi 1978 Grigory Margulis thukrthbalosewiytkddnimihrbrangwldngklaw Jacques Tits thahnathiepnphurbrangwlaethnekha pi 1982 mikareluxnkarprachumipinpithdip enuxngcakmikarprakaskdxykarsukinwxrsx rangwlthukmxbinpitxma pi 1990 Edward Witten epnnkfisikskhnaerkthiidrbrangwl pi 1998 Andrew Wiles idrbolenginprakasekiyrtikhunepnkhnaerk cakphlngankarphisucnthvsdibthsudthaykhxngaefrma thungaemwaiwlscamixayuekin 40 piintxnthiidrbrangwlaelwktam iwlstiphimphbthphisucnthvsdibthnitxnxayu 41 pi pi 2006 krikxri epherlman Grigori Perelman phuphisucnkhxkhwamkhadkarnkhxngpwngkaer ptiesththicarbrangwldngklaw pi 2014 Maryam Mirzakhani epnphuhyingkhnaerkthiidrbrangwl aela Artur Avila epnnkkhnitsastrthimacakthwipxemrikaitkhnaerkthiidrbrangwlehriyyrangwlehriyyrangwl xxkaebbaelasrangodypratimakrchawaekhnadachux danhnakhxngehriyyepnrupkhxngxarkhimidis Archimedes aelamikhxkhwamepnphasalatin wa Transire suum pectus mundoque potiri ecriyehnuxtnexngaelaekhaicolk danhlngkhxngehriyymicarukepnphasalatinwa CONGREGATI EX TOTO ORBE MATHEMATICI OB SCRIPTA INSIGNIA TRIBUERE aeplwa nkkhnitsastrphuprachumcakthwolkmxbrangwl ni sahrbnganekhiynoddedn inswnphunhlngaesdnghlumsphkhxngxarkhimidis sungslkthvsdibthkhxngekhaiw thrngklmbrrcuinthrngkrabxkthimikhwamsungaelaesnphansunyklangethakn aelamikingimxyudanhlngkhxmulephimetimxangxing Maths genius turns down top prize BBC 22 August 2006 subkhnemux 22 August 2006 Israeli wins Nobel of Mathematics JPost com 1 2 aehlngkhxmulxunewbistxyangepnthangkarkhxng rangwlehriyyfilds xngkvs bthkhwamniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmul hmayehtu khxaenanaihcdhmwdhmuokhrngihekhakbenuxhakhxngbthkhwam duephimthi wikiphiediy okhrngkarcdhmwdhmuokhrngthiyngimsmburn dkhk