เซลลูโลส (C6H10O5) n เป็นสารประกอบอินทรีย์ที่เกิดจากกลูโคสประมาณ 50,000 โมเลกุลมาเชื่อมต่อกันเป็นสายยาว แต่ละสายของสายของเซลลูโลสเรียงขนานกันไป มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างสาย ทำให้มีลักษณะเป็นเส้นใย สะสมไว้ในพืช ไม่พบในเซลล์สัตว์ เซลลูโลสไม่ละลายน้ำและร่างกายของมนุษย์ไม่สามารถย่อยสลายได้ แต่ในกระเพาะของวัว ควาย ม้า และสัตว์ที่เท้ามีกีบ มีแบคทีเรียที่สามารถย่อยสลายเซลลูโลสให้เป็นกลูโคสได้ ถึงแม้ว่าร่างกายของมนุษย์จะย่อยเซลลูโลสไม่ได้ แต่เซลลูโลสจะช่วยในการกระตุ้นลำไส้ใหญ่ให้เคลื่อนไหว เส้นใยบางชนิดสามารถดูดซับน้ำได้ดี จึงทำให้อุจจาระอ่อนนุ่ม ขับถ่ายง่าย ท้องไม่ผูก ลดโอกาสการการเกิดโรคริดสีดวงทวาร เซลลูโลสเมื่อถูกย่อยจะแตกตัวออก ให้น้ำตาลกลูโคสจำนวนมาก
อ้างอิง
- Per Stenius; Johan Gullichsen; H. Paulapuro, บ.ก. (2000). "1". Forest Products Chemistry. Papermaking Science and Technology. Vol. 3. Jyväskylä Finland: Fapet Oy. p. 35. ISBN .
แหล่งข้อมูลอื่น
- เซลลูโลส 2009-06-16 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน สถาบันนวัตกรรมการเรียนรู้ ม.มหิดล
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
eslluols C6H10O5 n epnsarprakxbxinthriythiekidcakkluokhspraman 50 000 omelkulmaechuxmtxknepnsayyaw aetlasaykhxngsaykhxngeslluolseriyngkhnanknip miaerngyudehniywrahwangsay thaihmilksnaepnesniy sasmiwinphuch imphbinesllstw eslluolsimlalaynaaelarangkaykhxngmnusyimsamarthyxyslayid aetinkraephaakhxngww khway ma aelastwthiethamikib miaebkhthieriythisamarthyxyslayeslluolsihepnkluokhsid thungaemwarangkaykhxngmnusycayxyeslluolsimid aeteslluolscachwyinkarkratunlaisihyihekhluxnihw esniybangchnidsamarthdudsbnaiddi cungthaihxuccaraxxnnum khbthayngay thxngimphuk ldoxkaskarkarekidorkhridsidwngthwar eslluolsemuxthukyxycaaetktwxxk ihnatalkluokhscanwnmaksayomelkuleslluols conformation Ia esnpraaesdng phnthaihodrecn phayinaelarahwangomelkulxangxingPer Stenius Johan Gullichsen H Paulapuro b k 2000 1 Forest Products Chemistry Papermaking Science and Technology Vol 3 Jyvaskyla Finland Fapet Oy p 35 ISBN 952 5216 03 9 aehlngkhxmulxuneslluols 2009 06 16 thi ewyaebkaemchchin sthabnnwtkrrmkareriynru m mhidlbthkhwamchiwekhmi ekhmixinthriy aelaomelkulchiwphaphniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk