สัทอักษรสากล (อังกฤษ: International Phonetic Alphabet: IPA) คือสัทอักษรชุดหนึ่งที่พัฒนาโดย โดยมุ่งหมายให้เป็นสัญกรณ์มาตรฐานสำหรับการแทนเสียงพูดในทุกภาษา ใช้สัทอักษรสากลเพื่อแทนหน่วยเสียงต่าง ๆ ที่อวัยวะออกเสียงของมนุษย์สามารถเปล่งเสียงได้ โดยแทนหน่วยเสียงแต่ละหน่วยเสียงด้วยสัญลักษณ์เฉพาะที่ไม่ซ้ำกัน สัญลักษณ์ในสัทอักษรสากลนั้นส่วนใหญ่นำมาจากหรือดัดแปลงจากอักษรโรมัน สัญลักษณ์บางตัวนำมาจากอักษรกรีก และบางตัวประดิษฐ์ขึ้นใหม่โดยไม่สัมพันธ์กับอักษรภาษาใดเลย สำหรับ ตารางสัทอักษรในภาษาไทย ดูได้ที่ ภาษาไทย
สัทอักษรสากล | |
---|---|
"IPA" ใน IPA ([aɪ pʰiː eɪ]) | |
ชนิด | อักษร บางส่วน |
ช่วงยุค | ตั้งแต่ ค.ศ.1888 |
ภาษาพูด | ใช้เป็นสัทศาสตร์และหน่วยเสียงของแต่ละภาษา |
อักษรที่เกี่ยวข้อง | |
ระบบแม่ | ,
|
ISO 15924 | |
Latn (215), Latin | |
ยูนิโคด | |
ยูนิโคดแฝง | Latin |
ประวัติ
สัทอักษรสากลเมื่อเริ่มแรกพัฒนาขึ้นโดยคณะของครูสอนภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศส ซึ่งนำโดย พร้อม ๆ กับการก่อตั้งสมาคมสัทศาสตร์สากลขึ้นในกรุงปารีสเมื่อ ค.ศ. 1886 (ทั้งสมาคมและสัทอักษรสากลใช้คำย่อในภาษาอังกฤษว่า IPA เหมือนกัน) สัทอักษรสากลรุ่นแรกอย่างเป็นทางการได้รับการตีพิมพ์ใน Passy (1888) โดยคณะผู้พัฒนาใช้อักษรโรมิก (Romic alphabet) ของ (Sweet 1880-1881, 1971) เป็นพื้นฐาน ซึ่งอักษรโรมิกนั้นก็นำรูปแบบมาจากอักษรฟอนอไทปิก (Phonotypic Alphabet) ของ และ อีกทีหนึ่ง (Kelly 1981)
หลังจากนั้น สัทอักษรสากลได้ผ่านการชำระปรับปรุงอีกหลายครั้ง โดยครั้งที่สำคัญที่สุดครั้งหนึ่งมีขึ้นในการประชุมของสมาคมฯ ที่คีลเมื่อ ค.ศ. 1989 การชำระครั้งล่าสุดมีขึ้นใน ค.ศ. 1993 และมีการปรับปรุงอีกครั้งใน ค.ศ. 1996
รายละเอียด
ในชุดสัทอักษรสากล ส่วนใหญ่ของสัญลักษณ์แทนหน่วยเสียงพยัญชนะที่มีรูปร่างเหมือนกับพยัญชนะในอักษรละตินนั้น จะมีค่าของเสียง (sound-value) สัมพันธ์กับเสียงของพยัญชนะเดียวกันในภาษายุโรปส่วนใหญ่ รวมทั้งภาษาอังกฤษด้วย สัญลักษณ์ในประเภทนี้ประกอบด้วย [p], [b], [t], [d], [k], [g], [m], [n], [f], [v], [s], [h], [z], [l] และ [w]
สัญลักษณ์แทนหน่วยเสียงสระที่มีรูปร่างเหมือนกับสระในอักษรละติน ซึ่งได้แก่ [a], [e], [i], [o], [u] จะมีค่าของเสียงสัมพันธ์กับสระเดียวกันในภาษาเยอรมัน สเปน หรืออิตาลี โดยประมาณ หรืออาจเทียบกับเสียงสระในภาษาไทยได้เป็น อะ, เอะ, อิ, โอะ และ อุ ตามลำดับ
สัญลักษณ์อื่น ๆ ที่เหลือในส่วนที่นำมาจากอักษรละตินนั้น เช่น [j], [r], [c] และ [y] จะสัมพันธ์กับเสียงของตัวอักษรเดียวกันในภาษาอื่นที่ไม่ใช่ภาษาอังกฤษ เช่น [j] มีค่าของเสียงเหมือนกับ j ในภาษาเยอรมัน สแกนดิเนเวีย หรือดัตช์ หรืออาจเทียบได้กับเสียง ย ในภาษาไทย เป็นต้น ข้อสำคัญของหลักเกณฑ์การกำหนดใช้สัทอักษรสากลคือ ใช้สัญลักษณ์เพียงตัวเดียวสำหรับหน่วยเสียงแต่ละหน่วย โดยหลีกเลี่ยงการประสมอักษรอย่างเช่น sh และ th ในการเขียนภาษาอังกฤษ
อักษรหลายตัวมาจากอักษรกรีก แต่ส่วนมากจะถูกดัดแปลง ได้แก่ ⟨ɑ⟩, ⟨ꞵ⟩, ⟨ɣ⟩, ⟨ɛ⟩, ⟨ɸ⟩, ⟨ꭓ⟩, และ ⟨ʋ⟩ ซึ่งอยู่ในยูนิโคดแยกต่างหาก ยกเว้น ⟨θ⟩
อักษรที่มีตะขอด้านขวา ⟨ʈ ɖ ɳ ɽ ʂ ʐ ɻ ɭ⟩ บอกถึงปลายลิ้นม้วน มาจากตัว r
แผนภูมิสัทอักษรสากล
บทความนี้มีสัญลักษณ์สัทอักษรสากลปรากฏอยู่ คุณอาจต้องการไทป์เฟซที่รองรับยูนิโคดเพื่อการแสดงผลที่สมบูรณ์ |
พยัญชนะ (ใช้ลมปอด)
ตำแหน่งเกิดเสียง → | |||||||||||||||||
↓ | |||||||||||||||||
นาสิก | m | n | ɳ | ɲ | ŋ | ɴ | |||||||||||
ระเบิด | p b | t d | c | k ɡ | q | ʔ | |||||||||||
ɸ β | f v | θ ð | s z | ʃ ʒ | ʂ | x ɣ | h | ||||||||||
ʋ | ɹ | ɻ | j | ɰ | |||||||||||||
r | |||||||||||||||||
ɾ | |||||||||||||||||
ɮ | |||||||||||||||||
l | |||||||||||||||||
- ในแถวที่มีสัญลักษณ์ปรากฏคู่กัน () ตัวซ้ายมือจะแทน และตัวขวามือจะแทน (ยกเว้น [ɦ] ซึ่งเป็น) อย่างไรก็ตาม เสียง [ʔ] ไม่สามารถก้องได้ และการออกเสียง [ʡ] ยังกำกวม ส่วนในแถวอื่น ๆ () สัญลักษณ์ที่อยู่เดี่ยว ๆ ก็จะแทนเช่นกัน
- ช่องที่มีเครื่องหมายดอกจันหมายถึงเสียงนั้น (ยัง) ไม่มีสัญลักษณ์สัทอักษรสากลอย่างเป็นทางการ
- ช่องสีเทาแสดงว่าการออกเสียงเช่นนั้นไม่สามารถกระทำได้
- สัญลักษณ์ [ʁ, ʕ, ʢ] แทนทั้งเสียงเสียดแทรกโฆษะและเสียงเปิดโฆษะ
- [h] และ [ɦ] ไม่ใช่เสียงเส้นเสียง เสียงเสียดแทรก หรือเสียงเปิดอย่างแท้จริง แต่เป็น (phonation) มากกว่า
พยัญชนะ (ไม่ใช้ลมปอด)
เสียงเดาะ | กักเส้นเสียงลมเข้า | กักเส้นเสียงลมออก | |||
---|---|---|---|---|---|
ʘ | ริมฝีปาก | ɓ | ริมฝีปาก | ʼ | ตัวอย่าง: |
ǀ | ฟัน | ɗ | ฟัน/ปุ่มเหงือก | pʼ | ริมฝีปาก |
ǃ | (หลัง)ปุ่มเหงือก | ʄ | เพดานแข็ง | tʼ | ฟัน/ปุ่มเหงือก |
ǂ | เพดานแข็ง | ɠ | เพดานอ่อน | kʼ | เพดานอ่อน |
ǁ | ปุ่มเหงือก เปิดข้างลิ้น | ʛ | ลิ้นไก่ | sʼ | เสียงแทรก ที่ปุ่มเหงือก |
สระ
หน้า | กลาง | หลัง | |||
---|---|---|---|---|---|
ปิด | i y | ɨ ʉ | ɯ u | ||
ɪ ʏ | - ʊ | ||||
กึ่งปิด | e ø | ɘ ɵ | ɤ o | ||
e̞ ø̞ | ə | ɤ̞ o̞ | |||
กึ่งเปิด | ɛ œ | ɜ ɞ | ʌ ɔ | ||
æ | ɐ | ||||
เปิด | a ɶ | ä - | ɑ ɒ |
ในตำแหน่งที่มีสัทธอักษรสองตัว อักษรทางขวาเป็นสระปากห่อ
ริมฝีปาก | ปุ่มเหงือก | ลิ้นปิดกล่องเสียง | ||
---|---|---|---|---|
เพดานอ่อน | เพดานแข็ง | |||
เสียดแทรก | ʍ | ɕ ʑ | ʜ ʢ | |
เปิด | w | ก้อง: ɥ | กัก: ʡ | |
ʃ กับ x พร้อมกัน: ɧ | กระดกลิ้นแบบก้องเปิดข้างลิ้น: ɺ |
หากจำเป็น สามารถบรรยายเสียงกักเสียดแทรกและเสียงร่วมฐานกรณ์ได้โดยการเขียนเส้นโยงระหว่างอักษรทั้งสองตัว t͜s k͡p
เครื่องหมายเสริม
ความเป็นพยางค์ในตัว | |||||
---|---|---|---|---|---|
◌̩ | ɹ̩ n̩ | เป็นพยางค์ | ◌̯ | ɪ̯ ʊ̯ | ไม่เป็นพยางค์ |
◌̍ | ɻ̍ ŋ̍ | ◌̑ | y̑ | ||
การปล่อยเสียง | |||||
◌ʰ | tʰ | เสียงพ่นลม | ◌̚ | p̚ | ปล่อยโดยไร้เสียง |
◌ⁿ | dⁿ | ปล่อยทางจมูก | ◌ˡ | dˡ | ปล่อยทางข้างลิ้น |
การออกเสียงก้อง | |||||
◌̥ | n̥ d̥ | เสียงไม่ก้อง | ◌̬ | s̬ t̬ | เสียงก้อง |
◌̊ | ɻ̊ ŋ̊ | ||||
◌̤ | b̤ a̤ | เสียงก้องต่ำทุ้ม | ◌̰ | b̰ a̰ | เสียงก้องเครียด |
ตำแหน่งลิ้น | |||||
◌̪ | t̪ d̪ | สัมผัสฟัน | ◌̼ | t̼ d̼ | เสียงลิ้นกับริมฝีปากบน |
◌͆ | ɮ͆ | ||||
◌̺ | t̺ d̺ | สัมผัสด้วยสุดปลายลิ้น | ◌̻ | t̻ d̻ | สัมผัสด้วยปลายลิ้น |
◌̟ | u̟ t̟ | ค่อนไปข้างหน้า | ◌̠ | i̠ t̠ | ค่อนไปข้างหลัง |
◌˖ | ɡ˖ | ◌˗ | y˗ ŋ˗ | ||
◌̈ | ë ä | ค่อนไปตรงกลาง | ◌̽ | e̽ ɯ̽ | ค่อนไปที่ศูนย์กลาง |
◌̝ | e̝ r̝ | สูงกว่าปกติ | ◌̞ | e̞ β̞ | ต่ำกว่าปกติ |
◌˔ | ɭ˔ | ◌˕ | y˕ ɣ˕ | ||
การออกเสียงร่วม | |||||
◌̹ | ɔ̹ x̹ | ห่อปากมากกว่า | ◌̜ | ɔ̜ xʷ̜ | ห่อปากน้อยกว่า |
◌͗ | y͗ χ͗ | ◌͑ | y͑ χ͑ʷ | ||
◌ʷ | tʷ dʷ | ฐานกรณ์ร่วมที่ริมฝีปาก | ◌ʲ | tʲ dʲ | ฐานกรณ์ร่วมที่เพดานแข็ง |
◌ˠ | tˠ dˠ | ฐานกรณ์ร่วมที่เพดานอ่อน | ◌̴ | ɫ ᵶ | ฐานกรณ์ร่วมที่ เพดานอ่อนหรือช่องคอ |
◌ˤ | tˤ aˤ | ฐานกรณ์ร่วมที่ช่องคอ | |||
◌̘ | e̘ o̘ | ยื่นโคนลิ้น | ◌̙ | e̙ o̙ | หดโคนลิ้น |
◌̃ | ẽ z̃ | นาสิก | ◌˞ | ɚ ɝ | ปลายลิ้นม้วนกลับ |
เสียงวรรณยุกต์
ระดับคงที่ | เปลี่ยนระดับ | ||||
---|---|---|---|---|---|
e̋ | ˥ | สูง | ě | ˩˥ | ขึ้น |
é | ˦ | ค่อนข้างสูง | ê | ˥˩ | ลง |
ē | ˧ | กลาง | ᷄e | ˧˥ | ขึ้นจากระดับสูง |
è | ˨ | ค่อนข้างต่ำ | ᷅e | ˩˧ | ขึ้นจากระดับต่ำ |
ȅ | ˩ | ต่ำ | ᷈e | ˧˦˨ | ขึ้นแล้วลง |
ꜜ | ลดระดับ | ↗ | ทำนองเสียงขึ้น | ||
ꜛ | ยกระดับ | ↘ | ทำนองเสียงลง |
สัญลักษณ์ระบุลักษณะการออกเสียง
ˈ | หลัก |
ˌ | รอง |
ː | เสียงยาว |
ˑ | เสียงกึ่งยาว |
˘ | เสียงสั้นพิเศษ |
. | แยกพยางค์ของเสียง |
| | กลุ่มย่อย (foot) |
‖ | กลุ่มหลัก (intonation) |
‿ | เสียงต่อเนื่อง |
วงเล็บเหลี่ยมและทับ
การอธิบายถึงสัทอักษรสากล ใช้เครื่องหมายปิดหน้าหลังสองรูปแบบได้แก่
- [วงเล็บเหลี่ยม] ใช้สำหรับแสดงรายละเอียดการออกเสียงเชิงสัทศาสตร์ และอาจรวมถึงรายละเอียดที่อาจไม่สามารถใช้จำแนกคำในภาษาที่กำลังทับศัพท์ ซึ่งผู้เขียนก็ยังคงต้องการแสดงรายละเอียดเช่นนั้น
- /ทับ/ ใช้สำหรับกำกับหน่วยเสียง ซึ่งแตกต่างกันเป็นเอกเทศในภาษานั้น โดยไม่มีรายละเอียดที่ไม่เกี่ยวข้องใด ๆ
ตัวอย่างเช่น หน่วยเสียง /p/ ในคำว่า pin และ spin ของภาษาอังกฤษ โดยแท้จริงออกเสียงแตกต่างกันเล็กน้อย ความแตกต่างนี้ไม่มีนัยสำคัญในภาษาอังกฤษ (แต่ก็อาจมีนัยสำคัญในภาษาอื่น) ดังนั้นการอธิบายการออกเสียงเชิงหน่วยเสียงจึงเป็น /pɪn/ และ /spɪn/ ซึ่งแสดงด้วยหน่วยเสียง /p/ เหมือนกัน อย่างไรก็ดี เพื่อให้เห็นความแตกต่างดังกล่าว (ต่าง ๆ ของ /p/) สามารถอธิบายเชิงสัทศาสตร์ได้เป็น [pʰɪn] และ [spɪn]
อ้างอิง
- Albright, Robert W. (1958). The International Phonetic Alphabet: Its background and development. International journal of American linguistics (Vol. 24, No. 1, Part 3) ; Indiana University research center in anthropology, folklore, and linguistics, publ. 7. Baltimore. (Doctoral dissertation, Standford University, 1953).
- Ball, Martin J.; Esling, John H.; & Dickson, B. Craig. (1995). The VoQS system for the transcription of voice quality. Journal of the International Phonetic Alphabet, 25 (2) , 71-80.
- Duckworth, M.; Allen, G.; Hardcastle, W.; & Ball, M. J. (1990). Extensions to the International Phonetic Alphabet for the transcription of atypical speech. Clinical Linguistics and Phonetics, 4, 273-280.
- Ellis, Alexander J. (1869-1889). On early English pronunciation (Parts 1 & 5). London: Philological Society by Asher & Co.; London: Trübner & Co.
- Hill, Kenneth C. (1988). [Review of Phonetic symbol guide by G. K. Pullum & W. Ladusaw]. Language, 64 (1) , 143-144.
- Hultzen, Lee S. (1958). [Review of The International Phonetic Alphabet: Its backgrounds and development by R. W. Albright]. Language, 34 (3) , 438-442.
- International Phonetic Association. (1989). Report on the 1989 Kiel convention. Journal of the International Phonetic Association, 19 (2) , 67-80.
- International Phonetic Association. (1999). Handbook of the International Phonetic Association: A guide to the use of the International Phonetic Alphabet. Cambridge: Cambridge University Press. (hb) ; (pb).
- Jespersen, Otto. (1889). The articulations of speech sounds represented by means of analphabetic symbols. Marburg: Elwert.
- Jones, Daniel. (1989). English pronouncing dictionary (14 ed.). London: Dent.
- Kelly, John. (1981). The 1847 alphabet: An episode of phonotypy. In R. E. Asher & E. J. A. Henderson (Eds.) , Towards a history of phonetics. Edinburgh: Edinburgh University Press.
- Kemp, J. Alan. (1994). Phonetic transcription: History. In R. E. Asher & J. M. Y. Simpson (Eds.) , The encyclopedia of language and linguistics (Vol. 6, pp. 3040-3051). Oxford: Pergamon.
- Ladefoged, Peter. (1990). The revised International Phonetic Alphabet. Language, 66 (3) , 550-552.
- Ladefoged, Peter; & Halle, Morris. (1988). Some major features of the International Phonetic Alphabet. Language, 64 (3) , 577-582.
- MacMahon, Michael K. C. (1996). Phonetic notation. In P. T. Daniels & W. Bright (Ed.) , The world's writing systems (pp. 821-846). New York: Oxford University Press. .
- Passy, Paul. (1888). Our revised alphabet. The Phonetic Teacher, 57-60.
- Pike, Kenneth L. (1943). Phonetics: A critical analysis of phonetic theory and a technic for the practical description of sounds. Ann Arbor: University of Michigan Press.
- Pullum, Geoffrey K.; & Laduslaw, William A. (1986). Phonetic symbol guide. Chicago: University of Chicago Press. .
- Sweet, Henry. (1880-1881). Sound notation. Transactions of the Philological Society, 177-235.
- Sweet, Henry. (1971). The indispensible foundation: A selection from the writings of Henry Sweet. Henderson, Eugénie J. A. (Ed.). Language and language learning 28. London: Oxford University Press.
- Wells, John C. (1987). Computer-coded phonetic transcription. Journal of the International Phonetic Association, 17, 94-114.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
ewbyxIPA sthxksrsakl xngkvs International Phonetic Alphabet IPA khuxsthxksrchudhnungthiphthnaody odymunghmayihepnsykrnmatrthansahrbkaraethnesiyngphudinthukphasa ichsthxksrsaklephuxaethnhnwyesiyngtang thixwywaxxkesiyngkhxngmnusysamartheplngesiyngid odyaethnhnwyesiyngaetlahnwyesiyngdwysylksnechphaathiimsakn sylksninsthxksrsaklnnswnihynamacakhruxddaeplngcakxksrormn sylksnbangtwnamacakxksrkrik aelabangtwpradisthkhunihmodyimsmphnthkbxksrphasaidely sahrb tarangsthxksrinphasaithy duidthi phasaithysthxksrsakl IPA in IPA aɪ pʰiː eɪ chnidxksr bangswnchwngyukhtngaet kh s 1888phasaphudichepnsthsastraelahnwyesiyngkhxngaetlaphasaxksrthiekiywkhxngrabbaem sthxksrsaklISO 15924Latn 215 LatinyuniokhdyuniokhdaefngLatinbthkhwamnimisthsastr sylksn hakimmikarsnbsnunernedxrthiehmaasm khunxacehnekhruxnghmaykhatham klxnghruxsylksnxunaethnsthsastr sylksn tarangsthxksrsaklrun kh s 2020prawtisthxksrsaklemuxerimaerkphthnakhunodykhnakhxngkhrusxnphasaxngkvsaelaphasafrngess sungnaody phrxm kbkarkxtngsmakhmsthsastrsaklkhuninkrungparisemux kh s 1886 thngsmakhmaelasthxksrsaklichkhayxinphasaxngkvswa IPA ehmuxnkn sthxksrsaklrunaerkxyangepnthangkaridrbkartiphimphin Passy 1888 odykhnaphuphthnaichxksrormik Romic alphabet khxng Sweet 1880 1881 1971 epnphunthan sungxksrormiknnknarupaebbmacakxksrfxnxithpik Phonotypic Alphabet khxng aela xikthihnung Kelly 1981 hlngcaknn sthxksrsaklidphankarcharaprbprungxikhlaykhrng odykhrngthisakhythisudkhrnghnungmikhuninkarprachumkhxngsmakhm thikhilemux kh s 1989 karcharakhrnglasudmikhunin kh s 1993 aelamikarprbprungxikkhrngin kh s 1996raylaexiydinchudsthxksrsakl swnihykhxngsylksnaethnhnwyesiyngphyychnathimiruprangehmuxnkbphyychnainxksrlatinnn camikhakhxngesiyng sound value smphnthkbesiyngkhxngphyychnaediywkninphasayuorpswnihy rwmthngphasaxngkvsdwy sylksninpraephthniprakxbdwy p b t d k g m n f v s h z l aela w sylksnaethnhnwyesiyngsrathimiruprangehmuxnkbsrainxksrlatin sungidaek a e i o u camikhakhxngesiyngsmphnthkbsraediywkninphasaeyxrmn sepn hruxxitali odypraman hruxxacethiybkbesiyngsrainphasaithyidepn xa exa xi oxa aela xu tamladb sylksnxun thiehluxinswnthinamacakxksrlatinnn echn j r c aela y casmphnthkbesiyngkhxngtwxksrediywkninphasaxunthiimichphasaxngkvs echn j mikhakhxngesiyngehmuxnkb j inphasaeyxrmn saekndienewiy hruxdtch hruxxacethiybidkbesiyng y inphasaithy epntn khxsakhykhxnghlkeknthkarkahndichsthxksrsaklkhux ichsylksnephiyngtwediywsahrbhnwyesiyngaetlahnwy odyhlikeliyngkarprasmxksrxyangechn sh aela th inkarekhiynphasaxngkvs xksrhlaytwmacakxksrkrik aetswnmakcathukddaeplng idaek ɑ ɣ ɛ ɸ ꭓ aela ʋ sungxyuinyuniokhdaeyktanghak ykewn 8 xksrthimitakhxdankhwa ʈ ɖ ɳ ɽ ʂ ʐ ɻ ɭ bxkthungplaylinmwn macaktw raephnphumisthxksrsaklbthkhwamnimisylksnsthxksrsaklpraktxyu khunxactxngkarithpefsthirxngrbyuniokhdephuxkaraesdngphlthismburnphyychna ichlmpxd taaehnngekidesiyng nasik m n ɳ ɲ ŋ ɴ raebid p b t d c k ɡ q ʔ ɸ b f v 8 d s z ʃ ʒ ʂ x ɣ h ʋ ɹ ɻ j ɰ r ɾ ɮ l inaethwthimisylksnpraktkhukn twsaymuxcaaethn aelatwkhwamuxcaaethn ykewn ɦ sungepn xyangirktam esiyng ʔ imsamarthkxngid aelakarxxkesiyng ʡ yngkakwm swninaethwxun sylksnthixyuediyw kcaaethnechnkn chxngthimiekhruxnghmaydxkcnhmaythungesiyngnn yng immisylksnsthxksrsaklxyangepnthangkar chxngsiethaaesdngwakarxxkesiyngechnnnimsamarthkrathaid sylksn ʁ ʕ ʢ aethnthngesiyngesiydaethrkokhsaaelaesiyngepidokhsa h aela ɦ imichesiyngesnesiyng esiyngesiydaethrk hruxesiyngepidxyangaethcring aetepn phonation makkwaphyychna imichlmpxd esiyngedaa kkesnesiynglmekha kkesnesiynglmxxkʘ rimfipak ɓ rimfipak ʼ twxyang ǀ fn ɗ fn pumehnguxk pʼ rimfipakǃ hlng pumehnguxk ʄ ephdanaekhng tʼ fn pumehnguxkǂ ephdanaekhng ɠ ephdanxxn kʼ ephdanxxnǁ pumehnguxk epidkhanglin ʛ linik sʼ esiyngaethrk thipumehnguxksra taaehnnglininkarxxkesiyngsrahna klang hlngpid i y ɨ ʉ ɯ uɪ ʏ ʊkungpid e o ɘ ɵ ɤ oe o e ɤ o kungepid ɛ œ ɜ ɞ ʌ ɔae ɐepid a ɶ a ɑ ɒ intaaehnngthimisththxksrsxngtw xksrthangkhwaepnsrapakhx sylksnxun rimfipak pumehnguxk linpidklxngesiyngephdanxxn ephdanaekhngesiydaethrk ʍ ɕ ʑ ʜ ʢepid w kxng ɥ kk ʡʃ kb x phrxmkn ɧ kradklinaebbkxngepidkhanglin ɺ hakcaepn samarthbrryayesiyngkkesiydaethrkaelaesiyngrwmthankrnidodykarekhiynesnoyngrahwangxksrthngsxngtw t s k pekhruxnghmayesrimkhwamepnphyangkhintw ɹ n epnphyangkh ɪ ʊ imepnphyangkh ɻ ŋ y karplxyesiyng ʰ tʰ esiyngphnlm p plxyodyiresiyng ⁿ dⁿ plxythangcmuk ˡ dˡ plxythangkhanglinkarxxkesiyngkxng n d esiyngimkxng s t esiyngkxng ɻ ŋ b a esiyngkxngtathum b a esiyngkxngekhriydtaaehnnglin t d smphsfn t d esiynglinkbrimfipakbn ɮ t d smphsdwysudplaylin t d smphsdwyplaylin u t khxnipkhanghna i t khxnipkhanghlng ɡ y ŋ e a khxniptrngklang e ɯ khxnipthisunyklang e r sungkwapkti e b takwapkti ɭ y ɣ karxxkesiyngrwm ɔ x hxpakmakkwa ɔ xʷ hxpaknxykwa y x y x ʷ ʷ tʷ dʷ thankrnrwmthirimfipak ʲ tʲ dʲ thankrnrwmthiephdanaekhng ˠ tˠ dˠ thankrnrwmthiephdanxxn ɫ ᵶ thankrnrwmthi ephdanxxnhruxchxngkhx ˤ tˤ aˤ thankrnrwmthichxngkhx e o yunokhnlin e o hdokhnlin ẽ z nasik ɚ ɝ playlinmwnklbesiyngwrrnyukt radbkhngthi epliynradbe sung e khune khxnkhangsung e lnge klang e khuncakradbsunge khxnkhangta e khuncakradbtaȅ ta e khunaelwlngꜜ ldradb thanxngesiyngkhunꜛ ykradb thanxngesiynglngsylksnrabulksnakarxxkesiyngˈ hlkˌ rxngː esiyngyawˑ esiyngkungyaw esiyngsnphiess aeykphyangkhkhxngesiyng klumyxy foot klumhlk intonation esiyngtxenuxngwngelbehliymaelathbkarxthibaythungsthxksrsakl ichekhruxnghmaypidhnahlngsxngrupaebbidaek wngelbehliym ichsahrbaesdngraylaexiydkarxxkesiyngechingsthsastr aelaxacrwmthungraylaexiydthixacimsamarthichcaaenkkhainphasathikalngthbsphth sungphuekhiynkyngkhngtxngkaraesdngraylaexiydechnnn thb ichsahrbkakbhnwyesiyng sungaetktangknepnexkethsinphasann odyimmiraylaexiydthiimekiywkhxngid twxyangechn hnwyesiyng p inkhawa pin aela spin khxngphasaxngkvs odyaethcringxxkesiyngaetktangknelknxy khwamaetktangniimminysakhyinphasaxngkvs aetkxacminysakhyinphasaxun dngnnkarxthibaykarxxkesiyngechinghnwyesiyngcungepn pɪn aela spɪn sungaesdngdwyhnwyesiyng p ehmuxnkn xyangirkdi ephuxihehnkhwamaetktangdngklaw tang khxng p samarthxthibayechingsthsastridepn pʰɪn aela spɪn xangxingAlbright Robert W 1958 The International Phonetic Alphabet Its background and development International journal of American linguistics Vol 24 No 1 Part 3 Indiana University research center in anthropology folklore and linguistics publ 7 Baltimore Doctoral dissertation Standford University 1953 Ball Martin J Esling John H amp Dickson B Craig 1995 The VoQS system for the transcription of voice quality Journal of the International Phonetic Alphabet 25 2 71 80 Duckworth M Allen G Hardcastle W amp Ball M J 1990 Extensions to the International Phonetic Alphabet for the transcription of atypical speech Clinical Linguistics and Phonetics 4 273 280 Ellis Alexander J 1869 1889 On early English pronunciation Parts 1 amp 5 London Philological Society by Asher amp Co London Trubner amp Co Hill Kenneth C 1988 Review of Phonetic symbol guide by G K Pullum amp W Ladusaw Language 64 1 143 144 Hultzen Lee S 1958 Review of The International Phonetic Alphabet Its backgrounds and development by R W Albright Language 34 3 438 442 International Phonetic Association 1989 Report on the 1989 Kiel convention Journal of the International Phonetic Association 19 2 67 80 International Phonetic Association 1999 Handbook of the International Phonetic Association A guide to the use of the International Phonetic Alphabet Cambridge Cambridge University Press ISBN 0 521 65236 7 hb ISBN 0 521 63751 1 pb Jespersen Otto 1889 The articulations of speech sounds represented by means of analphabetic symbols Marburg Elwert Jones Daniel 1989 English pronouncing dictionary 14 ed London Dent Kelly John 1981 The 1847 alphabet An episode of phonotypy In R E Asher amp E J A Henderson Eds Towards a history of phonetics Edinburgh Edinburgh University Press Kemp J Alan 1994 Phonetic transcription History In R E Asher amp J M Y Simpson Eds The encyclopedia of language and linguistics Vol 6 pp 3040 3051 Oxford Pergamon Ladefoged Peter 1990 The revised International Phonetic Alphabet Language 66 3 550 552 Ladefoged Peter amp Halle Morris 1988 Some major features of the International Phonetic Alphabet Language 64 3 577 582 MacMahon Michael K C 1996 Phonetic notation In P T Daniels amp W Bright Ed The world s writing systems pp 821 846 New York Oxford University Press ISBN 0 19 507993 0 Passy Paul 1888 Our revised alphabet The Phonetic Teacher 57 60 Pike Kenneth L 1943 Phonetics A critical analysis of phonetic theory and a technic for the practical description of sounds Ann Arbor University of Michigan Press Pullum Geoffrey K amp Laduslaw William A 1986 Phonetic symbol guide Chicago University of Chicago Press ISBN 0 226 68532 2 Sweet Henry 1880 1881 Sound notation Transactions of the Philological Society 177 235 Sweet Henry 1971 The indispensible foundation A selection from the writings of Henry Sweet Henderson Eugenie J A Ed Language and language learning 28 London Oxford University Press Wells John C 1987 Computer coded phonetic transcription Journal of the International Phonetic Association 17 94 114