ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
วิลเฮ็ล์ม ค็อนราท เรินท์เกิน (เยอรมัน: Wilhelm Conrad Röntgen) เป็นนักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน ประจำมหาวิทยาลัยเวือทซ์บวร์ค ผู้ค้นพบและสร้างรังสีแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความยาวคลื่นขนาดที่รู้จักในปัจจุบันว่า รังสีเอกซ์ (X-rays) หรือรังสีเรินท์เกิน เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 1895 ความสำเร็จที่ทำให้เรินท์เกินได้รับรางวัลโนเบลรางวัลแรก เมื่อ พ.ศ. 2444
วิลเฮ็ล์ม ค็อนราท เรินท์เกิน Wilhelm Conrad Röntgen | |
---|---|
เกิด | วิลเฮ็ล์ม ค็อนราท เรินท์เกิน 27 มีนาคม ค.ศ. 1845 ราชอาณาจักรปรัสเซีย, สมาพันธรัฐเยอรมัน |
เสียชีวิต | 10 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1923 มิวนิก สาธารณรัฐไวมาร์ | (77 ปี)
สัญชาติ | เยอรมัน |
ศิษย์เก่า | |
มีชื่อเสียงจาก | ผู้ค้นพบรังสีเอ็กซ์ |
รางวัล | (1896) (1896) (1897) (1900) รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ (1901) |
อาชีพทางวิทยาศาสตร์ | |
สาขา | ฟิสิกส์ ดาราศาสตร์รังสีเอ็กซ์ |
สถาบันที่ทำงาน | |
อาจารย์ที่ปรึกษาในระดับปริญญาเอก | |
ลูกศิษย์ในระดับปริญญาเอก | |
ลูกศิษย์ที่มีชื่อเสียงอื่น ๆ | |
ลายมือชื่อ | |
เรินท์เกิน ที่สะกดในภาษาเยอรมันว่า "Röntgen" มักสะกดเป็นภาษาอังกฤษโดยทั่วไปว่า "Roentgen" ดังนั้น ในเอกสารวิชาการและการแพทย์เกือบทั้งหมดจึงใช้คำสะกดว่า "Roentgen"
ชีวิตในวัยเยาว์และการศึกษา
เรินท์เกิน เกิดที่เมืองเล็นเน็พ ปัจจุบันอยู่ในแคว้นเร็มส์ไชด์ ประเทศเยอรมนี บิดามารดาเป็นช่างตัดเย็บเส้อผ้า ต่อมาได้ย้ายครอบครัวไปตั้งรกรากที่เอเปลดูร์น ประเทศเนเธอร์แลนด์ เมื่อเรินท์เกินอายุได้ 3 ขวบ เรินท์เกินได้รับการศึกษาขั้นต้นที่สถาบันแห่งมาร์ตินุส เฮอร์มัน ฟาน เดอร์ดูร์น ต่อมาได้เข้าเรียนในสถาบันเทคนิคอูเทรชต์ ที่ซึ่งเขาถูกไล่ออกจากสถาบันเนื่องจากถูกกล่าวหาว่าเขียนภาพล้ออาจารย์คนหนึ่ง ซึ่งเรินท์เกินไม่เคยยอมรับว่าเป็นผู้เขียน
ในค.ศ. 1865 เรินท์เกินพยายามสมัครเข้าเรียนที่โดยไม่มีเอกสารหลักฐานที่จำเป็นสำหรับนักศึกษาปกติแต่ไม่ได้รับการรับเข้าเรียน ต่อมาเรินท์เกินทราบว่าที่สถาบันสารพัดช่างในซือริช (ปัจจุบันคือสถาบันเทคโนโลยีแห่งสหพันธ์สวิส ซือริช ที่มีชื่อเสียง) รับนักศึกษากรณีนี้เข้าเรียนได้โดยการสอบ เขาจึงเริ่มการศึกษาระดับมหาวิทยาลัยสาขาวิศวกรรมเครื่องกล ในปี 1878 เรินท์เกินจบการศึกษาระดับปริญญาเอกจากแห่งนี้
การทำงาน
ในปี 1867 เรินท์เกินเข้าทำงานเป็นอาจารย์ที่มหาวิทยาลัยสตราสบวร์ก และในปี 1871 ได้เป็นศาสตราจารย์ในสถาบันเกษตรศาสตร์ที่ฮอเฮนไฮม์ เวิร์ทเตมเบิร์ก เรินท์เกินได้กลับไปเป็นศาสตราจารย์สาขาวิชาฟิสิกส์ที่มหาวิทยาลัยสตราสบวร์กอีกครั้งหนึ่งเมื่อ 1876 และในปี 1879 เรินท์เกินได้รับการแต่งตั้งเป็นหัวหน้าภาควิชาฟิสิกส์ที่มหาวิทยาลัยไกส์เซน ต่อในปี 1888 ย้ายไปรับตำแหน่งหัวหน้าภาควิชาฟิสิกส์ที่มหาวิทยาลัยเวิร์ซเบิร์ก และอีกครั้งที่มหาวิทยาลัยมิวนิกในปี 1900 โดยคำขอของรัฐบาลบาวาเรีย
เรินท์เกินมีครอบครัวอยู่ในประเทศสหรัฐ ที่รัฐโอไฮโอ ครั้งหนึ่งเขาเคยคิดที่จะย้ายไปตั้งรกรากที่นั่น เรินท์เกินได้ยอมรับการแต่งตั้งที่มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย ในนิวยอร์ก และได้ซื้อตั๋วเรือไว้แล้ว แต่การระเบิดของสงครามโลกครั้งที่ 1 ทำให้แผนการนี้เปลี่ยนไป เรินท์เกินตกลงอยู่ในมิวนิกต่อไปและได้ทำงานที่นี่ไปตลอดชีวิต เรินท์เกินถึงแก่กรรมเมื่อปี 1913 จากโรคมะเร็งเยื่อบุช่องท้อง มีการพูดกันว่าเรินท์เกินเสียชีวิตจากการได้รับรังสีเอกซ์เรย์ แต่ส่วนใหญ่ไม่เชื่อว่าการเกิดโรคมะเร็งนี้เป็นผลมาจากการรับรังสีเอกซ์เรย์ ทั้งนี้เนื่องจากการค้นคว้าวิจัยในส่วนที่เรินท์เกินต้องเกี่ยวข้องกับรังสีโดยตรงและมากมีช่วงเวลาสั้น และเรินท์เกินเองยังเป็นนักวิทยาศาสตร์คนแรก ๆ ที่เป็นผู้นำในการใช้ตะกั่วเป็นโล่ป้องกันอย่างสม่ำเสมอ
การค้นพบเอกซ์เรย์
ในช่วงปี 1895 เรินท์เกินได้ใช้อุปกรณ์ที่พัฒนาโดยเพื่อนร่วมงานผู้มีชื่อเสียงคือ อีวาน พัลยูอิ (Ivan Palyui) นำมาให้ คือหลอดไฟที่เรียกว่า "หลอดพัลยูอิ" ซึ่งเรินท์เกินพร้อมกับผู้ร่วมงานคนอื่น ๆ ได้แก่ ไฮน์ริช แฮทซ์, , นิโคลา เทสลา และ ต่างทำการทดลองและทดสอบผลกระทบของการปล่อยประจุไฟฟ้าแรงดึงสูงในหลอดแก้วสุญญากาศนี้ จนถึงปลายปี 1965 บรรดานักค้นคว้าเหล่านี้จึงได้เริ่มทดลองค้นคว้าหาคุณสมบัติของรังสีแคโทดข้างนอกหลอด ในต้นเดือนพฤศจิกายน เรินท์เกินได้ทดลองซ้ำโดยใช้หลอดของเลนาร์ดโดยทำช่องหน้าต่างด้วยอะลูมิเนียมบาง ๆ เพื่อให้รังสีผ่านออกและใช้กระดาษแข็งปิดทับเพื่อป้องกันไม่ให้แผ่นอะลูมิเนียมเสียหายจากไฟฟ้าสถิตย์กำลังแรงที่จะเป็นในการสร้างรังสีแคโทด เรินท์เกินรู้ว่ากระดาษแข็งจะช่วยป้องกันไม่ให้แสงหนีออก แต่เขาได้สังเกตเป็นว่ากระดาษแข็งที่ทาด้วยแบเรียม ปลาติโนไซยาไนด์ (barium platinocyanide) ที่อยู่ใกล้ขอบช่องอะลูมิเนียมเกิดการเรืองแสง เรินท์เกินพบว่าหลอดของครูกส์ที่มีผนังหลอดหนาก็อาจเกิดการเรืองแสงในลักษณะเช่นนี้ได้
ในบ่ายวันที่ 8 พฤศจิกายน 1895 เรินท์เกินตั้งใจแน่วแน่ว่าจะทดสอบความคิดนี้ เขาได้บรรจงทำแผ่นกระดาษแข็งอย่างระมัดระวังให้เหมือนกับที่ใช้กับหลอดของเลนาร์ด โดยปิดหลอดฮิททอร์ฟ-ครูกส์ด้วยกระดาษแข็งแล้วต่อขั้วจากของรุห์มคอร์ฟเพื่อสร้างประจุไฟฟ้าสถิตย์ แต่ก่อนที่เรินท์เกินจะตั้งจอที่ทาด้วยแบเรียมปลาติโนไซยาไนด์เพื่อทดสอบความคิด เขาได้ปิดม่านปิดไฟให้ห้องมืดลงเพื่อดูว่าแผ่นกระดาษแข็งปิดแสงได้มิดหรือไม่ ในขณะที่ปล่อยกระแสจากขดลวดเหนี่ยวนำขยับกระดาษแข็งให้แน่นแล้วหันไปเตรียมการขั้นถัดไป เรินท์เกินได้พบว่า ณ จุดนี้เองที่เกิดมีแสงเรือง ๆ ขนาดอ่อน ๆ ปรากฏที่ปลายโต๊ะที่ห่างออกไป 1 เมตร เพื่อให้แน่ใจ เรินท์เกินได้ปล่อยกระแสจากขดลวดเหนี่ยวนำอีกหลายครั้ง แสงเรือง ๆ ก็ยังเกิดขึ้นเหมือนเดิม เขาจุดไม้ขีดไฟดูจึงได้เห็นสิ่งที่อยู่ปลายโต๊ะนั้นแท้จริงก็คือแผ่นกระดาษแข็งทาสารแบเรียมฯ ที่เตรียมไว้สำหรับการทดลองขั้นต่อไปนั่นเอง
เรินท์เกินคาดเดาว่าสิ่งนี้อาจเกิดจากแสงชนิดใหม่ก็ได้ วันที่ 8 พฤศจิกายน เป็นวันศุกร์ เขาจึงถือโอกาสใช้วันหยุดสุดสัปดาห์ทำการทดลองซ้ำและทำการบันทึกครั้งแรกไว้ ในหลายสัปดาห์ต่อมา เรินท์เกินกินและนอนในห้องทดลองเพื่อทดสอบคุณสมบัติต่าง ๆ ของแสงชนิดใหม่ที่ยังไม่รู้ว่าเป็นอะไร เขาจึงเรียกชื่อลำลองไปก่อนว่า "รังสี X" เนื่องจากต้องใช้สูตรคณิตศาสตร์กับสิ่งที่ยังไม่รู้จักมาก่อน แม้ว่าจะมีผู้เรียกชื่อรังสีนี้ว่า "รังสีเรินท์เกิน" เพื่อเป็นเกียรติ แต่ตัวเรินท์เกินเองกลับจงใจใช้ชื่อว่า "รังสีเอกซ์" เรื่อยมา
การค้นพบรังสีเอกซ์ของเรินท์เกินไม่ใช่อุบัติเหตุ หรือจากการทำงานตามลำพัง ในการเสาะแสวงหาคำตอบ เรินท์เกินและผู้คิดค้นในงานประเภทนี้ในหลายประเทศก็ได้ช่วยกันทำอยู่ การค้นพบเป็นสิ่งที่จะต้องเกิดอย่างเห็น ๆ กันอยู่แล้ว ความจริงแล้ว รังสีเอกซ์ได้ถูกสร้างขึ้นและเกิดรูปในฟิล์มแล้วที่มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย 2 ปีก่อนหน้านั้น เพียงแต่ว่าคนที่ทดลองทำไม่ได้ตระหนักว่าตนเองได้ค้นพบสิ่งที่ยิ่งใหญ่เข้าแล้ว จึงเก็บฟิล์มเข้าแฟ้มสำหรับใช้อ้างอิงในการทดลองอื่น ๆ ในอนาคต ทำให้พลาดในการได้ชื่อว่าตนเป็นผู้ค้นพบสิ่งสำคัญที่สุดทางฟิสิกส์
ณ จุดหนึ่ง ในขณะที่กำลังทดลองขีดความสามารถของวัสดุต่าง ๆ ในการปิดกั้นรังสี เรินท์เกินได้เอาแผ่นตะกั่วชิ้นเล็ก ๆ วางขวางทางรังสีได้สังเกตเห็นภาพลางของโครงกระดูกตัวเองปรากฏบนแผ่นจอแบเรียมฯ ซึ่งเขาได้เขียนรายงานในเวลาต่อมาว่า ตรงจุดนี้เองที่ตนเองตัดสินใจรักษาการทดลองไว้เป็นความลับด้วยเกรงว่าการทดลองนี้อาจเกิดจากคลาดเคลื่อนหรือความผิดพลาด
บทความรายงานชิ้นแรกของเรินท์เกิน คือ "ว่าด้วยสิ่งใหม่ของรังสีเอกซ์" (On A New Kind Of X-Rays) ตีพิมพ์ใน 50 วันต่อมาคือวันที่ 28 ธันวาคม 1895 และในวันที่ 5 มกราคม 1896 หนังสือพิมพ์ของประเทศออสเตรียได้รายงานการค้นพบรังสีชนิดใหม่ของเรินท์เกิน เรินท์เกินได้รับปริญญาเอกกิตติมศักดิ์สาขาการแพทย์จากมหาวิทยาลัยเวิร์ซเบิร์กหลังการค้นพบครั้งนี้ เรินท์เกินได้ตีพิมพ์บทความเกี่ยวกับรังสีเอกซ์รวม 3 เรื่อง ระหว่างปี 1895 - 1897 ข้อสรุปทั้งหมดของเรินท์เกินได้รับการพิสูจน์ว่าถูกต้องทั้งหมด เรินท์เกินได้รับการยกย่องเป็นบิดาแห่งการวินิจฉัยทางรังสีวิทยา เป็นสาขาเชี่ยวชาญเฉพาะที่ใช้ภาพวินิจฉัยโรค
ในปี 1901 เรินท์เกินได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ซึ่งเป็นรางวัลแรกสุด รางวัลนี้ให้อย่างเป็นทางการเพื่อ "เป็นการรับรู้และยกย่องในความวิริยอุตสาหะที่เขาได้ค้นพบรังสีที่มีความสำคัญและได้รับการตั้งชื่อตามเขานี้" เรินท์เกินได้บริจาครางวัลทีได้รับให้แก่มหาวิทยาลัยที่เขาสังกัด และได้ทำเช่นเดียวกับที่ ปีแยร์ กูว์รี ได้ทำบ้างในหลายปีต่อมา คือการปฏิเสธไม่ถือลิขสิทธิ์ในสิ่งประดิษฐ์ต่าง ๆ ที่สืบเนื่องมาจากผลงานที่เขาค้นพบด้วยเหตุผลทางจริยธรรม เรินท์เกินไม่ยอมแม้แต่จะให้ใช้ชื่อเขาเรียงรังสีที่เขาเป็นผู้ค้นพบ อย่างไรก็ดี ในปี 2004 IUPAC ได้ตั้งชื่อธาตุใหม่ว่า "" (Roentgenium) เพื่อเป็นเกียรติแก่เรินท์เกิน
รางวัลทีได้รับ
- รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ (พ.ศ. 2444)
- (พ.ศ. 2439)
- (พ.ศ. 2439)
ดูเพิ่ม
- Heinrich Rudolf Hertz
อ้างอิง
- Biography at the official Nobel site 2008-08-30 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Wilhelm Conrad Röntgen 2008-12-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- The New Marvel in Photography, an article on and interview with Röntgen, in McClure's magazine, Vol. 6, No. 5, April, 1896, from Project Gutenberg
- Annotated bibliography for Wilhelm Rontgen from the Alsos Digital Library[]
- The Cathode Ray Tube site 2008-11-13 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- First X-ray Photogram
- Academic Oncology & Radiobiology Research NetworkAn NCRI initiative to revitalise radiotherapy research in the UK, launched an interactive research database to mark the birthday of Wilhelm Röntgen in February 2006
- อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อhistoriek
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisud wilehlm khxnrath erinthekin eyxrmn Wilhelm Conrad Rontgen epnnkfisikschaweyxrmn pracamhawithyalyewuxthsbwrkh phukhnphbaelasrangrngsiaemehlkiffathimikhwamyawkhlunkhnadthiruckinpccubnwa rngsiexks X rays hruxrngsierinthekin emuxwnthi 8 phvscikayn 1895 khwamsaercthithaiherinthekinidrbrangwloneblrangwlaerk emux ph s 2444wilehlm khxnrath erinthekin Wilhelm Conrad Rontgenekidwilehlm khxnrath erinthekin 27 minakhm kh s 1845 1845 03 27 rachxanackrprsesiy smaphnthrtheyxrmnesiychiwit10 kumphaphnth kh s 1923 1923 02 10 77 pi miwnik satharnrthiwmarsychatieyxrmnsisyekasthabnethkhonolyiaehngshphnthswis suxrichmichuxesiyngcakphukhnphbrngsiexksrangwl 1896 1896 1897 1900 rangwloneblsakhafisiks 1901 xachiphthangwithyasastrsakhafisiks darasastrrngsiexkssthabnthithanganmhawithyalysthrasbur mhawithyalyewuxthsbwrkh mhawithyalyluthwich mkhsimilixanaehngmiwnikxacarythipruksainradbpriyyaexkluksisyinradbpriyyaexkluksisythimichuxesiyngxun laymuxchux erinthekin thisakdinphasaeyxrmnwa Rontgen mksakdepnphasaxngkvsodythwipwa Roentgen dngnn inexksarwichakaraelakaraephthyekuxbthnghmdcungichkhasakdwa Roentgen chiwitinwyeyawaelakarsuksaerinthekin ekidthiemuxngelnenph pccubnxyuinaekhwnermsichd praethseyxrmni bidamardaepnchangtdeybesxpha txmaidyaykhrxbkhrwiptngrkrakthiexepldurn praethsenethxraelnd emuxerinthekinxayuid 3 khwb erinthekinidrbkarsuksakhntnthisthabnaehngmartinus ehxrmn fan edxrdurn txmaidekhaeriyninsthabnethkhnikhxuethrcht thisungekhathukilxxkcaksthabnenuxngcakthukklawhawaekhiynphaphlxxacarykhnhnung sungerinthekinimekhyyxmrbwaepnphuekhiyn inkh s 1865 erinthekinphyayamsmkhrekhaeriynthiodyimmiexksarhlkthanthicaepnsahrbnksuksapktiaetimidrbkarrbekhaeriyn txmaerinthekinthrabwathisthabnsarphdchanginsuxrich pccubnkhuxsthabnethkhonolyiaehngshphnthswis suxrich thimichuxesiyng rbnksuksakrniniekhaeriynidodykarsxb ekhacungerimkarsuksaradbmhawithyalysakhawiswkrrmekhruxngkl inpi 1878 erinthekincbkarsuksaradbpriyyaexkcakaehngnikarthanganinpi 1867 erinthekinekhathanganepnxacarythimhawithyalystrasbwrk aelainpi 1871 idepnsastracaryinsthabnekstrsastrthihxehnihm ewirthetmebirk erinthekinidklbipepnsastracarysakhawichafisiksthimhawithyalystrasbwrkxikkhrnghnungemux 1876 aelainpi 1879 erinthekinidrbkaraetngtngepnhwhnaphakhwichafisiksthimhawithyalyiksesn txinpi 1888 yayiprbtaaehnnghwhnaphakhwichafisiksthimhawithyalyewirsebirk aelaxikkhrngthimhawithyalymiwnikinpi 1900 odykhakhxkhxngrthbalbawaeriy erinthekinmikhrxbkhrwxyuinpraethsshrth thirthoxihox khrnghnungekhaekhykhidthicayayiptngrkrakthinn erinthekinidyxmrbkaraetngtngthimhawithyalyokhlmebiy inniwyxrk aelaidsuxtweruxiwaelw aetkarraebidkhxngsngkhramolkkhrngthi 1 thaihaephnkarniepliynip erinthekintklngxyuinmiwniktxipaelaidthanganthiniiptlxdchiwit erinthekinthungaekkrrmemuxpi 1913 cakorkhmaerngeyuxbuchxngthxng mikarphudknwaerinthekinesiychiwitcakkaridrbrngsiexksery aetswnihyimechuxwakarekidorkhmaerngniepnphlmacakkarrbrngsiexksery thngnienuxngcakkarkhnkhwawicyinswnthierinthekintxngekiywkhxngkbrngsiodytrngaelamakmichwngewlasn aelaerinthekinexngyngepnnkwithyasastrkhnaerk thiepnphunainkarichtakwepnolpxngknxyangsmaesmxkarkhnphbexkseryinchwngpi 1895 erinthekinidichxupkrnthiphthnaodyephuxnrwmnganphumichuxesiyngkhux xiwan phlyuxi Ivan Palyui namaih khuxhlxdifthieriykwa hlxdphlyuxi sungerinthekinphrxmkbphurwmngankhnxun idaek ihnrich aehths niokhla ethsla aela tangthakarthdlxngaelathdsxbphlkrathbkhxngkarplxypracuiffaaerngdungsunginhlxdaekwsuyyakasni cnthungplaypi 1965 brrdankkhnkhwaehlanicungiderimthdlxngkhnkhwahakhunsmbtikhxngrngsiaekhothdkhangnxkhlxd intneduxnphvscikayn erinthekinidthdlxngsaodyichhlxdkhxngelnardodythachxnghnatangdwyxalumieniymbang ephuxihrngsiphanxxkaelaichkradasaekhngpidthbephuxpxngknimihaephnxalumieniymesiyhaycakiffasthitykalngaerngthicaepninkarsrangrngsiaekhothd erinthekinruwakradasaekhngcachwypxngknimihaesnghnixxk aetekhaidsngektepnwakradasaekhngthithadwyaeberiym plationisyaind barium platinocyanide thixyuiklkhxbchxngxalumieniymekidkareruxngaesng erinthekinphbwahlxdkhxngkhruksthimiphnnghlxdhnakxacekidkareruxngaesnginlksnaechnniid inbaywnthi 8 phvscikayn 1895 erinthekintngicaenwaenwacathdsxbkhwamkhidni ekhaidbrrcngthaaephnkradasaekhngxyangramdrawngihehmuxnkbthiichkbhlxdkhxngelnard odypidhlxdhiththxrf khruksdwykradasaekhngaelwtxkhwcakkhxngruhmkhxrfephuxsrangpracuiffasthity aetkxnthierinthekincatngcxthithadwyaeberiymplationisyaindephuxthdsxbkhwamkhid ekhaidpidmanpidifihhxngmudlngephuxduwaaephnkradasaekhngpidaesngidmidhruxim inkhnathiplxykraaescakkhdlwdehniywnakhybkradasaekhngihaennaelwhnipetriymkarkhnthdip erinthekinidphbwa n cudniexngthiekidmiaesngeruxng khnadxxn praktthiplayotathihangxxkip 1 emtr ephuxihaenic erinthekinidplxykraaescakkhdlwdehniywnaxikhlaykhrng aesngeruxng kyngekidkhunehmuxnedim ekhacudimkhidifducungidehnsingthixyuplayotannaethcringkkhuxaephnkradasaekhngthasaraeberiym thietriymiwsahrbkarthdlxngkhntxipnnexng erinthekinkhadedawasingnixacekidcakaesngchnidihmkid wnthi 8 phvscikayn epnwnsukr ekhacungthuxoxkasichwnhyudsudspdahthakarthdlxngsaaelathakarbnthukkhrngaerkiw inhlayspdahtxma erinthekinkinaelanxninhxngthdlxngephuxthdsxbkhunsmbtitang khxngaesngchnidihmthiyngimruwaepnxair ekhacungeriykchuxlalxngipkxnwa rngsi X enuxngcaktxngichsutrkhnitsastrkbsingthiyngimruckmakxn aemwacamiphueriykchuxrngsiniwa rngsierinthekin ephuxepnekiyrti aettwerinthekinexngklbcngicichchuxwa rngsiexks eruxyma karkhnphbrngsiexkskhxngerinthekinimichxubtiehtu hruxcakkarthangantamlaphng inkaresaaaeswnghakhatxb erinthekinaelaphukhidkhninnganpraephthniinhlaypraethskidchwyknthaxyu karkhnphbepnsingthicatxngekidxyangehn knxyuaelw khwamcringaelw rngsiexksidthuksrangkhunaelaekidrupinfilmaelwthimhawithyalyephnsileweniy 2 pikxnhnann ephiyngaetwakhnthithdlxngthaimidtrahnkwatnexngidkhnphbsingthiyingihyekhaaelw cungekbfilmekhaaefmsahrbichxangxinginkarthdlxngxun inxnakht thaihphladinkaridchuxwatnepnphukhnphbsingsakhythisudthangfisiks phaphrngsiexks phaphrngsi muxkhxngxlebirt fxn okhlliekhxr thayodyerinthekin n cudhnung inkhnathikalngthdlxngkhidkhwamsamarthkhxngwsdutang inkarpidknrngsi erinthekinidexaaephntakwchinelk wangkhwangthangrngsiidsngektehnphaphlangkhxngokhrngkraduktwexngpraktbnaephncxaeberiym sungekhaidekhiynraynganinewlatxmawa trngcudniexngthitnexngtdsinicrksakarthdlxngiwepnkhwamlbdwyekrngwakarthdlxngnixacekidcakkhladekhluxnhruxkhwamphidphlad bthkhwamraynganchinaerkkhxngerinthekin khux wadwysingihmkhxngrngsiexks On A New Kind Of X Rays tiphimphin 50 wntxmakhuxwnthi 28 thnwakhm 1895 aelainwnthi 5 mkrakhm 1896 hnngsuxphimphkhxngpraethsxxsetriyidrayngankarkhnphbrngsichnidihmkhxngerinthekin erinthekinidrbpriyyaexkkittimskdisakhakaraephthycakmhawithyalyewirsebirkhlngkarkhnphbkhrngni erinthekinidtiphimphbthkhwamekiywkbrngsiexksrwm 3 eruxng rahwangpi 1895 1897 khxsrupthnghmdkhxngerinthekinidrbkarphisucnwathuktxngthnghmd erinthekinidrbkarykyxngepnbidaaehngkarwinicchythangrngsiwithya epnsakhaechiywchayechphaathiichphaphwinicchyorkh inpi 1901 erinthekinidrbrangwloneblsakhafisikssungepnrangwlaerksud rangwlniihxyangepnthangkarephux epnkarrbruaelaykyxnginkhwamwiriyxutsahathiekhaidkhnphbrngsithimikhwamsakhyaelaidrbkartngchuxtamekhani erinthekinidbricakhrangwlthiidrbihaekmhawithyalythiekhasngkd aelaidthaechnediywkbthi piaeyr kuwri idthabanginhlaypitxma khuxkarptiesthimthuxlikhsiththiinsingpradisthtang thisubenuxngmacakphlnganthiekhakhnphbdwyehtuphlthangcriythrrm erinthekinimyxmaemaetcaihichchuxekhaeriyngrngsithiekhaepnphukhnphb xyangirkdi inpi 2004 IUPAC idtngchuxthatuihmwa Roentgenium ephuxepnekiyrtiaekerinthekinrangwlthiidrbrangwloneblsakhafisiks ph s 2444 ph s 2439 ph s 2439 duephimwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb wilehlm erinthekin Heinrich Rudolf HertzxangxingBiography at the official Nobel site 2008 08 30 thi ewyaebkaemchchin Wilhelm Conrad Rontgen 2008 12 04 thi ewyaebkaemchchin The New Marvel in Photography an article on and interview with Rontgen in McClure s magazine Vol 6 No 5 April 1896 from Project Gutenberg Annotated bibliography for Wilhelm Rontgen from the Alsos Digital Library lingkesiy The Cathode Ray Tube site 2008 11 13 thi ewyaebkaemchchin First X ray Photogram Academic Oncology amp Radiobiology Research NetworkAn NCRI initiative to revitalise radiotherapy research in the UK launched an interactive research database to mark the birthday of Wilhelm Rontgen in February 2006xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux historiek