บทความนี้ไม่มีจาก |
ดาราศาสตร์รังสีเอกซ์ (อังกฤษ: X-ray astronomy) คือการสังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์ในช่วงคลื่นของรังสีเอกซ์ที่แผ่ออกมาจากวัตถุท้องฟ้าต่างๆ รังสีเอกซ์นี้สามารถถูกชั้นบรรยากาศของโลกดูดซับไปได้ ดังนั้นในการสังเกตการณ์ในช่วงคลื่นนี้จึงต้องทำที่ชั้นบรรยากาศรอบนอก หรือในอวกาศ ในปัจจุบันมีโครงการการศึกษาดาราศาสตร์รังสีเอกซ์ในห้องวิจัยอวกาศและอุปกรณ์ตรวจจับรังสีเอกซ์ในดาวเทียมต่างๆ จำนวนมาก
คาดการณ์ว่า รังสีเอกซ์จะเกิดจากแหล่งกำเนิดที่มีแก๊สร้อน อุณหภูมิระหว่าง 1-100 ล้านเคลวิน กล่าวโดยทั่วไปคือเกิดในวัตถุที่มีพลังงานในอะตอมและอิเล็กตรอนสูงมาก การค้นพบแหล่งกำเนิดรังสีเอกซ์ในอวกาศครั้งแรกเกิดขึ้นในปี ค.ศ. 1962 โดยบังเอิญ แหล่งกำเนิดนั้นคือ Scorpius X-1 ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดรังสีเอกซ์แห่งแรกที่พบในกลุ่มดาวแมงป่อง ใกล้กับบริเวณศูนย์กลางของทางช้างเผือก ผลจากการค้นพบครั้งนี้ทำให้ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ. 2002 ในเวลาต่อมาจึงมีการค้นพบว่า การแผ่รังสีเอกซ์จากแหล่งกำเนิดดังกล่าวมีปริมาณมากกว่าการเปล่งแสงในคลื่นปกติถึงกว่า 10,000 เท่า และพลังงานจากการแผ่รังสีเอกซ์นี้คิดเป็น 100,000 เท่าของการแผ่รังสีรวมทั้งหมดจากดวงอาทิตย์ในทุกๆ คลื่นความถี่ ปัจจุบันเราทราบแล้วว่า แหล่งกำเนิดรังสีเอกซ์ดังกล่าวคือดาวที่เล็กและอัดแน่นมากๆ เช่นดาวจำพวกดาวนิวตรอน และหลุมดำ แหล่งกำเนิดพลังงานเหล่านี้เป็นพลังงานแรงโน้มถ่วง ซึ่งเกิดจากการที่แก๊สมีความร้อนเพิ่มสูงขึ้นเมื่อมีวัตถุตกลงไปในสนามแรงโน้มถ่วงเข้มข้นของแหล่งกำเนิดนั้น
ในปัจจุบันมีการค้นพบแหล่งกำเนิดรังสีเอกซ์ในอวกาศแล้วนับได้หลายพันแห่ง นอกจากนี้ยังพบว่า ในช่องว่างระหว่างดาราจักรในแต่ละกระจุกดาราจักร มีแก๊สร้อนอุณหภูมิระหว่าง 10-100 ล้านเคลวินอยู่ ปริมาณรวมของแก๊สร้อนเหล่านี้นับเป็น 5-10 เท่าของมวลรวมของดาราจักรที่เราสามารถมองเห็นได้ทั้งหมด
ดูเพิ่ม
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir darasastrrngsiexks xngkvs X ray astronomy khuxkarsngektkarnthangdarasastrinchwngkhlunkhxngrngsiexksthiaephxxkmacakwtthuthxngfatang rngsiexksnisamarththukchnbrryakaskhxngolkdudsbipid dngnninkarsngektkarninchwngkhlunnicungtxngthathichnbrryakasrxbnxk hruxinxwkas inpccubnmiokhrngkarkarsuksadarasastrrngsiexksinhxngwicyxwkasaelaxupkrntrwccbrngsiexksindawethiymtang canwnmak khadkarnwa rngsiexkscaekidcakaehlngkaenidthimiaeksrxn xunhphumirahwang 1 100 lanekhlwin klawodythwipkhuxekidinwtthuthimiphlngnganinxatxmaelaxielktrxnsungmak karkhnphbaehlngkaenidrngsiexksinxwkaskhrngaerkekidkhuninpi kh s 1962 odybngexiy aehlngkaenidnnkhux Scorpius X 1 sungepnaehlngkaenidrngsiexksaehngaerkthiphbinklumdawaemngpxng iklkbbriewnsunyklangkhxngthangchangephuxk phlcakkarkhnphbkhrngnithaih idrbrangwloneblsakhafisiks inpi kh s 2002 inewlatxmacungmikarkhnphbwa karaephrngsiexkscakaehlngkaeniddngklawmiprimanmakkwakareplngaesnginkhlunpktithungkwa 10 000 etha aelaphlngngancakkaraephrngsiexksnikhidepn 100 000 ethakhxngkaraephrngsirwmthnghmdcakdwngxathityinthuk khlunkhwamthi pccubnerathrabaelwwa aehlngkaenidrngsiexksdngklawkhuxdawthielkaelaxdaennmak echndawcaphwkdawniwtrxn aelahlumda aehlngkaenidphlngnganehlaniepnphlngnganaerngonmthwng sungekidcakkarthiaeksmikhwamrxnephimsungkhunemuxmiwtthutklngipinsnamaerngonmthwngekhmkhnkhxngaehlngkaenidnn inpccubnmikarkhnphbaehlngkaenidrngsiexksinxwkasaelwnbidhlayphnaehng nxkcakniyngphbwa inchxngwangrahwangdarackrinaetlakracukdarackr miaeksrxnxunhphumirahwang 10 100 lanekhlwinxyu primanrwmkhxngaeksrxnehlaninbepn 5 10 ethakhxngmwlrwmkhxngdarackrthierasamarthmxngehnidthnghmdduephimklxngrngsiexkscnthrabthkhwamdarasastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk