มุมมองและกรณีตัวอย่างในบทความนี้อาจไม่ได้แสดงถึงของเรื่อง |
วันลอยกระทง เป็นเทศกาลของกลุ่มชาติพันธุ์ไทตะวันออกเฉียงใต้รวมทั้งประเทศไทย ตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ตามปฏิทินจันทรคติไทย ประเพณีนี้กำหนดขึ้นเพื่อเป็นการสะเดาะเคราะห์และขอขมาต่อพระแม่คงคาซึ่งเป็นเทวดาในคติฮินดู แต่เทศกาลนี้มีร่องรอยหลักฐานย้อนไปถึงจีนและอินเดียโบราณ
วันลอยกระทง | |
---|---|
เทศกาลลอยกระทงที่จังหวัดเชียงใหม่ | |
จัดขึ้นโดย | ประเทศไทย, ประเทศลาว (ในฐานะ), ประเทศมาเลเซียตอนบน, รัฐชานในประเทศพม่า และสิบสองปันนาในประเทศจีน ประเทศพม่า (ในฐานะ ), ประเทศศรีลังกา (ในฐานะ ), ประเทศจีน (ในฐานะ เทศกาลโคมไฟ) |
ประเภท | , , การบูชา |
ความสำคัญ | บูชารอยพระพุทธบาทและขอขมาพระแม่คงคา, บูชาเจดีย์พระเกศาพระพุทธเจ้าในสวรรค์ |
วันที่ | ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ตามปฏิทินจันทรคติไทย |
ความถี่ | ทุกปี |
ส่วนเกี่ยวข้อง | (พม่า) (ศรีลังกา) เทศกาลไหว้พระจันทร์ (จีน) |
ในประเทศไทยมีชื่อเรียกว่าลอยกระทง ส่วนประเทศอื่น ๆ มีชื่อเรียกแตกต่างกัน โดยประเทศพม่ามีชื่อว่า "", ประเทศศรีลังกามีชื่อว่า "" และประเทศจีนมีชื่อว่า "เทศกาลโคมไฟ"
ศัพทมูลวิทยา
รายงานจากพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 คำว่า ลอย หมายถึง 'อยู่บนผิวน้ำ' ส่วน กระทง มีหลายความหมาย หนึ่งในนั้นคือ 'ภาชนะเย็บด้วยใบตองหรือใบไม้ที่สามารถลอยบนน้ำในช่วงเทศกาลลอยกระทง' มากไปกว่านั้น สำนักงานราชบัณฑิตยสภารายงานคำว่า กระทง มีที่มาจากคำในว่า 鐙 หรือ 燈 (/*k-tˤəŋ/) ซึ่งหมายถึงภาชนะพิธีกรรมหรือโคมไฟ
วันลอยกระทงในปฏิทินสุริยคติ
ปี | วันที่ | วันที่ | วันที่ |
---|---|---|---|
ปีชวด | 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 | 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 | 31 ตุลาคม พ.ศ. 2563 |
ปีฉลู | 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540 | 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 | 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564 |
ปีขาล | 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2541 | 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 | 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565 |
ปีเถาะ | 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542 | 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 | 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2566 |
ปีมะโรง | 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543 | 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 | 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2567 |
ปีมะเส็ง | 31 ตุลาคม พ.ศ. 2544 | 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 | 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2568 |
ปีมะเมีย | 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2545 | 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557 | 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2569 |
ปีมะแม | 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546 | 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558 | 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2570 |
ปีวอก | 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2547 | 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559 | 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2571 |
ปีระกา | 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2548 | 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 | 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2572 |
ปีจอ | 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549 | 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561 | 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2573 |
ปีกุน | 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 | 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 | 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2574 |
ประวัติ
ประเพณีลอยกระทงเป็นประเพณีโบราณของอินเดียที่ประเทศไทยรับเข้ามาปฏิบัติ แต่ไม่ปรากฏหลักฐานชัดเจนว่าทำกันมาตั้งแต่เมื่อไหร่ เท่าที่ปรากฏกล่าวได้ว่ามีมาตั้งแต่สมัยสุโขทัยเป็นราชธานี พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสันนิษฐานว่า เดิมทีเดียวเห็นจะเป็นพิธีของพราหมณ์กระทำเพื่อบูชาพระผู้เป็นเจ้าทั้งสาม คือ พระอิศวร พระนารายณ์ และพระพรหม ต่อมาได้ถือตามแนวทางพระพุทธศาสนามีการปล่อยโคมลอยเพื่อบูชาพระบรมสารีริกธาตุพระจุฬามณีในชั้นดาวดึงส์ และลอยกระทงเพื่อบูชารอยพระพุทธบาท ซึ่งประดิษฐาน ณ หาดทรายแม่น้ำนัมมทา (แม่น้ำนัมมทา เป็นแม่น้ำที่คู่ขนานกับทิวเขาวินธัย ไหลลงภาคตะวันตกของอินเดียแบ่งเขตอินเดียออกเป็นภาคเหนือและภาคใต้)
ตามเรื่องนางนพมาศ หรือ ตำรับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ กล่าวไว้ว่าในรัชสมัยพ่อขุนรามคำแหง มีนางนพมาศหรือท้าวศรีจุฬาลักษณ์ เป็นผู้ประดิษฐ์กระทงขึ้นครั้งแรก โดยแต่เดิมเรียกว่าพิธีจองเปรียง ที่ลอยเทียนประทีป และนางนพมาศได้นำ ซึ่งเป็นดอกบัวที่บานเฉพาะวันเพ็ญเดือนสิบสองมาใช้ใส่เทียนประทีป[] หนังสือเรื่องนี้ได้อ้างพระดำรัสของพระร่วงว่า
"จึ่งมีพระราชบริหารบำหยัดสาปสรรว่า แต่นี้สืบไปเบื้องหน้าโดยลำดับกษัตริย์ในสยามประเทศ ถึงการกำหนด นักขัตฤกษ์วันเพ็ญเดือน ๑๒ พระราชพิธีจองเปรียงแล้ว ก็ให้กระทำโคมลอยเป็นรูปดอกกระมุทอุทิศสักการบูชาพระพุทธบาทนัมมทานทีตราบเท่ากัลปาวสาน อันว่าโคมลอยรูปดอกกระมุทก็ปรากฏมาจนเท่าทุกวันนี้ แต่คำโลกสมมุติเปลี่ยนชื่อเรียกว่าลอยกระทงทรงประทีป เหตุดังนี้ข้าน้อยผู้ชื่อว่านพมาศก็ถึงซึ่งมีชื่อเสียงปรากฏอยู่ใน แผ่นดินได้อย่างหนึ่ง..."
— ท้าวศรีจุฬาลักษณ์, ตำรับท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แต่ปัจจุบันมีหลักฐานว่าไม่น่าจะเก่ากว่าสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น โดยอ้างอิงหลักฐานจากภาพจิตรกรรมการสร้างกระทงแบบต่าง ๆ ในสมัยรัชกาลที่ 1 จากนั้นในสมัยรัชกาลที่ 2 ได้เปลี่ยนแปลงจากการทำจากดอกบัวเป็นต้นกล้วยเพราะดอกบัวดังกล่าวหายากและมีน้อย จึงใช้ต้นกล้วยทำแทนแล้วดูไม่สวยจึงใช้ใบตองมาพับแต่งจนสวยสืบทอดมาจนถึงปัจจุบัน[]
อีกข้อสันนิษฐานหนึ่งเชื่อว่า ประเพณีลอยกระทง อาจมีต้นกำเนิดมาตั้งแต่คนในภูมิภาคนี้นับถือศาสนาผี ที่คนไทจะนับถือผีฟ้า(แถน) ผีดิน ผีน้ำ ผีนา ผีป่า ผีบ้าน ผีเมือง ซึ่งดินแดนในแถบนี้ได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากอินเดีย จึงน่าจะเปลี่ยนจากผีมาเป็นเทพ ผีฟ้าเป็นเทวดาชั้นฟ้า ผีดินเป็นพระแม่ธรณี ผีน้ำเป็นพระแม่คงคา ผีนาเป็นพระแม่โพสพ ผีป่าเป็นรุกขเทวดา ผีบ้านเป็นพระภูมิเจ้าที่ ผีเมืองเป็นพระสยามเทวาธิราช ซึ่งจะสังเกตได้ว่าทางอินเดียจะไม่มีการบูชาพระแม่คงคาแบบไท นั่นเพราะคนไทปกติก็บูชาผีน้ำกันอยู่แล้ว จึงเกิดการบูชาพระแม่คงคาขึ้น ซึ่งในวัฒนธรรมศาสนาผีแต่เดิม คนไทจะขอขมาผีดินและขอขมาผีน้ำ ที่ตนเองใช้สอยและขับถ่ายใส่ ซึ่งกระทงที่ใช้สมัยก่อนจะเป็นแค่กระทงสี่เหลี่ยมที่ใช้ใส่เครื่องเซ่นไหว้ผี และจึงเปลี่ยนมาเป็นกระทงแบบคล้ายดอกบัวแบบที่เห็นในปัจจุบันเพราะอิทธิพลพุทธศาสนาที่มีดอกบัวเป็นสัญลักษณ์ เมื่ออิทธิพลจากศาสนาพุทธเข้ามา คนไทจึงเริ่มเปลี่ยนจากบูชาพระแม่คงคามาบูชารอยพระพุทธบาทตามศาสนาใหม่ที่ตนนับถือ[]
ส่วนประเพณียี่เป็งของทางล้านนา น่าจะได้อิทธิพลจากศรีลังกาผ่านพระสงฆ์นิกายลังกาวงศ์ ซึ่งสังเกตได้จากโคมยี่เป็ง สมัยก่อนจะเรียกว่าโคมลังกา ซึ่งสมัยก่อนจะมีอยู่แค่ 5 สี ตามสีฉัพพรรณรังสีของพระพุทธเจ้า ที่นอกจากประดับประดาเพื่อความสวยงาม และบูชาพระรัตนตรัยหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ยังเชื่อกันว่า เมื่อภูติผีปีศาจเห็น จะคิดว่าพระพุทธเจ้าประทับอยู่ที่นี้ จะพากันรีบหนีไป ไม่กล้ามาทำอันตรายผู้คนอีก[]
ประเพณีในแต่ละท้องถิ่น
- ภาคเหนือ นิยมทำโคมลอย เรียกว่า "ลอยโคม" หรือ "ว่าวลม" หรือ "ว่าวไฟ" ทำจากผ้าบาง ๆ แล้วสุมควันข้างใต้ให้ลอยขึ้นไปในอากาศอย่างบัลลูนประเพณีของชาวเหนือนี้เรียกว่า ยี่เป็ง หมายถึงการทำบุญในวันเพ็ญเดือนยี่ (ซึ่งนับวันตามแบบล้านนา ตรงกับวันเพ็ญเดือนสิบสองในแบบไทย) หรือโคมลอยบนน้ำรูปทรงต่าง ๆ
- จังหวัดเชียงใหม่ มีประเพณี"ยี่เป็ง"เชียงใหม่ ในทุก ๆ ปีจะมีการจัดงานขึ้นอย่างยิ่งใหญ่ตระการตา และมีการปล่อยโคมลอยขึ้นเต็มท้องฟ้า
- จังหวัดลำปาง มีประเพณี"ล่องสะเปา"(สะเปาหมายถึงกระทง) ซึ่งจะมีการประกวดอยู่สองวันด้วยกัน ได้แก่วันแรก"สะเปาน้ำ"จัดขึ้นในแม่น้ำวังและวันที่สองจะมี"สะเปาบก" ซึ่งการประกวดในที่นี้ จะมีตั้งแต่ระดับกลุ่มหมู่บ้าน ตำบล อำเภอ โรงเรียน มหาวิทยาลัย สถาบันการศึกษาต่าง ๆ รวมไปถึงหน่วยการของภาครัฐ แต่ละขบวนจะมีการแสดงต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นฟ้อนรำ ดนตรีพื้นเมือง ความสวยงามของขบวน รวมไปถึงประกวดนางนพมาส ทั้งนี้ ชาวบ้านคนเมืองลำปาง ค่อนข้างให้ความสำคัญแก่ประเพณีล่องสะเปา เนื่องจากเป็นวันที่ทุกคนจะร่วมสนุกสนานครื้นเคร้ง พบปะเพื่อนฝูงที่กลับมาจากการทำงานในต่างจังหวัด และที่สำคัญเป็นเทศกาลกลางแจ้งที่จัดขึ้นท่ามกลางอากาศที่เย็นสบายในทุก ๆ ปี
- ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในอดีตมีการเรียกประเพณีลอยกระทงในภาคอีสานว่า สิบสองเพ็ง หมายถึงวันเพ็ญเดือนสิบสองซึ่งจะมีเอกลักษณ์แตกต่างกันออกไป เช่น
- จังหวัดร้อยเอ็ด ถือเป็นตัวแทนจัดงานลอยกระทงของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยมีชื่องานประเพณีว่า " สมมาน้ำคืนเพ็ง เส็งประทีป " ตามภาษาถิ่นมีความหมายถึงการขอขมาพระแม่คงคาในคืนวันเพ็ญเดือนสิบสอง ความพิเศษของงานมีการแสดง แสงสีเสียง ตำนานเมืองร้อยเอ็ด จัดให้มีการตกแต่งบริเวณเกาะบึงพลาญชัย (สถานที่จัดงาน) ให้เป็นเกาะสวรรค์ ตกแต่งสวยงาม ยิ่งใหญ่ มีขบวนกระทงอาเซียน มีการประกวดกระทงประทีปใหญ่ ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี การประกวดกระทงอนุรักษ์ธรรมชาติ การประกวดขบวนแห่กระทงประทีป 12 หัวเมือง ตามตำนานเมืองร้อยเอ็ด การประกวดรำวงสมมาน้ำคืนเพ็งเส็งประทีป การประกวดธิดาสาเกตนคร และกิจกรรมอื่น ๆ อีกมากมาย
- จังหวัดสกลนคร ในอดีตจะมีการลอยกระทงจากกาบกล้วย ลักษณะคล้ายกับการทำโบราณ เรียกงานนี้ว่าเทศกาลลอยพระประทีปพระราชทาน สิบสองเพ็งไทสกล
- ภาคกลาง มีการจัดประเพณีลอยกระทงขึ้นทั่วทุกจังหวัด
- กรุงเทพมหานคร จะมี เป็นรูปแบบงานวัด เฉลิมฉลองราว 7-10 วัน ก่อนงานลอยกระทง และจบลงในช่วงหลังวันลอยกระทง
- จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีการจัดงานประเพณีลอยกระทงกรุงเก่าขึ้นอย่างยิ่งใหญ่บริเวณอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา ภายในงานมีการจัดแสดงแสง สี เสียง อย่างงดงามตระการตา
- จังหวัดตาก จะลอยกระทงขนาดเล็กทยอยเรียงรายไปเป็นสาย เรียกว่า "กระทงสาย"
- จังหวัดสุโขทัย มีประเพณี "เผาเทียน เล่นไฟ" โดยใช้พื้นที่บริเวณอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย ซึ่งตรงกับแหล่งโบราณที่เคยจัดกิจกรรมนี้เมื่อ 700 ปีที่แล้ว ภายในงานจะมีการแห่ขบวนแห่กระทง การเล่นพลุตะไล ไฟพะเนียง การแสดงแสงสีเสียง รวมถึงการเผาเทียน เล่นไฟ
- ภาคใต้ อย่างที่อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ก็มีการจัดงานอย่างยิ่งใหญ่ นอกจากนั้น ในจังหวัดอื่น ๆ ก็จะจัดงานวันลอยกระทงด้วยเช่นกัน
นอกจากนี้ในแต่ละท้องถิ่นยังอาจมีประเพณีลอยกระทงที่แตกต่างกันไป และสืบทอดต่อกันเรื่อยมา
อ้างอิง
- [Loi Krathong tradition]. กระทรวงวัฒนธรรม. 2015-01-22. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-07-28. สืบค้นเมื่อ 2019-11-10.
- ธนากิต. ประเพณี พิธีมงคล และวันสำคัญของไทย. กรุงเทพฯ : ชมรมเด็ก, ๒๕๓๙.
- Constance Jones 2011, pp. 252–253.
- (2011). "Lantern Festival (China)". ใน Melton, J. Gordon (บ.ก.). Religious Celebrations: An Encyclopedia of Holidays, Festivals, Solemn Observances, and Spiritual Commemorations. ABC-CLIO. pp. 514–515. ISBN . สืบค้นเมื่อ February 15, 2014.
- The Penguin Handbook of the World's Living Religions. Penguin UK. 25 March 2010. ISBN – โดยทาง Google Books.
- "Buddhist Calendar - Southeast Asian Calendars - Thai Calendar".
- "Pictures of the day: 23 October 2016". The Telegraph. 23 October 2016.
- . 12 September 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 November 2017. สืบค้นเมื่อ 26 December 2016.
- . 1 February 2017. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 February 2017.
{{}}
: CS1 maint: bot: original URL status unknown () - "Baxter-Sagart Old Chinese reconstruction" (PDF).
- Wei, L. (2010). Chinese festivals: traditions customs and rituals [L. Yue & L. Tao, trans]. Beijing: China International Press, p. 51. (Call no.: R 394.26951 WEI-[CUS]) ; Latsch, M-L. (1985).
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-12-26. สืบค้นเมื่อ 2013-12-25.
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-12-26. สืบค้นเมื่อ 2013-12-25.
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-12-26. สืบค้นเมื่อ 2013-12-25.
- Pittayaporn, Pittayawat [พิทยาวัฒน์ พิทยาภรณ์] (2014) , “Layers of Chinese Loanwords in Proto-Southwestern Tai as Evidence for the Dating of the Spread of Southwestern Tai”, in MANUSYA: Journal of Humanities, volume 20 (special issue), Bangkok: Chulalongkorn University, ISSN 0859-9920, pages 47–68
- กองวรรณคดีและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร. วรรณกรรมสมัยสุโขทัย. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, 2528. 320 หน้า. หน้า 298.
- ศรีจุฬาลักษณ์ (นพมาศ), ท้าว. นางนพมาศ หรือ ตำรับท้าวศรีจุฬาลักษณ์. (พิมพ์ครั้งที่ 14). กรุงเทพฯ : ศิลปาบรรณาคาร, 2513. 159 หน้า. หน้า 99.
แหล่งข้อมูลอื่น
- Sukhothai celebrations
- Suttinee Yavaprapas; Chaleo Manilerd; Thailand. Krasūang Watthanatham. External Relations Division; Thailand. Krasūang Watthanatham. Office of the Permanent Secretary (2004). Loy Krathong Festival. Ministry of Culture, External Relations Division. ISBN . สืบค้นเมื่อ 5 October 2011.
- Donald K. Swearer (1 February 2010). The Buddhist world of Southeast Asia. . pp. 49–. ISBN . สืบค้นเมื่อ 5 October 2011.
- Anuman Rajadhon (Phrayā) (1956). Loy krathong & Songkran festival. National Culture Institute. สืบค้นเมื่อ 5 October 2011.
- The Kingdom of the Yellow Robe. Forgotten Books. pp. 358–367. ISBN . สืบค้นเมื่อ 5 October 2011.
- ปฏิทิน100ปี
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
mummxngaelakrnitwxyanginbthkhwamnixacimidaesdngthungmummxngthiepnsaklkhxngeruxngkhunsamarthchwyaekikhbthkhwamni odyephimmummxngsaklihmakkhun hruxaeykpraednyxyipsrangepnbthkhwamihm eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir wnlxykrathng epnethskalkhxngklumchatiphnthuithtawnxxkechiyngitrwmthngpraethsithy trngkbwnkhun 15 kha eduxn 12 tamptithincnthrkhtiithy praephninikahndkhunephuxepnkarsaedaaekhraahaelakhxkhmatxphraaemkhngkhasungepnethwdainkhtihindu aetethskalnimirxngrxyhlkthanyxnipthungcinaelaxinediyobranwnlxykrathngethskallxykrathngthicnghwdechiyngihmcdkhunodypraethsithy praethslaw inthana praethsmaelesiytxnbn rthchaninpraethsphma aelasibsxngpnnainpraethscin praethsphma inthana praethssrilngka inthana praethscin inthana ethskalokhmif praephth karbuchakhwamsakhybucharxyphraphuththbathaelakhxkhmaphraaemkhngkha buchaecdiyphraeksaphraphuththecainswrrkhwnthikhun 15 kha eduxn 12 tamptithincnthrkhtiithykhwamthithukpiswnekiywkhxng phma srilngka ethskalihwphracnthr cin inpraethsithymichuxeriykwalxykrathng swnpraethsxun michuxeriykaetktangkn odypraethsphmamichuxwa praethssrilngkamichuxwa aelapraethscinmichuxwa ethskalokhmif sphthmulwithyarayngancakphcnanukrm chbbrachbnthitysthan ph s 2542 khawa lxy hmaythung xyubnphiwna swn krathng mihlaykhwamhmay hnunginnnkhux phachnaeybdwyibtxnghruxibimthisamarthlxybnnainchwngethskallxykrathng makipkwann sanknganrachbnthityspharayngankhawa krathng mithimacakkhainwa 鐙 hrux 燈 k tˤeŋ sunghmaythungphachnaphithikrrmhruxokhmifwnlxykrathnginptithinsuriykhtipi wnthi wnthi wnthipichwd 24 phvscikayn ph s 2539 12 phvscikayn ph s 2551 31 tulakhm ph s 2563pichlu 14 phvscikayn ph s 2540 2 phvscikayn ph s 2552 19 phvscikayn ph s 2564pikhal 3 phvscikayn ph s 2541 21 phvscikayn ph s 2553 8 phvscikayn ph s 2565piethaa 22 phvscikayn ph s 2542 10 phvscikayn ph s 2554 27 phvscikayn ph s 2566pimaorng 11 phvscikayn ph s 2543 28 phvscikayn ph s 2555 15 phvscikayn ph s 2567pimaesng 31 tulakhm ph s 2544 17 phvscikayn ph s 2556 5 phvscikayn ph s 2568pimaemiy 19 phvscikayn ph s 2545 6 phvscikayn ph s 2557 24 phvscikayn ph s 2569pimaaem 8 phvscikayn ph s 2546 25 phvscikayn ph s 2558 13 phvscikayn ph s 2570piwxk 26 phvscikayn ph s 2547 14 phvscikayn ph s 2559 1 phvscikayn ph s 2571piraka 16 phvscikayn ph s 2548 3 phvscikayn ph s 2560 20 phvscikayn ph s 2572picx 5 phvscikayn ph s 2549 22 phvscikayn ph s 2561 9 phvscikayn ph s 2573pikun 24 phvscikayn ph s 2550 11 phvscikayn ph s 2562 28 phvscikayn ph s 2574prawtiphluechlimchlxnginethskalwnlxykrathngrimaemnaecaphraya praephnilxykrathngepnpraephniobrankhxngxinediythipraethsithyrbekhamaptibti aetimprakthlkthanchdecnwathaknmatngaetemuxihr ethathipraktklawidwamimatngaetsmysuokhthyepnrachthani phrabathsmedcphraculcxmeklaecaxyuhw thrngsnnisthanwa edimthiediywehncaepnphithikhxngphrahmnkrathaephuxbuchaphraphuepnecathngsam khux phraxiswr phranarayn aelaphraphrhm txmaidthuxtamaenwthangphraphuththsasnamikarplxyokhmlxyephuxbuchaphrabrmsaririkthatuphraculamniinchndawdungs aelalxykrathngephuxbucharxyphraphuththbath sungpradisthan n hadthrayaemnanmmtha aemnanmmtha epnaemnathikhukhnankbthiwekhawinthy ihllngphakhtawntkkhxngxinediyaebngekhtxinediyxxkepnphakhehnuxaelaphakhit tameruxngnangnphmas hrux tarbthawsriculalksn klawiwwainrchsmyphxkhunramkhaaehng minangnphmashruxthawsriculalksn epnphupradisthkrathngkhunkhrngaerk odyaetedimeriykwaphithicxngepriyng thilxyethiynprathip aelanangnphmasidna sungepndxkbwthibanechphaawnephyeduxnsibsxngmaichisethiynprathip txngkarxangxing hnngsuxeruxngniidxangphradarskhxngphrarwngwa cungmiphrarachbriharbahydsapsrrwa aetnisubipebuxnghnaodyladbkstriyinsyampraeths thungkarkahnd nkkhtvkswnephyeduxn 12 phrarachphithicxngepriyngaelw kihkrathaokhmlxyepnrupdxkkramuthxuthisskkarbuchaphraphuththbathnmmthanthitrabethaklpawsan xnwaokhmlxyrupdxkkramuthkpraktmacnethathukwnni aetkhaolksmmutiepliynchuxeriykwalxykrathngthrngprathip ehtudngnikhanxyphuchuxwanphmaskthungsungmichuxesiyngpraktxyuin aephndinidxyanghnung thawsriculalksn tarbthawsriculalksn aetpccubnmihlkthanwaimnacaekakwasmyrtnoksinthrtxntn odyxangxinghlkthancakphaphcitrkrrmkarsrangkrathngaebbtang insmyrchkalthi 1 caknninsmyrchkalthi 2 idepliynaeplngcakkarthacakdxkbwepntnklwyephraadxkbwdngklawhayakaelaminxy cungichtnklwythaaethnaelwduimswycungichibtxngmaphbaetngcnswysubthxdmacnthungpccubn txngkarxangxing xikkhxsnnisthanhnungechuxwa praephnilxykrathng xacmitnkaenidmatngaetkhninphumiphakhninbthuxsasnaphi thikhnithcanbthuxphifa aethn phidin phina phina phipa phiban phiemuxng sungdinaedninaethbniidrbxiththiphlthangwthnthrrmcakxinediy cungnacaepliyncakphimaepnethph phifaepnethwdachnfa phidinepnphraaemthrni phinaepnphraaemkhngkha phinaepnphraaemophsph phipaepnrukkhethwda phibanepnphraphumiecathi phiemuxngepnphrasyamethwathirach sungcasngektidwathangxinediycaimmikarbuchaphraaemkhngkhaaebbith nnephraakhnithpktikbuchaphinaknxyuaelw cungekidkarbuchaphraaemkhngkhakhun sunginwthnthrrmsasnaphiaetedim khnithcakhxkhmaphidinaelakhxkhmaphina thitnexngichsxyaelakhbthayis sungkrathngthiichsmykxncaepnaekhkrathngsiehliymthiichisekhruxngesnihwphi aelacungepliynmaepnkrathngaebbkhlaydxkbwaebbthiehninpccubnephraaxiththiphlphuththsasnathimidxkbwepnsylksn emuxxiththiphlcaksasnaphuththekhama khnithcungerimepliyncakbuchaphraaemkhngkhamabucharxyphraphuththbathtamsasnaihmthitnnbthux txngkarxangxing swnpraephniyiepngkhxngthanglanna nacaidxiththiphlcaksrilngkaphanphrasngkhnikaylngkawngs sungsngektidcakokhmyiepng smykxncaeriykwaokhmlngka sungsmykxncamixyuaekh 5 si tamsichphphrrnrngsikhxngphraphuththeca thinxkcakpradbpradaephuxkhwamswyngam aelabuchaphrartntryhruxsingskdisiththi yngechuxknwa emuxphutiphipisacehn cakhidwaphraphuththecaprathbxyuthini caphaknribhniip imklamathaxntrayphukhnxik txngkarxangxing praephniinaetlathxngthinokhmlxyphakhehnux niymthaokhmlxy eriykwa lxyokhm hrux wawlm hrux wawif thacakphabang aelwsumkhwnkhangitihlxykhunipinxakasxyangbllunpraephnikhxngchawehnuxnieriykwa yiepng hmaythungkarthabuyinwnephyeduxnyi sungnbwntamaebblanna trngkbwnephyeduxnsibsxnginaebbithy hruxokhmlxybnnarupthrngtang cnghwdechiyngihm mipraephni yiepng echiyngihm inthuk picamikarcdngankhunxyangyingihytrakarta aelamikarplxyokhmlxykhunetmthxngfa cnghwdlapang mipraephni lxngsaepa saepahmaythungkrathng sungcamikarprakwdxyusxngwndwykn idaekwnaerk saepana cdkhuninaemnawngaelawnthisxngcami saepabk sungkarprakwdinthini camitngaetradbklumhmuban tabl xaephx orngeriyn mhawithyaly sthabnkarsuksatang rwmipthunghnwykarkhxngphakhrth aetlakhbwncamikaraesdngtang imwacaepnfxnra dntriphunemuxng khwamswyngamkhxngkhbwn rwmipthungprakwdnangnphmas thngni chawbankhnemuxnglapang khxnkhangihkhwamsakhyaekpraephnilxngsaepa enuxngcakepnwnthithukkhncarwmsnuksnankhrunekhrng phbpaephuxnfungthiklbmacakkarthanganintangcnghwd aelathisakhyepnethskalklangaecngthicdkhunthamklangxakasthieynsbayinthuk pi phakhtawnxxkechiyngehnux inxditmikareriykpraephnilxykrathnginphakhxisanwa sibsxngephng hmaythungwnephyeduxnsibsxngsungcamiexklksnaetktangknxxkip echn cnghwdrxyexd thuxepntwaethncdnganlxykrathngkhxngphakhtawnxxkechiyngehnux odymichuxnganpraephniwa smmanakhunephng esngprathip tamphasathinmikhwamhmaythungkarkhxkhmaphraaemkhngkhainkhunwnephyeduxnsibsxng khwamphiesskhxngnganmikaraesdng aesngsiesiyng tananemuxngrxyexd cdihmikartkaetngbriewnekaabungphlaychy sthanthicdngan ihepnekaaswrrkh tkaetngswyngam yingihy mikhbwnkrathngxaesiyn mikarprakwdkrathngprathipihy chingthwyphrarachthansmedcphraethphrtnrachsuda syambrmrachkumari karprakwdkrathngxnurksthrrmchati karprakwdkhbwnaehkrathngprathip 12 hwemuxng tamtananemuxngrxyexd karprakwdrawngsmmanakhunephngesngprathip karprakwdthidasaektnkhr aelakickrrmxun xikmakmay cnghwdsklnkhr inxditcamikarlxykrathngcakkabklwy lksnakhlaykbkarthaobran eriyknganniwaethskallxyphraprathipphrarachthan sibsxngephngithskl phakhklang mikarcdpraephnilxykrathngkhunthwthukcnghwd krungethphmhankhr cami epnrupaebbnganwd echlimchlxngraw 7 10 wn kxnnganlxykrathng aelacblnginchwnghlngwnlxykrathng cnghwdphrankhrsrixyuthya mikarcdnganpraephnilxykrathngkrungekakhunxyangyingihybriewnxuthyanprawtisastrphrankhrsrixyuthya phayinnganmikarcdaesdngaesng si esiyng xyangngdngamtrakarta cnghwdtak calxykrathngkhnadelkthyxyeriyngrayipepnsay eriykwa krathngsay cnghwdsuokhthy mipraephni ephaethiyn elnif odyichphunthibriewnxuthyanprawtisastrsuokhthy sungtrngkbaehlngobranthiekhycdkickrrmniemux 700 pithiaelw phayinngancamikaraehkhbwnaehkrathng karelnphlutail ifphaeniyng karaesdngaesngsiesiyng rwmthungkarephaethiyn elnif phakhit xyangthixaephxhadihy cnghwdsngkhla kmikarcdnganxyangyingihy nxkcaknn incnghwdxun kcacdnganwnlxykrathngdwyechnkn nxkcakniinaetlathxngthinyngxacmipraephnilxykrathngthiaetktangknip aelasubthxdtxkneruxymaxangxing Loi Krathong tradition krathrwngwthnthrrm 2015 01 22 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2020 07 28 subkhnemux 2019 11 10 thnakit praephni phithimngkhl aelawnsakhykhxngithy krungethph chmrmedk 2539 Constance Jones 2011 pp 252 253 sfn error no target CITEREFConstance Jones2011 2011 Lantern Festival China in Melton J Gordon b k Religious Celebrations An Encyclopedia of Holidays Festivals Solemn Observances and Spiritual Commemorations ABC CLIO pp 514 515 ISBN 978 1 5988 4206 7 subkhnemux February 15 2014 The Penguin Handbook of the World s Living Religions Penguin UK 25 March 2010 ISBN 9780141955049 odythang Google Books Buddhist Calendar Southeast Asian Calendars Thai Calendar Pictures of the day 23 October 2016 The Telegraph 23 October 2016 12 September 2014 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 7 November 2017 subkhnemux 26 December 2016 1 February 2017 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 1 February 2017 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a CS1 maint bot original URL status unknown lingk Baxter Sagart Old Chinese reconstruction PDF Wei L 2010 Chinese festivals traditions customs and rituals L Yue amp L Tao trans Beijing China International Press p 51 Call no R 394 26951 WEI CUS Latsch M L 1985 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2013 12 26 subkhnemux 2013 12 25 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2013 12 26 subkhnemux 2013 12 25 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2013 12 26 subkhnemux 2013 12 25 Pittayaporn Pittayawat phithyawthn phithyaphrn 2014 Layers of Chinese Loanwords in Proto Southwestern Tai as Evidence for the Dating of the Spread of Southwestern Tai in MANUSYA Journal of Humanities volume 20 special issue Bangkok Chulalongkorn University ISSN 0859 9920 pages 47 68 kxngwrrnkhdiaelaprawtisastr krmsilpakr wrrnkrrmsmysuokhthy krungethph krmsilpakr 2528 320 hna hna 298 ISBN 978 974 7925 27 2 sriculalksn nphmas thaw nangnphmas hrux tarbthawsriculalksn phimphkhrngthi 14 krungethph silpabrrnakhar 2513 159 hna hna 99 aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb wnlxykrathng Sukhothai celebrations Suttinee Yavaprapas Chaleo Manilerd Thailand Krasuang Watthanatham External Relations Division Thailand Krasuang Watthanatham Office of the Permanent Secretary 2004 Loy Krathong Festival Ministry of Culture External Relations Division ISBN 978 974 9681 22 0 subkhnemux 5 October 2011 Donald K Swearer 1 February 2010 The Buddhist world of Southeast Asia pp 49 ISBN 978 1 4384 3251 9 subkhnemux 5 October 2011 Anuman Rajadhon Phraya 1956 Loy krathong amp Songkran festival National Culture Institute subkhnemux 5 October 2011 The Kingdom of the Yellow Robe Forgotten Books pp 358 367 ISBN 978 1 4400 9096 7 subkhnemux 5 October 2011 ptithin100pi