บัลลูน หรือ บอลลูน (อังกฤษ: balloon) เป็นยานพาหนะที่ใช้ในการเดินทางทางอากาศ ด้วยหลักการของแรงลอยตัว (Buoyancy) และเคลื่อนที่ด้วยลม มีหลักฐานการสร้างในประเทศจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 3 ต่อมาในทวีปยุโรปมีการทดลองสร้างเป็นพาหนะสำหรับใช้เดินทางทางอากาศตั้งแต่ปี ค.ศ. 1709 ที่กรุงลิสบอน ประเทศโปรตุเกส แต่ไม่ประสบความสำเร็จ จนกระทั่งวันที่ 21 พฤศจิกายน ค.ศ. 1783 พี่น้องมงกอลฟีเย ชาวฝรั่งเศส ประสบความสำเร็จในการใช้บัลลูนขนาดใหญ่ ขับเคลื่อนด้วยอากาศร้อน เดินทางที่ความสูง 500 ฟุตในอากาศ เป็นระยะทาง 5 1/2 ไมล์ ใช้เวลา 25 นาที ได้สำเร็จเป็นครั้งแรกที่ ปารีส และนับเป็นก้าวแรกของการเดินทางด้วยบัลลูนอย่างแท้จริง
อ้างอิง
- พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ 2009-03-02 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (สืบค้นออนไลน์)
- หนังสือครั้งแรกของโลก เล่ม 1
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bllun hrux bxllun xngkvs balloon epnyanphahnathiichinkaredinthangthangxakas dwyhlkkarkhxngaernglxytw Buoyancy aelaekhluxnthidwylm mihlkthankarsranginpraethscintngaetkhriststwrrsthi 3 txmainthwipyuorpmikarthdlxngsrangepnphahnasahrbichedinthangthangxakastngaetpi kh s 1709 thikrunglisbxn praethsoprtueks aetimprasbkhwamsaerc cnkrathngwnthi 21 phvscikayn kh s 1783 phinxngmngkxlfiey chawfrngess prasbkhwamsaercinkarichbllunkhnadihy khbekhluxndwyxakasrxn edinthangthikhwamsung 500 futinxakas epnrayathang 5 1 2 iml ichewla 25 nathi idsaercepnkhrngaerkthi paris aelanbepnkawaerkkhxngkaredinthangdwybllunxyangaethcringaebbcalxngkhxngbllunkhxngphinxngmngkxlfiey cakphiphithphnthinkrunglxndxnxangxingphcnanukrm chbbrachbnthitysthan ph s 2542 2009 03 02 thi ewyaebkaemchchin subkhnxxniln hnngsuxkhrngaerkkhxngolk elm 1wikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb bllun bthkhwamniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmul hmayehtu khxaenanaihcdhmwdhmuokhrngihekhakbenuxhakhxngbthkhwam duephimthi wikiphiediy okhrngkarcdhmwdhmuokhrngthiyngimsmburn dkhk