การแผ่รังสีฮอว์กิง (อังกฤษ: Hawking radiation) เป็นการแผ่รังสีของวัตถุดำที่คาดว่าปล่อยออกมาจากหลุมดำอันเนื่องจากปรากฏการณ์ทางควอนตัม ณ บริเวณใกล้กับขอบฟ้าเหตุการณ์ของหลุมดำ โดยชื่อรังสีนี้ตั้งขึ้นเพื่อเป็นเกียรติให้แก่สตีเฟน ฮอว์กิง นักฟิสิกส์ผู้ให้การพิสูจน์เชิงทฤษฎีในปี พ.ศ. 2517 (ค.ศ. 1974) ถึงการมีอยู่ของรังสีนี้ ซึ่งเป็นเวลาหลังจาก ได้คาดการณ์ไว้ว่าหลุมดำควรจะมีอุณหภูมิและเอนโทรปีจำกัดและมากกว่าศูนย์
โดยปกติแล้วหลุมดำมีแรงโน้มถ่วงมหาศาลหากวัตถุหรือพลังงานใดผ่านขอบฟ้าเหตุการณ์เข้าไปแล้วย่อมไม่สามารถเร่งออกมาจากหลุมดำได้ แม้แต่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าหรือแสงเองก็ตาม ดังนั้นหลุมดำยิ่งน่าจะมีขนาดใหญ่ขึ้นมีมวลมากขึ้นไม่มีและไม่มีทีท่าจะลดลง แต่จากการค้นพบ รังสีฮอว์กิง นี่เองที่ทำให้หลุมดำมีมวลและพลังงานลดลงได้ เพราะหากหลุมดำสูญเสียพลังงานจากการปล่อย รังสีฮอว์กิง (แต่ด้วยความสมมูลระหว่างมวล-พลังงานจึงกล่าวได้ว่าหลุมดำเสียพลังงานก็เท่ากับว่าหลุมดำเสียมวล) มากกว่าได้รับจากการดูดมวลและพลังงานต่าง ๆ เข้าไปเป็นเวลานานมากพอก็จะทำให้หลุมดำมีขนาดเล็กลงและหายไปในที่สุด เรียกปรากฏการณ์นี้ว่า การระเหยของหลุมดำ โดยยิ่งหลุมดำมีขนาดเล็กเช่น หลุมดำจิ๋ว จะมีการปล่อยรังสีมากกว่าและระเหยหายไปเร็วกว่าหลุมดำที่มีขนาดใหญ่
อ้างอิง
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-03-29. สืบค้นเมื่อ 2013-06-20.
- Levi Julian, Hana (3 September 2012). "'40 Years of Black Hole Thermodynamics' in Jerusalem". . สืบค้นเมื่อ 8 September 2012.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
karaephrngsihxwking xngkvs Hawking radiation epnkaraephrngsikhxngwtthudathikhadwaplxyxxkmacakhlumdaxnenuxngcakpraktkarnthangkhwxntm n briewniklkbkhxbfaehtukarnkhxnghlumda odychuxrngsinitngkhunephuxepnekiyrtiihaekstiefn hxwking nkfisiksphuihkarphisucnechingthvsdiinpi ph s 2517 kh s 1974 thungkarmixyukhxngrngsini sungepnewlahlngcak idkhadkarniwwahlumdakhwrcamixunhphumiaelaexnothrpicakdaelamakkwasuny odypktiaelwhlumdamiaerngonmthwngmhasalhakwtthuhruxphlngnganidphankhxbfaehtukarnekhaipaelwyxmimsamartherngxxkmacakhlumdaid aemaetkhlunaemehlkiffahruxaesngexngktam dngnnhlumdayingnacamikhnadihykhunmimwlmakkhunimmiaelaimmithithacaldlng aetcakkarkhnphb rngsihxwking niexngthithaihhlumdamimwlaelaphlngnganldlngid ephraahakhlumdasuyesiyphlngngancakkarplxy rngsihxwking aetdwykhwamsmmulrahwangmwl phlngngancungklawidwahlumdaesiyphlngngankethakbwahlumdaesiymwl makkwaidrbcakkardudmwlaelaphlngngantang ekhaipepnewlananmakphxkcathaihhlumdamikhnadelklngaelahayipinthisud eriykpraktkarnniwa karraehykhxnghlumda odyyinghlumdamikhnadelkechn hlumdaciw camikarplxyrngsimakkwaaelaraehyhayiperwkwahlumdathimikhnadihyxangxing khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2013 03 29 subkhnemux 2013 06 20 Levi Julian Hana 3 September 2012 40 Years of Black Hole Thermodynamics in Jerusalem subkhnemux 8 September 2012 bthkhwamfisiksniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk