บทความนี้ไม่มีจาก |
บาราคอล เป็นสารที่สกัดได้จากสมุนไพรขี้เหล็ก โดยในปี พ.ศ. 2485 ซึ่งเป็นยุคสงครามโลกครั้งที่ 2 พบว่ายารักษาโรคขาดแคลนเป็นอย่างมาก ศาสตราจารย์ นพ.อวย เกตุสิงห์ จึงได้พยายามค้นหาสมุนไพรไทยที่ใช้เป็นอย่างแพร่หลายมาศึกษาฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา และได้พบว่าใบและดอกของต้นขี้เหล็กทำให้เกิดอาการง่วงซึมและมีพิษน้อยกว่าสมุนไพรชนิดอื่นๆ ที่ได้ศึกษา ต่อมาจึงมีการศึกษาฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของสารสกัดใบขี้เหล็กอีกครั้งโดยใช้แอลกอฮอล์เป็นตัวทำละลาย พบว่าสารสกัดนี้มี เพิ่มความตึงตัวของกล้ามเนื้อเรียบ และมีฤทธิ์
ต่อมาในปี พ.ศ. 2513 คณะนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยนอตติ้งแฮม ประเทศอังกฤษได้รายงานว่าสามารถสกัดสารชนิดใหม่จากใบขี้เหล็ก โดยสารนี้เป็นอนุพันธ์ของ (dioxaphenalene) ที่เป็นสารกลุ่ม (chromone) ชนิดหนึ่ง จึงได้ตั้งชื่อว่า “บาราคอล” ซึ่งมีว่า 3a,4-dihydro-3a,8-dihydroxy-2,5-dimethyl-1,4-dioxaphenalene และมีสูตรโมเลกุล คือ C13H12O
บาราคอลเป็นสารที่มีผลึกสีเหลืองแกมเขียวสามารถละลายได้ในน้ำ ในสภาวะปกติบาราคอลมักไม่ค่อยเสถียรเนื่องจากเกิดปฏิกิริยากำจัดน้ำออกจากโมเลกุล (dehydration) เกิดเป็นสาร (anhydrobarakol; C13H10O3) ซึ่งสารนี้เกิดปฏิกิริยากับกรดเกลือ (HCl) ได้เป็นเกลือแอนไฮโดรบาราคอลไฮโดรคลอไรด์ (anhydrobarakol hydrochloride; C13H12ClO3) นอกจากนี้บาราคอลยังสามารถเกิดที่หมู่ไฮดรอกซิลเมื่ออยู่ในสารละลายที่มีน้ำ (โมเลกุล)เป็นตัวทำละลาย
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir barakhxl epnsarthiskdidcaksmuniphrkhiehlk odyinpi ph s 2485 sungepnyukhsngkhramolkkhrngthi 2 phbwayarksaorkhkhadaekhlnepnxyangmak sastracary nph xwy ektusingh cungidphyayamkhnhasmuniphrithythiichepnxyangaephrhlaymasuksavththithangephschwithya aelaidphbwaibaeladxkkhxngtnkhiehlkthaihekidxakarngwngsumaelamiphisnxykwasmuniphrchnidxun thiidsuksa txmacungmikarsuksavththithangephschwithyakhxngsarskdibkhiehlkxikkhrngodyichaexlkxhxlepntwthalalay phbwasarskdnimi ephimkhwamtungtwkhxngklamenuxeriyb aelamivththi txmainpi ph s 2513 khnankwicycakmhawithyalynxttingaehm praethsxngkvsidraynganwasamarthskdsarchnidihmcakibkhiehlk odysarniepnxnuphnthkhxng dioxaphenalene thiepnsarklum chromone chnidhnung cungidtngchuxwa barakhxl sungmiwa 3a 4 dihydro 3a 8 dihydroxy 2 5 dimethyl 1 4 dioxaphenalene aelamisutromelkul khux C13H12O barakhxlepnsarthimiphluksiehluxngaekmekhiywsamarthlalayidinna insphawapktibarakhxlmkimkhxyesthiyrenuxngcakekidptikiriyakacdnaxxkcakomelkul dehydration ekidepnsar anhydrobarakol C13H10O3 sungsarniekidptikiriyakbkrdeklux HCl idepnekluxaexnihodrbarakhxlihodrkhlxird anhydrobarakol hydrochloride C13H12ClO3 nxkcaknibarakhxlyngsamarthekidthihmuihdrxksilemuxxyuinsarlalaythimina omelkul epntwthalalay bthkhwamephschkrrmaelayaniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk